The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติเชิงปริมาณด้วยโปรแกรม spss

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by suvimolis213, 2022-04-24 23:51:49

การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติเชิงปริมาณด้วยโปรแกรม spss

การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติเชิงปริมาณด้วยโปรแกรม spss

เพ่อื ใชใ้ นงานฝึกอบรม

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ท่ี 19 สุราษฎร์ธานี

1. ลกั ษณะแบบสอบถาม (เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการวจิ ยั )
แบบสอบถามที่ใชใ้ นการวจิ ยั เชิงปริมาณน้นั มกั จะมีรูปแบบดงั น้ี
ตอนที่ 1 สอบถามเกี่ยวกบั สถานภาพทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม มกั เป็นคาถามแบบตรวจสอบรายการ (Check-

List)

ตอนที่ 2 สอบถามเกี่ยวกบั ลกั ษณะโดยทวั่ ไปของเรื่องท่ีกาลงั ทาวจิ ยั มกั เป็นคาถามแบบตรวจสอบรายการ (Check-

List)

ตอนที่ 3 สอบถามเกี่ยวกบั ความพึงพอใจ หรือทศั นคติในประเด็นตา่ งๆ ของเรื่องที่ทาวจิ ยั ลกั ษณะคาถามเป็นแบบมาตรา
ส่วนประมาณค่า (Rating Scale)

ตอนที่ 4 สอบถามขอ้ เสนอแนะเพ่ือการปรบั ปรุงและพฒั นาในเรื่องท่ีกาลงั ทาวจิ ยั ลกั ษณะคาถามเป็ นคาถามปลายเปิ ด

(Open End)

2. การวเิ คราะห์ข้อมลู
หลงั จากที่ตรวจสอบความถูกตอ้ งของแบบสอบถามเรียบร้อยแลว้ จะนาขอ้ มลู ในแบบสอบถามมาเปล่ียนแปลงเป็นรหสั ตวั เลข
(Code) แลว้ บนั ทึกรหสั ลงในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ดว้ ยโปรแกรม SPSS
ลกั ษณะของการวเิ คราะหข์ อ้ มลู จะม่ีขอ้ สงั เกตดงั น้ี
2.1 แบบสอบถามเกี่ยวกบั สถานภาพทว่ั ไป ใชว้ ธิ ีการหาคา่ ความถี่ โดยสรุปออกมาเป็ นค่าร้อยละ
2.2 แบบสอบถามที่เป็นการสารวจทศั นคติเก่ียวกบั ความพึงพอใจ ใชว้ ธิ ีการหาคา่ เฉล่ีย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

(S.D)

2.3 ถา้ ตอ้ งการเปรียบเทียบความสมั พนั ธ์ระหวา่ งลกั ษณะโดยทว่ั ไป (คาถามในตอนท่ี 2) กบั สถานภาพโดยทว่ั ไป
(คาถามในตอนที่ 1) จะใชค้ า่ Chi-Square ( 2 ) ดว้ ยวธิ ีเปี ยร์สนั ถา้ ค่าความถ่ีที่คาดหวงั ในช่องใดมจี านวนนอ้ ยกวา่ 5 คิดเป็น
จานวนที่มากกวา่ 20% ของจานวนช่องท้งั หมด จะใชค้ ่า Exact ในการเปรียบเทียบเพือ่ หาความสมั พนั ธ์

2.4 การเปรียบเทียบความแตกตา่ งระหวา่ งกล่มุ (ท่ีจาแนกเป็ น 2 กลุ่ม เช่น เพศ) เกี่ยวกบั ความพึงพอใจ ใชก้ ารวเิ คราะห์
ความแตกตา่ งระหวา่ งคา่ เฉลี่ย 2 กลมุ่ โดยใช้ t-test

2.5 การเปรียบเทียบความแตกตา่ งระหวา่ งกลุ่ม (ที่จาแนกเป็ นหลายกลมุ่ เช่น คณะ 5 คณะ) เก่ียวกบั ความพงึ พอ ใชก้ าร
วเิ คราะหค์ วามแปรปรวนทางเดียว (Anova) กรณีพบคา่ ความแตกต่าง จะเปรียบเทียบความแตกตา่ งรายคู่ โดยใช้ Scheffe

Analysis)

2.6 การวเิ คราะห์ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การปรับปรุงและพฒั นารูปแบบรายการ ใชว้ ธิ ีวเิ คราะห์เน้ือหา (Content
Analysis) และสรุปเป็ นค่าความถี่

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ที่ 19 สุราษฎร์ธานี

3. ตวั อย่างแบบสอบถาม

ID

แบบสอบถาม
ความพงึ พอใจในการรับบริการจากห้องสมุดมหาวทิ ยาลยั ฯ

คาช้ีแจง ขอใหท้ ่านกรุณาทาเคร่ืองหมาย  หนา้ ตวั เลือกท่ีตรงตามสภาพความเป็ นจริงของท่าน

ตอนที่ 1 ขอ้ มูลสถานภาพทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม

1. เพศ  1. ชาย  2. หญิง

2. อายุ  1. ต่ากวา่ 20 ปี  2. 20-29 ปี  3. 30-39 ปี  4. 40 ปี ข้ึนไป

3. คณะ  1. วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี  2. มนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์

 3. วทิ ยาการจดั การ  4. ครุศาสตร์  5. เทคโนโลยกี ารเกษตร

ตอนที่ 2 ขอ้ มลู การใชง้ านโดยทว่ั ไปของท่านท่ีมีตอ่ หอ้ งสมดุ ฯ

4. ช้นั ที่ท่านใชบ้ ริการบ่อยท่ีสุด

 1. ช้นั ที่ 1  2. ช้นั ท่ี 2  3. ช้นั ที่ 3

5. ช่วงเวลาท่ีท่านใชง้ านมากท่ีสุด

 1. 07.30-08.30  2. 08.30-12.00  3. 12.00-13.00

 4. 13.00-16.30  5. 16.30-17.30

ตอนท่ี 3 ความพงึ พอใจในการใหบ้ ริการของหอ้ งสมดุ ฯ มากที่สุด ระดบั ความคิดเห็น นอ้ ยที่สุด

ความพงึ พอใจในการใหบ้ ริการ มาก ปานกลาง นอ้ ย

6. เจา้ หนา้ ที่ช่วยคน้ หาหนงั สือ
7. เจา้ หนา้ ท่ีใหบ้ ริการยมื คนื
8. ความเป็ นระเบียบของช้นั วางหนงั สือ
9. ความสะอาดของโตะ๊ เกา้ อ้ีสาหรับอา่ นหนงั สือ
10. ความเงียบสงบและบรรยากาศ

ท่านชอบบริการใดของหอ้ งสมดุ เลือกไดม้ ากกวา่ 1 ขอ้
 1. บริการสอบการใช้  2. บริการยมื คืนระหวา่ งหอ้ งสมดุ  3. บริการตอบคาถาม
 4. บริการสื่อโสตฯ  5. บริการแจง้ ข่าวสาร

ตอนท่ี 5 ขอ้ เสนอแนะอื่นๆ เพื่อการปรับปรุงและพฒั นาหอ้ งสมุด
.........................................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................................

....................................................ศ...ูน...ย...์ถ..่.า..ย..ท...อ...ด...เ.ท...ค...โ..น...โ..ล..ย...ีก..า..ร...ส...ห...ก...ร..ณ....์ท...่ี .1..9.....ส..ุ.ร..า..ษ...ฎ...ร..์.ธ..า..น...ี.................................................

ขอขอบพระคุณผตู้ อบแบบสอบถามทุกท่าน 

4. ตวั อย่างของข้อมูล
ใหน้ กั ศึกษานาแบบสอบถามไปสมมติตนเองเป็ นผตู้ อบแบบสอบถาม 20 คน และบนั ทึกผลการตอบแบบสอบถามลงใน
แบบสอบถามท้งั 20 ฉบบั จากน้นั นาขอ้ มลู มาลงรหสั (อาจลงในกระดาษลงรหสั ไวก้ ่อนเป็ นเบ้ืองตน้ ก่อนจะคียเ์ ขา้ โปรแกรม)

ตารางการลงรหัส
ช่ืองานวจิ ยั ................................................................................................... ผลู้ งรหสั ...........................................
1234567890123456789012345
0011111144344
0022213234353
0031352453453
0042421453454
0051223454454
0061132454454
0071332344544
0082442344545
0092443543545
0102241545545
0111213535445
0122241555424
0131353555234
0142332454344
0152342454542
0161422443543
0172412245524
0181122325534
0192312335444
0201453445444

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 19 สุราษฎร์ธานี

5. นาข้อมลู เข้าสู่โปรแกรม SPSS
5.1 การเขา้ สู่โปรแกรม

คลิกที่ป่ ุม Start เล่ือนเมาส์ข้นึ ไปที่ Programs เลื่อนเมาส์มาทางขวา เพือ่ หาเมนู SPSS for Windows
เมื่อพบแลว้ เล่ือนเมาส์ไปทางขวา เพ่ือหาโปรแกรม SPSS 10.0 for Windows เม่ือพบแลว้ ใหค้ ลิก จะปรากฏหนา้ ต่างของ
โปรแกรม Title แสดงการตอ้ นรับเขา้ ใชโ้ ปรแกรม และแสดงหนาต่าง เพ่ือใหเ้ ลือกวธิ ีการทางานท่ีตอ้ งการ ดงั น้ี

Run the tutorial จะแสดงหนา้ ตา่ งท่ีแนะนาขอ้ มลู
ตา่ งๆ เกี่ยวกบั โปรแกรม
Type in data เป็ นหนา้ ตา่ งที่เร่ิมตน้ ป้ อนขอ้ มลู ใหม่
Run and existing query จะตอ้ งเปิ ดไฟล์
Database Query ข้ึนมาทางาน

Create net query using Database Wizard

สร้างไฟล์ Database Query โดยโปรแกรมจะแสดง
ข้นั ตอนต่างๆ เพอื่ ช่วยในการสร้าง
Open and existing data source เปิ ดไฟลท์ ี่ผใู้ ช้
มีอยแู่ ลว้ ข้ึนมาทางาน
Open another type of file เปิ ดไฟลท์ ี่สร้างจาก
โปรแกรมอื่นเขา้ มาทางานในโปรแกรม SPSS
ตอนน้ีเราจะทาการสร้างแฟ้ มขอ้ มลู ใหม่สาหรับกรอก
ขอ้ มลู ของแบบสอบถาม
จึงคลิกท่ี Type in data

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 19 สุราษฎร์ธานี

5.2 ส่วนประกอบของโปรแกรม SPSS

หน้าต่าง Data Editor
เป็ นส่วนที่ใชใ้ นการป้ อนขอ้ มูล และสงั่ ใหม้ ี
การคานวณคา่ สถิติตามท่ีตอ้ งการ ลกั ษณะ
เป็ นกระดาษทาการ (Work Sheet) คลา้ ย
โปรแกรม Excel ประกอบไปดว้ ย 2 ชีท
คือ Data View และ Variable View

โดย Data View จะเป็นส่วนที่ใชใ้ นการ
ป้ อนขอ้ มูล

และ Variable View เป็ นส่วนท่ีใช้
ประกาศตวั แปร

หน้าต่าง SPSS Viewer
เป็ นหนา้ ต่างแสดงผลลพั ธท์ ี่ไดจ้ ากการ
วเิ คราะห์ขอ้ มลู โดยแบ่งส่วนการแสดง
ออกเป็ น 2 ส่วน ไดแ้ ก่ ส่วนซา้ ย เรียกวา่
Outline Pane แสดงหวั ขอ้ ของผลลพั ธ์
และส่วนขวา เรียกวา่ Content Pane จะ
แสดงรายละเอียดของผลลพั ธ์ ซ่ึงอาจเป็น
ตาราง ขอ้ ความ หรือกราฟ

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 19 สุราษฎร์ธานี

5.3 การปรับรูปแบบและขนาดของตวั อกั ษรใน SPSS Data Viewer ทาไดด้ งั น้ี
ที่หนา้ ตา่ ง Data Editor เลือกเมนู View เลือกคาสง่ั Fonts จะปรากฏหนา้ ตา่ งดงั รูปทางขวามือ จากน้นั เลือก

แบบอกั ษร และขนาดของตวั อกั ษรไดต้ ามความตอ้ งการ (หากตอ้ งการใหแ้ สดงผลภาษาไทยควรเลอื กแบบตวั อกั ษรที่ลง
ทา้ ยดว้ ย UPC) จากน้นั คลิกที่ป่ มุ OK

5.4 การต้งั คา่ ตวั แปร (การประกาศตวั แปร)

ตวั แปรทุกตวั (หรือ หมายถึงคาถามแตล่ ะขอ้ ) จะตอ้ งกาหนดคุณลกั ษณะของตวั แปร ซ่ึงมีวธิ ีกาหนดดงั น้ี

ท่ีหนา้ ต่าง Data Editor .ในส่วนแถบ Variable View ส่วนหวั ของตาราง เรียกวา่ คอลมั น์ จะแสดงคุณลกั ษณะของ

ตวั แปร แถว หมายถึง ตวั แปรแตล่ ะตวั ของงานวจิ ยั (หมายถึง คาถามแตล่ ะขอ้ ของแบบสอบถามนนั่ เอง) ทุกๆ ตวั แปร

จะตอ้ งกาหนดคา่ คุณลกั ษณะใหถ้ กู ตอ้ ง ซ่ึงจะตอ้ งกาหนดคุณลกั ษณะของตวั แปร 10 รูปแบบ คือ

- ช่ือ (Name) เป็ นช่ือของตวั แปร ซ่ึงสามารถใชไ้ ดท้ ้งั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ (แต่ผสู้ อนเห็นวา่

ควรใชเ้ ป็นภาษาองั กฤษ) ชื่อของตวั แปรตอ้ งไมเ่ กิน 8 ตวั อกั ษร

- ประเภท (Type) จะบอกลกั ษณะของขอ้ มลู เมื่อคลิกป่ ุม จะปรากฏหนา้ ต่าง Variable

Type โดยสามารถกาหนดคา่ ของ Type ไดจ้ ากตวั เลือกดา้ นซา้ ย และกาหนดค่า Width และ Decimal

Places ไดจ้ ากตวั เลือกดา้ นขวา ซ่ึงจะเป็ นการกาหนดค่าใหก้ บั คณุ ลกั ษณะ Width และ Decimals โดย

อตั โนมตั ิ ถา้ หากวา่ คา่ ของตวั แปรที่เราเกบ็ เราไมต่ อ้ งการนาไปคานวณใดๆ ก็ควรประกาศเป็น String แตถ่ า้

ตอ้ งการนาค่าของขอ้ มลู ไปคานวณ กค็ วรประกาศเป็น Numeric เช่น ตวั แปร เพศ เรากาหนดใหใ้ ชเ้ ลข 1 แทนเพศ

ชาย และกาหนดใหใ้ ชเ้ ลข 2 แทนเพศ หญิง ตวั เลขแทนเพศน้ี เราไมไ่ ดน้ าไปคานวณใด ๆ เราจึงประกาศ Type

ของตวั แปรเพศ เป็ น String

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 19 สุราษฎร์ธานี

- ความกวา้ ง (Width) ใชก้ าหนดจานวนตวั อกั ษร หรือตวั เลขที่ตอ้ งการจดั เกบ็ (พิจารณาจาก
แบบสอบถามวา่ รับตวั อกั ษรกี่ตวั หรือตวั เลขก่ีหลกั ) เช่น ตวั แปร เพศ เรากาหนดในแบบสอบถามวา่ ถา้ ทา
เครื่องหมายเลือกท่ีเพศชาย เราใชต้ วั เลย 1 แทนเพศชาย และ ใช้ 2 แทนเพศหญิง ดงั น้นั ความกวา้ งของตวั แปร เพศ
จะมีความกวา้ ง 1 หลกั

- ทศนิยม (Decimal) กาหนดตาแหน่งทศนิยมที่ตอ้ งการเกบ็ แตโ่ ดยทว่ั ไปมกั จะไมเ่ กบ็ ทศนิยม
- คาอธิบายชื่อตวั แปร (Label) เป็ นการอธิบายรายละเอียดของตวั แปร สามารถพมิ พไ์ ดท้ ้งั
ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ
- คา่ ตวั แปร (Values) เป็ นการกาหนดคา่ ท่ีเป็ นไปไดข้ องตวั แปร เช่น ตวั แปร เพศ เรากาหนดค่าท่ี
เป็ นไปไดข้ องตวั แปรเพศ เป็ น 2 คา่ คือ 1 แทนเพศชาย 2 แทนเพศหญิง ดงั น้นั เราจะกาหนดใน Values ดงั น้ี

คลิกเพอื่ กาหนดค่าของตวั แปร

จะปรากฏหนา้ ตา่ ง ดงั รูป

คลิก เพือ่ เพิม่ ค่าของตวั แปร

ระบุค่า 1 ในช่อง Value และ ระบุ ชาย ลงในช่อง Value Label จากน้นั คลิก Add
ระบุค่า 2 ในช่อง Value และ ระบุ หญิง ลงในช่อง Value Label จากน้นั คลิก Add แต่ถา้ ตอ้ งการที่จะลบ
คา่ ของตวั แปรท่ีประกาศไว้ สามารถทาได้ โดยการคลิกที่รายการคา่ ของตวั แปรในช่อง กลาง เม่ือคลิกที่ค่าของตวั

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ที่ 19 สุราษฎร์ธานี

แปรบรรทดั ท่ีตอ้ งการแลว้ คา่ ของ Value และ Value Label จะปรากฏท่ีช่อง 2 ช่องดา้ นบน ถา้ ตอ้ งการลบให้
คลิก Remove แต่ถา้ ตอ้ งการแกไ้ ข ใหแ้ กไ้ ขในช่อง 2 ช่องดา้ นบน จากน้นั ใหค้ ลิกที่ Change ก็จะเป็ นการแกไ้ ข
คา่ ของตวั แปร เม่ือไมต่ อ้ งการกาหนดค่าเพมิ่ อีกแลว้ ใหค้ ลิก OK จะกลบั มาท่ีหนา้ จอการประกาศตวั แปร

- ค่าแทนความสูญหายของขอ้ มลู (Missing) เป็ นการกาหนดคา่ ท่ีผตู้ อบแบบสอบถามไม่ไดต้ อบ
คาถามในบางขอ้ โดยผวู้ จิ ยั ยงั คงตอ้ งการใชข้ อ้ มลู อื่นๆ ท่ีเหลือในแบบสอบถามชุดน้ีอยู่ จึงตอ้ งกาหนดคา่ ท่ีไม่ได้
ตอบบางขอ้ ใหเ้ ป็ นค่าที่สูญหายไป หรือ Missing ซ่ึงสามารถกาหนดค่า Missing ไดด้ งั น้ี

คลิกเพ่ือกาหนดค่าของ Missing
จะปรากฏหนา้ ตา่ ง ดงั รูป

No missing Values คือไม่มีการกาหนดค่า Missing
Discrete missing values คือ การกาหนดคา่ Missing แบบเป็ นค่า ๆ ไป ซ่ึงสามารถกาหนดได้
3 ค่า พร้อมกนั (อาจกาหนดเพยี งคา่ เดียวกไ็ ด)้ โดยปกติแลว้ การกาหนดค่า Missing เรามกั ใชเ้ ลข 9 (ในกรณีที่
ประกาศตวั แปรความกวา้ งเป็ น 1) แทนแบบสอบถามขอ้ ที่ไมไ่ ดต้ อบ หรือ ในกรณีที่มีการตอบแต่ตอบมากกวา่ 1 ขอ้
ในแบบสอบถามเดียวกนั ทาใหว้ เิ คราะห์ไมไ่ ด้ ก็อาจกาหนดค่า Missing ใหเ้ ป็นเลข 8 ได้
Range plus one optional discrete missing value เป็ นการกาหนดคา่ Missing โดย
กาหนดไดเ้ ป็ นช่วง เช่น กาหนดจาก 10 ถึง 20 และสามารถที่จะกาหนดเฉพาะค่า Missing ได้ โดยเติมตวั เลขลงใน
ช่อง Discrete values
- ความกวา้ งของคอลมั นแ์ สดงผล (Columns) เป็ นการกาหนดความกวา้ งของคอลมั นข์ องตวั แปร
ต่างๆ ในหนา้ Data View
- การจดั ตาแหน่งขอ้ มูลในคอลมั น์ (Align) ตามตอ้ งการเช่น ชิดซา้ ย (Left) ชิดขวา (Right)
หรือก่ึงกลาง (Center)
- ระดบั การวดั ตวั แปร (Measure) ซ่ึงโดยทฤษฎีของการวจิ ยั การวดั จะแบ่งเป็ น 4 ระดบั คือ
Nominal, Ordinal, Interval และ Ratio แตใ่ น SPSS จะมองวา่ Interval กบั Ratio จะเหมือนกนั และ
เรียกรวมกนั วา่ Scale ดงั น้นั ระดบั การวดั ในโปแกรม SPSS จะแบ่งเป็ น 3 ระดบั คือ

Nominal ใชก้ บั ตวั แปรที่มีการแบ่งเป็ นกลุม่ เช่น เพศ
Ordinal ใชก้ บั ตวั แปรที่แบง่ กลมุ่ โดยการเรียงอนั ดบั

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ท่ี 19 สุราษฎร์ธานี

Scale ใชก้ บั ตวั แปรท่ีเป็ นตวั เลข ท่ีตอ้ งการนาไปคานวณคา่ เช่นค่าเฉล่ีย หรือส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน
จากตวั อยา่ งแบบสอบถาม เราสามารถประกาศตวั แปร ไดด้ งั รูป

5.5 การคียข์ อ้ มูลจากแบบสอบถาม
บนั ทึกขอ้ มลู ของแบบสอบถามแตล่ ะฉบบั ลงในหนา้ ต่าง Data Editor ในส่วนของ Data View โดยหวั คอลมั นจ์ ะ
บอกถึงตวั แปรท่ีตอ้ งการบนั ทึก และแตล่ ะแถว จะหมายถึง ขอ้ มูลของแบบสอบถามแตล่ ะฉบบั
วธิ ีการคียข์ อ้ มูล แลว้ แตค่ วามสะดวกของผคู้ ีย์ คือ ผวู้ จิ ยั อาจจะทาแผน่ สรุปขอ้ มูลจากแบบสอบถาม หรือทาตารางการลง
รหสั (เหมือนตวั อยา่ งในหนา้ 3) ก่อนแลว้ จึงคียข์ อ้ มูล หรือจะคียจ์ ากแบบสอบถามทีละฉบบั ก็ยอ่ มได้ (ข้ึนอยกู่ บั ความชานาญของ
ผวู้ จิ ยั )
สมมติวา่ มีผตู้ อบแบบสอบถาม จานวน 20 คน และขอ้ มลู ของแต่ละแบบสอบถามเป็ นดงั น้ี

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ท่ี 19 สุราษฎร์ธานี

5.6 การกาหนดรูปแบบของตาราง Output ตามความตอ้ งการของผวู้ จิ ยั
ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ในรูปของตารางท่ีไดน้ ้นั อาจไมถ่ กู ใจ หรือไมต่ รงตามความพอใจของนกั วจิ ยั
ซ่ึงเราสามารถเปลี่ยนแปลงรูปแบบของตารางผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ได้ ตวั อยา่ งเช่น เราใชค้ าสง่ั Analyze  Descriptive
Statistics  Frequencies… ไดผ้ ลการวเิ คราะห์ดงั ตาราง

เพศ

V alid ชาย F requency Percent V alid P ercent C umulativ e
หญงิ 6 40.0 40.0 Percent
Total 9 60.0 60.0 40.0

15 100.0 100.0 100.0

ตารางที่ไดจ้ ากการวเิ คราะห์ดว้ ย SPSS น้ี อาจไม่เป็นที่พึงพอใจ เราตอ้ งการที่จะปรบั เปล่ียนลกั ษณะของตารางให้
เป็ นไปอยา่ งที่เราตอ้ งการ ก็สามารถทาไดโ้ ดยการ ดบั เบิ้ลคลิกท่ีตารางน้นั ดงั รูป

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 19 สุราษฎร์ธานี

จากรูป จะปรากฎหนา้ ต่างเลก็ ๆ ข้ึนมา 2 หนา้ ตา่ ง เราไมส่ นใจ คลิกป่ ุม  เพอ่ื ปิ ดหนา้ ต่างท้งั 2 น้นั จะเหลือเฉพาะท่ี
ตอ้ งการ ดงั รูป

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 19 สุราษฎร์ธานี

จะสงั เกตวา่ ตารางน้นั ถกู เลือก (สงั เกตลูกศรสีแดงๆ ช้ีอย)ู่ และกรอบของตารางจะแสดงผล หรือแสดงอาการวา่ มนั ถกู
ดบั เบิ้ลคลิก

ลกั ษณะของตารางท่ีถูกดบั เบิ้ลคลิก (สงั เกตขอบตาราง)
ลกั ษณะของตารางท่ีไมถ่ ูกดบั เบิ้ลคลิก (สงั เกตขอบ
ตาราง)
เลือกคาสง่ั Format จากแถบเมนู เลือกคาสง่ั

ยอ่ ย Table looks.. (อาจใชว้ ธิ ีคลิกขวาท่ีตาราง แลว้ เลือกคาสงั่ Table Looks.. ได)้
1. เลือก Table ท่ีตอ้ งการใหเ้ ป็นตน้ แบบ จาก Tablelook Files… ในที่น้ีเลือก Hotdog (narrow)
2. ถา้ ตอ้ งการปรับเปล่ียน Font ใหค้ ลิกท่ี Edit Looks…

1

2

จะปรากฏหนา้ ต่าง Table Properties for Hotdog (narrow) ดงั รูป

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ท่ี 19 สุราษฎร์ธานี

คลิกที่แทบ็ Cell Formats จะปรากฏหนา้ ตา่ ง ดงั รูป

23 1

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ท่ี 19 สุราษฎร์ธานี

1. คลิกเลือก Area ท่ีจะเปล่ียน Font (จะมีหลาย Area ถา้ เป็ นไปไดค้ วรเปล่ียนทุก Area)
2. คลิกเลือก Font Text (ถา้ ตอ้ งการภาษาไทยควรเลือก Font ที่ลงทา้ ยดว้ ย UPC)
3. คลิกเลือก Font Size
เม่ือเปลี่ยนครบทุก Area แลว้ ใหค้ ลิก OK จะกลบั มาท่ีหนา้ จอ ดงั รูป

คลิก Save Look เมื่อตอ้ งการบนั ทึกตารางใหมน่ ้ีทบั ตารางชื่อเดิม หรือคลิก Save As.. เมื่อตอ้ งการบนั ทึกตารางเป็ น
ชื่อใหม่ ในที่น้ีจะเลือก Save As.. และต้งั ช่ือตารางเป็น mytable เก็บไวท้ ี่โฟลเดอร์ My Document ดงั รูป จากน้นั คลิกท่ี
คาสงั่ OK ของหนา้ ต่างท่ีปรากฏ กเ็ ป็ นอนั เสร็จสิ้น

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ท่ี 19 สุราษฎร์ธานี

แต่ถา้ ตอ้ งการใหต้ ารางใหม่ทุกตารางที่เราจะสร้างข้ึนจากน้ี มีรูปแบบเหมือนตารางท่ีเราไดก้ าหนดไว้ (mytable) ใหค้ ลิก
ที่เมนู Edit เลือกคาสงั่ Option

จะปรากฏหนา้ ต่างดงั รูป ใหค้ ลิกที่ Pivot Table

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ท่ี 19 สุราษฎร์ธานี

1

2
คลิกท่ี Browse เลือกแหล่งเก็บ คือ My Document และ เลือก table ที่สร้างไวค้ ือ mytable จากน้นั คลิก Open
จะไดผ้ ลดงั รูป

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ท่ี 19 สุราษฎร์ธานี

จากน้นั คลิก OK เท่าน้ี การกาหนดรูปแบบของตารางที่เราตอ้ งการใหเ้ ป็นค่าอตั โนมตั ิ เม่ือสร้างตารางใหม่ก่ีคร้งั กจ็ ะได้
ตารางท่ีเราสร้างไวท้ ุกคร้ัง

5.7 การคานวณหาค่าความเชื่อมนั่ ของแบบสอบถาม และอานาจการจาแนกของขอ้ คาถาม
การคานวณหาค่าความเช่ือมน่ั
คลิกเมนู Analyze เลือกคาสง่ั Scale เลือกคาสง่ั Reliability Analysis ดงั รูป

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ท่ี 19 สุราษฎร์ธานี

จะปรากฏหนา้ ตา่ ง Reliability Analysis ดงั รูป

ใหเ้ ลือกตวั แปรท่ีจะนามาทดสอบ (มกั จะเป็ นการหาคา่ ความเช่ือมน่ั ของคาถามที่เป็ นลกั ษณะของ Rating Scale เก่ียวกบั

ความพอใจ วธิ ีการเลือก ใหค้ ลิกเลือกที่ตวั แปรที่ปรากฏอยชู่ ่องทางซา้ ย คลิกป่ ุม ตวั แปรที่เลือก จะถูกยา้ ยมาอยชู่ ่องทาง
ดา้ นขวา (Items: ) ถา้ ตอ้ งการเลือกหลายตวั แปรที่อยตู่ ิดกนั ใหค้ ลิกที่ตวั แปรตวั แรก จากน้นั กดป่ ุม Shift คา้ งไว้ แลว้ คลิกเลือกตวั

แปรตวั สุดทา้ ย จะปรากฏแถบแสดงใหเ้ ห็นวา่ เราเลือกหลายตวั แปรท่ีอยตู่ ิดกนั จากน้นั คลิกป่ ุมลูกศร ตวั แปรเหลา่ น้นั จะยา้ ย
มาอยชู่ ่องดา้ นขวาพร้อมกนั

จากน้นั คลิกป่ ุม Statistics จะปรากฏหนา้ ต่าง Reliability Analysis : Statistics เพื่อกาหนดคา่ Option ในที่น้ี
ใหค้ ลิกในกลอ่ ง Scale if item deleted จะปรากฏเคร่ืองหมาย  หนา้ ขอ้ ความ

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ที่ 19 สุราษฎร์ธานี

คลิกป่ ุม Continue จะกลบั มาท่ีหนา้ ตา่ ง Reliability Analysis จากน้นั คลิกป่ ุม OK จะไดผ้ ลลพั ธ์ท่ีหนา้ ต่าง Output ดงั รูป

คา่ ความเชื่อมนั่ เท่าใดจึงจะเหมาะสมหรือยอมรับได้ เป็ นเร่ืองท่ีตดั สินใจลาบาก เพราะงานวจิ ยั ตา่ งๆ มีจานวนขอ้ คาถามไม่
เท่ากบั แต่โดยปกติถา้ ค่าความเช่ือมน่ั มีคา่ เกิน 0.80 ข้นึ ไป ถือวา่ ใชไ้ ดแ้ ลว้ แตถ่ า้ นอ้ ยกวา่ น้นั อาจจะตอ้ งสร้างจานวนขอ้ คาถามเพิม่ ข้ึน
จากเดิม ซ่ึงสามารถแสดงตารางจานวนขอ้ คาถามที่ควรจะมีในแบบสอบถาม ถา้ ตอ้ งการใหค้ ่าความเชื่อมนั่ ถึงเกณฑท์ ี่ยอมรบั ได้
( ธานินทร์ ศิลป์ จารุ. การวจิ ยั และวเิ คราะห์ขอ้ มลู ทางสถิตดิ ว้ ย SPSS. พิมพค์ ร้ังที่ 3. กรุงเทพฯ : ว.ี อินเตอร์ พริ้นท์ จากดั , 2548.)

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ท่ี 19 สุราษฎร์ธานี

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ท่ี 19 สุราษฎร์ธานี

อานาจจาแนก (Discrimination)
ในการพจิ ารณาวา่ ขอ้ คาถามของเรามีอานาจจาแนก หรือไม่น้นั วธิ ีท่ีง่ายท่ีสุดคือ ดูจากคา่ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
(Standard Deviation: S.D.) เน่ืองจากค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานน้ีจะบอกถึงการกระจายของขอ้ มูล ถา้ S.D มีค่า นอ้ ย แสดง
วา่ ขอ้ คาถามน้นั มีอานาจจาแนกต่า หรือถา้ S.D. มีคา่ เป็ น 0 กแ็ สดงวา่ ขอ้ คาถามน้นั ไมม่ ีอานาจจาแนกเลย (ผตู้ อบแบบสอบถามทุก
คน เลือกตอบตวั เลือกใดตวั เลือกหน่ึงของขอ้ คาถามน้นั เพยี งตวั เลอื กเดียว ผวู้ จิ ยั จึงควรพิจารณาปรับปรุงขอ้ คาถามน้นั เช่น ในขอ้
คาถามท่ีวา่ ช่วงเวลาใดท่ีท่านใชง้ านหอ้ งสมดุ มากท่ีสุด เราถามเพยี ง 2 เวลาคือ 8.00-12.00 และ 13.00-16.00 ปรากฏวา่ ผตู้ อบ
แบบสอบถามทุกคนเลือกตอบช่วงเวลา 13.00-16.00 หมดทุกคน (ซ่ึงจะคานวณหาคา่ S.D. ไดเ้ ท่ากบั 0 แสดงวา่ แบบสอบถามขอ้ น้ี
ไม่มีอานาจจาแนก จึงควรเพม่ิ ตวั เลือกในแบบสอบถามใหถ้ ี่ลงไปอีกเช่น 13.00-14.00 ,14.00-15.00 และ 15.00-16.00 เป็นตน้
5.8 ตวั อยา่ งการวเิ คราะห์และแปลผลขอ้ มลู ทางสถิติจากงานวจิ ยั

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ท่ี 19 สุราษฎร์ธานี

1. แบบสอบถามที่ใชใ้ นงานวจิ ยั

ID

แบบสอบถาม
ความพงึ พอใจในการรับบริการจากห้องสมุดมหาวทิ ยาลยั ฯ

คาช้ีแจง ขอใหท้ ่านกรุณาทาเครื่องหมาย  หนา้ ตวั เลือกที่ตรงตามสภาพความเป็ นจริงของท่าน

ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู สถานภาพทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม

1. เพศ  1. ชาย  2. หญิง

2. อายุ  1. ต่ากวา่ 20 ปี  2. 20-29 ปี  3. 30-39 ปี  4. 40 ปี ข้ึนไป

3. คณะ  1. วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี  2. มนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์

 3. วทิ ยาการจดั การ  4. ครุศาสตร์  5. เทคโนโลยกี ารเกษตร

ตอนท่ี 2 ขอ้ มลู การใชง้ านโดยทว่ั ไปของทา่ นที่มีตอ่ หอ้ งสมดุ ฯ

4. ช้นั ท่ีท่านใชบ้ ริการบ่อยที่สุด

 1. ช้นั ที่ 1  2. ช้นั ที่ 2  3. ช้นั ที่ 3

5. ช่วงเวลาท่ีท่านใชง้ านมากที่สุด

 1. 07.30-08.30  2. 08.30-12.00  3. 12.00-13.00

 4. 13.00-16.30  5. 16.30-17.30

ตอนที่ 3 ความพึงพอใจในการใหบ้ ริการของหอ้ งสมุดฯ มากท่ีสุด ระดบั ความคิดเห็น นอ้ ยที่สุด

ความพงึ พอใจในการใหบ้ ริการ มาก ปานกลาง นอ้ ย

6. เจา้ หนา้ ที่ช่วยคน้ หาหนงั สือ
7. เจา้ หนา้ ที่ใหบ้ ริการยมื คืน
8. ความเป็ นระเบียบของช้นั วางหนงั สือ
9. ความสะอาดของโตะ๊ เกา้ อ้ีสาหรับอ่านหนงั สือ
10. ความเงียบสงบและบรรยากาศ

ตอนที่ 4 ขอ้ เสนอแนะอื่นๆ เพอื่ การปรับปรุงและพฒั นาหอ้ งสมุด
.........................................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................................

ขอขอบพระคุณผตู้ อบแบบสอบถามทุกท่าน 

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ที่ 19 สุราษฎร์ธานี

2. ตารางกาหนดค่าตวั แปรตา่ งๆ ของงานวจิ ยั

Name Width Label Value การกาหนดค่า Value Measure
id Scale
sex 3 เลขที่แบบสอบถาม 001-998 None Nominal
age 1, 2 Nominal
1 เพศ 1-4 1 = ชาย
faculty 2 = หญิง Nominal
1 อายุ 1-5 1 = ต่ากวา่ 20 ปี
floor 2 = 20-29 ปี Nominal
1 คณะ 1-3 3 = 30-39 ปี
time 4 = 40 ปี ข้ึนไป Nominal
1 ช้นั ท่ีใชบ้ ริการบ่อยท่ีสุด 1-5 1 = วทิ ยาศาสตร์ฯ
atti1 1 ช่วงเวลาที่ใชง้ านมากที่สุด 2 = มนุษยศาสตร์ฯ Scale
atti2 1-5 3 = วทิ ยาการจดั การ Scale
atti3 1 พอใจเจา้ หนา้ ที่ช่วยคน้ หาหนงั สือ 1-5 4 = ครุศาสตร์ Scale
atti4 1 พอใจเจา้ หนา้ ที่ใหบ้ ริการยมื คนื 1-5 5 = เทคโนโลยกี ารเกษตร Scale
atti5 1 พอใจความเป็ นระเบียบฯ 1-5 1 = ช้นั 1 Scale
1 พอใจความสะอาด 1-5 2 = ช้นั 2
1 พอใจความเงียบและบรรยากาศ 3 = ช้นั 3
1 = 7.30-8.30
2 = 8.30-12.00
3 = 12.00-13.00
4 = 13.00-16.30
5 = 16.30-17.30
1 = นอ้ ยที่สุด
2 = นอ้ ย
3 = ปานกลาง
4 = มาก
5 = มากที่สุด

Missing Value ของตวั แปร เลขท่ีแบบสอบถามคือ 999 นอกน้นั เป็น 9

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ที่ 19 สุราษฎร์ธานี

3. ตารางลงรหสั ขอ้ มลู จากแบบสอบถาม
ตารางการลงรหสั

ช่ืองานวจิ ยั ................................................................................................... ผลู้ งรหสั ...........................................
1234567890123456789012345
0011111144344
0022213234353
0031352453453
0042421453454
0051223454454
0061132454454
0071332344544
0082442344545
0092443543545
0102241545545
0111213535445
0122241555424
0131353555234
0142332454344
0152342454542
0161422443543
0172412245524
0181122325534
0192312335444
0201453445444

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ท่ี 19 สุราษฎร์ธานี

4. คูม่ ือการวเิ คราะห์ขอ้ มูล / สถิติ / คาสง่ั ของโปรแกรม SPSS

ตอนท่ี รายการ/ตวั แปร ลกั ษณะของเครื่องมอื สถติ /ิ คาส่ังของโปรแกรม
1 สถานภาพทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม ตรวจสอบรายการ ค่าความถี่ สรุปผลเป็นร้อยละ
- เพศ คาสั่ง Analyze  Descriptive
- อายุ (Check List)
- คณะ Statistics  Frequencies…
2 ขอ้ มูลการใชง้ านทว่ั ไป
- ช้นั ท่ีใชบ้ ริการบ่อย ตรวจสอบรายการ คา่ ความถ่ี สรุปผลเป็นร้อยละ
- ช่วงเวลาท่ีใชง้ านมากที่สุด คาสั่ง Analyze  Descriptive
(Check List)
3 ความพงึ พอใจในการใหบ้ ริการ Statistics  Frequencies…
- เจา้ หนา้ ท่ีช่วยคน้ หาหนงั สือ
- พอใจเจา้ หนา้ ท่ีใหบ้ ริการยมื คนื มาตราส่วนประมาณค่า ค่าความถี่ แสดงผลตารางแบบ 2 ทาง
- พอใจความเป็ นระเบียบฯ
- พอใจความสะอาด (Rating Scale) คาสั่ง Analyze  Descriptive
- พอใจความเงียบและบรรยากาศ
- ความพงึ พอใจในภาพรวม (จาแนก Statistics  Crosstabs…
ตามเพศ อายุ และคณะ)
ค่าเฉล่ีย ( x )
4 เปรียบเทียบความแตกตา่ งระหวา่ งเพศ คา่ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.)
เกี่ยวกบั ความพงึ พอใจในการใหบ้ ริการดา้ น
ต่างๆ และความพึงพอใจโดยภาพรวม คาสั่ง Analyze  Descriptive

5 ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การปรบั ปรุงและพฒั นา Statistics  Descriptives…

มาตราส่วนประมาณค่า หาค่าความพงึ พอใจโดยภาพรวม
(Rating Scale) ตวั คาส่ัง Analyze  Compare Means
แปรเพศมี 2 ค่า คือ เพศ
ชาย แลเพศหญิง  Means…
คาถามปลายเปิ ด T-Test

(Open end) คาส่ัง Analyze  Compare Means

 Independent – Sample T-Test


วเิ คราะห์ เน้ือหา (Contents Analysis)
ออกเป็ นคา่ ความถี่

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 19 สุราษฎร์ธานี

การคานวณหาค่าความถี่ (Frequencies)

1. เปิ ดไฟลท์ ี่ขอ้ มลู ที่ไดบ้ นั ทึกไวแ้ ลว้
2. คลิกเมนู Analyze เลือก Descriptive

Statistics เลือก Frequencies… ดงั รูป

จะปรากฏหนา้ ตา่ ง Frequencies

เลือกตวั แปรท่ีตอ้ งการหาคา่ ความถ่ี ในท่ีน้ีเราเลือก เพศ ช่วงอายุ คณะ ช้นั ท่ีใชบ้ ริการบ่อยท่ีสุด และ ช่วงเวลาท่ีใชง้ านมาก

ที่สุด จากช่องทางซา้ ย คลิก ทาใหต้ วั แปรท่ีเลือกถูกนาไปไวใ้ นชอ่ งทางดา้ นขวา หรือช่อง Variable(s)

ถา้ คลิกป่ ุม Statistics.. จะข้นึ หนา้ ต่าง Frequencies Statistics เพอ่ื ใหเ้ ลือกสถิติท่ีตอ้ งการวเิ คราะห์ แลว้ คลิกป่ ุม

Continue เพ่อื กลบั มายงั หนา้ จอเดิม (ในท่ีน้ีเราไม่เลือก)

ถา้ ตอ้ งการใหผ้ ลลพั ธ์ท่ีออกมาแสดงเป็นรูปกราฟดว้ ย ใหค้ ลิกที่ป่ ุม Charts… จะปรากฏหนา้ ต่าง

Frequencies:Charts ดงั รูป (แตถ่ า้ ตอ้ งการใหแ้ สดงเฉพาะกราฟ โดยไม่แสดงตารางแจกแจงความถ่ี ใหค้ ลิกเครื่องหมาย  หนา้

Display frequency tables ออก

None หมายถึง ไมต่ อ้ งการสร้างกราฟ
Bar chart หมายถึง ตอ้ งการสร้างกราฟแท่ง
Pie chart หมายถึง ตอ้ งการสร้างกราฟวงกลม
Histograms หมายถึง ตอ้ งการสร้างฮีสโตแกรม (กราฟแท่ง +

กราฟเสน้ )

Chart Values กาหนดเพอื่ ระบุวา่ ตอ้ งการแสดงขอ้ มูลในกราฟ
ดว้ ย คา่ ความถี่ (Frequencies) หรือเปอร์เซนต์ (Percentages)

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ท่ี 19 สุราษฎร์ธานี

คลิกป่ ุม Format เพ่ือต้งั รูปแบบการแสดงผล ในท่ีน้ีเราเลือก Ascending values เพอื่ ใหเ้ รียงขอ้ มลู ตามตวั เลือกใน
แบบสอบถาม และ Compare variables แลว้ คลิกป่ ุม Continue เพอ่ื กลบั มายงั หนา้ จอเดิม

คลิกป่ ุม OK โปรแกรมจะประมวลผล แลว้ นาผลท่ีไดไ้ ปแสดงท่ี Output Windows (SPSS Viewer)
ไดผ้ ลดงั รูป

แถว Valid หมายถึง จานวนผตู้ อบแบบสอบถามในขอ้ ตา่ งๆ ท่ีสมบูรณ์
แถว Missing หมายถึง จานวนขอ้ มูลที่สูญหาย (จานวนที่ไมไ่ ดต้ อบ) ในที่น้ีไม่มี

คา่ เปอร์เซ็นต์

ค่าความถี่ คา่ เปอร์เซ็นตท์ ่ีสมบูรณ์
(ตดั ค่าขอ้ มลู สูญหายแลว้ )

คา่ เปอร์เซ็นตส์ ะสม

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ที่ 19 สุราษฎร์ธานี

ªèǧÍÒÂØ

à¾È µèÓ¡ÇèÒ 20 »Õ

Ë -Ô § 40 »Õ¢Öé¹ä» 20-29 »Õ
ªÒ Â

30-39 »Õ

à·¤ â¹âÅ Â Õ ¡Ò à à¡ÉµÃ ¤³Ð ªÑé¹·ÕèãªéºÃÔ¡ÒúèÍ·ÕèÊØ´
¤ÃØÈÒʵÃì
Ç Ô ·Â Ò ¡Ò à ¨Ñ´¡Ò Ã Ç Ô ·Â Ò ÈÒ ÊµÃ ìáÅ Ðà·¤ â¹â ªÑé¹ 3

ªÑé¹ 1

Á ¹Ø É ÈÒ ÊµÃ ìáÅ ÐÊѧ¤ Á È
ªÑé¹ 2

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ที่ 19 สุราษฎร์ธานี

จะเห็นวา่ กราฟที่ได้ คาอธิบายที่เป็ นภาษาไทยจะอ่านไมอ่ อก วธิ ีการเปล่ียน font ใหเ้ ป็ นภาษาไทย ทาไดโ้ ดยการดบั เบิลคลิก
ท่ีรูปกราฟน้นั (ในหนา้ ต่าง SPSS Viewer) จะปรากฏหนา้ ต่าง SPSS Chart Editor ดงั รูป

2. คลิกเพอ่ื เปล่ียนรูปแบบตวั อกั ษร
1. คลิกเพอ่ื เลือก

คลิกที่ 1 เพอ่ื เลือกขอ้ ความท่ีจะเปล่ียน คลิกท่ี 2 เพอ่ื เปลี่ยนรูปแบบตวั อกั ษร จะปรากฏหนา้ ตา่ งเป็น
กาหนด Font ใหเ้ ป็ นภาษาไทย โดยเลือกแบบที่ลงทา้ ยดว้ ย UPC
กาหนด Size ตามความตอ้ งการ
*** น่าเสียดายที่ version 10.0 ท่ีเราใชน้ ้ียงั มีขอ้ ผดิ พลาดตรงการแสดงผล
ภาษาไทย ทาใหผ้ ลของการเปลี่ยน Font ไม่สมบูรณ์

และถา้ หากตอ้ งการให้ Chart ท่ีแสดงน้นั แสดงผลของเปอร์เซ็นต์ หรือคา่ ของขอ้ มูลดว้ ย ใหค้ ลิกที่เมนู Chart เลือก Option
จะปรากฏหนา้ ตา่ ง ดงั รูป

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ที่ 19 สุราษฎร์ธานี

คลิกเพอ่ื ใหเ้ กิดเครื่องหมาย  หนา้ Text ถา้ ตอ้ งการใหแ้ สดงคาอธิบายขอ้ มลู
คลิกเพื่อใหเ้ กิดเครื่องหมาย  หนา้ Values ถา้ ตอ้ งการใหแ้ สดงค่าของขอ้ มลู
คลิกเพื่อใหเ้ กิดเครื่องหมาย  หนา้ Percents ถา้ ตอ้ งการใหแ้ สดงเปอร์เซ็นตข์ องขอ้ มูล

***** ในกรณีที่ขอ้ มลู จากตวั อยา่ งที่เกบ็ มาได้ มคี า่ Missing Value ถา้ ตอ้ งการนาค่าเปอร์เซ็นตจ์ ากตารางไปอธิบาย
นิยมใชค้ ่าเปอร์เซ็นตจ์ ากคอลมั น์ Valid Percent มาอธิบายแทน เพราะเป็ นคา่ ท่ีจะคิดเปอร์เซ็นตโ์ ดยไม่นบั ค่า Missing ของ
ขอ้ มูลตวั อยา่ ง

***** การแสดงผลเป็ นภาษาไทย ในเวอร์ชนั หลงั จากน้ี จะมีความสมบูรณ์กวา่ น้ีมาก *******

ตวั อย่างการรายงานผลการวจิ ยั
ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู เก่ียวกบั สถานภาพทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถามในดา้ นเพศ ปรากฏผลดงั ตารางที่ 1 และ

ภาพท่ี 1

ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละของสถานภาพทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถามในดา้ นเพศ

เพศ จานวน ร้อยละ

เพศชาย 50 50.00

เพศหญิง 50 50.00

รวม 100 100.00

เพศ

ชาย
50.0%

หญ ง
50.0%

ภาพท่ี 1 แสดงค่าร้อยละของสถานภาพทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถามในดา้ นเพศ

จากตารางท่ี 1 และภาพที่ 1 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามท้งั สองเพศ เท่ากนั คือ เป็ นเพศชายร้อยละ 50.00 และเป็ นเพศ
หญิง ร้อยละ 50.00

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ที่ 19 สุราษฎร์ธานี

ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู เก่ียวกบั สถานภาพทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถามในดา้ นเพศ ปรากฏผลดงั ตารางที่ 2 และ
ภาพที่ 2

ตารางท่ี 2 แสดงค่าร้อยละของสถานภาพทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถามในดา้ นอายุ

อายุ จานวน ร้อยละ

ต่ากวา่ 20 ปี 15 15.00

20-29 ปี 25 25.00

30-39 ปี 30 30.00

40 ปี ข้ึนไป 30 30.00

รวม 100 100.00

ช วงอาย

40 ป ข นไป ต ำกาว า 20 ป
30.0% 15.0%

30-39 ป 20-29 ป
30.0% 25.0%

ภาพท่ี 2 แสดงคา่ ร้อยละของสถานภาพทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถามในดา้ นอายุ

จากตารางท่ี 2 และภาพท่ี 2 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่ จะมีอายตุ ้งั แต่ 30 ปี ข้ึนไป โดยมีอายุ 30-39 ปี คดิ เป็ น
ร้อยละ 30.00 และอายุ 40 ปี ข้นึ ไป คิดเป็ นรอ้ ยละ 30.00 เช่นเดียวกนั และอายทุ ี่มีจานวนนอ้ ยที่สุด คือ อายตุ ่ากวา่ 20 ปี คิดเป็ น
ร้อยละ 15.00

การแจกแจงความถแ่ี บบสองทาง (Crosstabs)

เป็ นการแจกแจงขอ้ มูลโดยมีตวั แปร 2 ตวั เก่ียวขอ้ งกนั เชน่ ตอ้ งการแสดงค่าร้อยละของสถานภาพทวั่ ไปของผตู้ อบ
แบบสอบถาม จาแนกตามเพศและอายุ สามารถทาไดด้ งั น้ี

1. ที่หนา้ ต่าง Data Editor คลิกเมนู Analyze เลือกคาสงั่ Descriptive Statistics เลือก Crosstabs จะปรากฏ
หนา้ ต่าง Crosstabs

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ท่ี 19 สุราษฎร์ธานี

2. เลือกตวั แปร คณะ (faculty) จากน้นั คลิกที่ป่ ุม ทาใหต้ วั แปร คณะ มาอยใู่ นช่อง Row(s):

คลิกที่ตวั แปร ช่วงเวลาที่ใชง้ านมากท่ีสุด (time) จากน้นั คลิกที่ป่ มุ แถวกลาง เพ่อื ใหต้ วั แปร อายุ มาอยใู่ นช่อง

Column(s):

คลิกเลือก Display clustered bar
charts เพื่อใหแ้ สดง bar chart ดว้ ย

จากน้นั คลิกที่ป่ ุม Cells… เพื่อ
กาหนด Cell Display

ในส่วนของ Count
Observes คือ คา่ สงั เกต เป็ นคา่ ขอ้ มลู ท่ีเกบ็ ไดจ้ ริง
Expected คือ ค่าความถี่คาดหวงั
ในส่วนของ Percentages
Row คือ แสดงเปอร์เซ็นตใ์ นแตล่ ะแถว
Column คือ แสดงเปอร์เซ็นตใ์ นแต่ละคอลมั น์
Total คือ แสดงเปอร์เซ็นตร์ วมท้งั หมด

ในที่น้ีใหเ้ ลือกค่า Observed และ Row, Column, Total จากน้นั คลิก Continue จะกลบั มาที่หนา้ จอ
Crosstabs คลิก OK จะไดผ้ ลการวเิ คราะห์ปรากฏใน SPSS Viewer (Output) ดงั รูป

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ที่ 19 สุราษฎร์ธานี

เพศ * ช่วงเวลาทใี่ ชง้ านมากทส่ี ดุ C r osstabu la tio n

ช่วง เวล าท่ีใชง้ าน มากทส่ี ุ ด

7.30 - 8.30 8.30-12.00 12.00-13.00 13.00-16.30 16. 30-17.3 0 T otal
5 9 50
เพศ ชาย C ount 11 25
หญงิ % w ithi n เพศ 10. 0% 18. 0% 100 .0%
% w ithin 100 .0% 22. 0% 50. 0%
T otal ช่วง เวล าท่ีใชง้ าน มากทส่ี ุ ด 39. 1% 50. 0%
% of Total 5. 0% 50. 0% 62. 5%
C ount 9. 0% 50. 0%
% w ithi n เพศ 5 10 11. 0% 25. 0% 14 50
% w ithin 5. 0% 20. 0% 11 15
ช่วง เวล าท่ีใชง้ าน มากทสี่ ุ ด 100 .0% 28. 0% 100 .0%
% of Total 5. 0% 22. 0% 30. 0%
C ount 60. 9% 50. 0%
% w ithi n เพศ 100 .0% 50. 0% 37. 5%
% w ithin 14. 0% 50. 0%
ช่วง เวล าที่ใชง้ าน มากทส่ี ุ ด 10. 0% 11. 0% 15. 0% 23 100
% of Total 10 22 40
23. 0% 100 .0%
10. 0% 22. 0% 40. 0%
100 .0% 100 .0%
100 .0% 100 .0% 100 .0%
23. 0% 100 .0%
10. 0% 22. 0% 40. 0%

30

Count 20 หญ ง ช วงเวลาท ใช งานมาก

10 7.30 - 8.30
8 .3 0 -1 2. 00
0 1 2. 0 0-13 .0 0
1 3. 0 0-16 .3 0
ชาย 1 6. 3 0-17 .3 0
เพศ

ตวั อย่างการรายงานผลการวจิ ยั
ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู เกี่ยวกบั การใชง้ านโดยทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบในดา้ นช่วงเวลาที่ใชง้ านมากท่ีสุดจาแนกตามเพศ

ปรากฏผลดงั ตารางท่ี 3 และ ภาพที่ 3

ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละของช่วงเวลาที่ใชง้ านมากที่สุด จาแนกตามสถานภาพดา้ นเพศ

ช่วงเวลาที่ใชง้ านมากท่ีสุด เพศชาย เพศหญิง
จานวน ร้อยละ
จานวน ร้อยละ
0 0.00
7.30-8.30 5 10.00 10 20.00
11 22.00
8.30-12.00 0 0.00 15 30.00
14 28.00
12.00-13.00 11 22.00 50 100.00

13.00-16.30 25 50.00

16.30-17.30 9 18.00

รวม 50 100.00

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ที่ 19 สุราษฎร์ธานี

30

20

ช วงเวลาท ใช งานมาก

Count 10 หญ ง 7.30 - 8.30
0 8 .3 0 -1 2. 00
1 2. 0 0-13 .0 0
ชาย 1 3. 0 0-16 .3 0
1 6. 3 0-17 .3 0

เพศ

ภาพที่ 3 แสดงความถ่ีของช่วงเวลาท่ีเขา้ มาใชง้ านมากที่สุด จาแนกตามเพศ

จากตารางที่ 3 และภาพที่ 3 พบวา่ ช่วงเวลาท่ีมาใชง้ านมากที่สุด เม่ือจาแนกตามเพศ ปรากฏผลดงั น้ี
เพศชาย ส่วนใหญ่มาใชบ้ ริการมากท่ีสุดเวลา 13.00-16.30 น. คิดเป็ นร้อยละ 50.00 รองลงมาไดแ้ กเ่ วลา 12.00-

13.00 น. คิดเป็ นร้อยละ 22.00 และช่วงเวลาท่ีเพศชายมาใชบ้ ริการนอ้ ยที่สุดคือไม่มีมาใชบ้ ริการเลย คือ เวลา 8.30-12.00 น.
เพศหญงิ ส่วนใหญ่มาใชบ้ ริการมากที่สุดเวลา 13.00-16.30 น. คิดเป็ นร้อยละ 30.00 รองลงมาไดแ้ ก่เวลา 16.30-

17.30 น. คิดเป็ นร้อยละ 28.00 และช่วงเวลาท่ีมีเพศหญิงมาใชบ้ ริการนอ้ ยท่ีสุดคือไมม่ ีมาใชบ้ ริการเลยคือ เวลา 7.30-8.30 น.

การคานวณหาความพงึ พอใจรวม (จากความพงึ พอใจหลายๆ ด้าน) ด้วยคาสั่ง Transform Compute

ในแบบสอบถามมีการถามถึงระดบั ความพึงพอใจในดา้ นตา่ งๆ หากวา่ เราตอ้ งการทราบความพึงพอใจรวมของทุกๆ ดา้ น
แลว้ วา่ เป็ นเท่าไร และหาค่าเฉลี่ยวา่ แบบสอบถามแตล่ ะฉบบั น้นั มคี วามพึงพอใจในทุกๆ ดา้ นเฉล่ียแลว้ เป็ นเท่าไร เราสามารถใชค้ าสง่ั
Transform Compute ในการคานวณคา่

จากแบบสอบถามตวั อยา่ ง เรามีการวดั ระดบั ความพึงพอใจของผตู้ อบแบบสอบถาม ในการใหบ้ ริการของสานกั หอสมดุ 5
ดา้ นดว้ ยกนั คือ ดา้ นการใหบ้ ริการของเจา้ หนา้ ท่ีคน้ หาหนงั สือ การใหบ้ ริการของเจา้ หนา้ ท่ียมื คนื ความเป็ นระเบียบเรียบรอ้ ยของช้นั
วางหนงั สือ ความสะอาดของโตะ๊ เกา้ อ้ีสาหรับนง่ั อ่าน และ ความเงียบสงบ บรรยากาศเหมาะสมกบั การอา่ นหนงั สือ เราตอ้ งการทราบ
ความพงึ พอใจเฉล่ียของทุกดา้ นของแต่ละผตู้ อบแบบสอบถาม เพอ่ื จะนาไปหาคา่ ความพงึ พอใจเฉลี่ยของผตู้ อบแบบสอบถามท้งั หมด
ตอ่ ไป มีข้นั ตอนการหาความพงึ พอใจรวม ดงั น้ี

1. ที่เมนู Transform เลือกคาสง่ั Compute

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ที่ 19 สุราษฎร์ธานี

2. ปรากฏหนา้ ตา่ ง Compute Variable ดงั รูป ในช่อง Target Variable ใหพ้ ิมพช์ ื่อตวั แปรตวั ใหม่ ใน

ท่ีน้ี ต้งั ชื่อวา่ Total จากน้นั คลิกที่ป่ ุม Type&Label… จะปรากฏหนา้ ต่าง Compute Variable: Type and
Label ใหพ้ ิมพค์ าอธิบายตวั แปรใหม่ ในช่อง Label: ในที่น้ีใหพ้ ิมพว์ า่ “ความพึงพอใจรวม” ประเภทของตวั แปร เนื่องจาก
เป็ นตวั เลขที่เกิดจากการคานวณของตวั แปรความพงึ พอใจท้งั 5 ตวั ดงั น้นั Type จึงเป็ น Numeric จากน้นั คลิก continue
จะกลบั มาท่ีหนา้ ต่าง Compute Variable อีกคร้ังหน่ึง

3. คลิกในช่อง Numeric Expression: เพื่อเลือกการทางานในช่องน้ี

4. คลิกป่ ุม จากกลุ่มเครื่องหมาย จะปรากฏเครื่องหมายวงเลบ็ () ในช่อง Numeric

Expression จากน้นั คลิกท่ีตวั แปร พอใจในเจา้ หนา้ ท่ีบริการคน้ หาหนงั สือ และคลิกป่ ุม ตวั แปรน้ีจะไปอยใู่ นช่อง
Numeric Expression ในวงเลบ็ (ข้นั ตอนน้ีอาจใชว้ ธิ ี ดบั เบิ้ลคลิกที่ตวั แปร เลยกไ็ ด้ ตวั แปรที่ดบั เบิ้ลคลิกจะไปอยทู่ ี่ช่อง

Numeric Expression โดยอตั โนมตั )ิ จากน้นั คลิกท่ี (เครื่องหมาย + ) ดบั เบิ้ลคลิกท่ีตวั แปร ความพงึ พอใจใน
เจา้ หนา้ ท่ีบริการยมื คืน คลิกเครื่องหมายบวก ดบั เบิ้ลคลิกที่ พอใจในความเป็นระเบียบฯ คลิกเครื่องหมายบวก ดบั เบิ้ลคลิกท่ีความ
พอใจในความสะอาดฯ คลิกเคร่ืองหมายบวก ดบั เบิ้ลคลิกท่ี พอใจในความเงียบฯ (ครบแลว้ ) จากน้นั ใหค้ ลิกหลงั เครื่องหมาย )

(คลิกใหเ้ คอเซอร์กระพริบอยหู่ ลงั วงเลบ็ ) จากน้นั ใหค้ ลิกเคร่ืองหมาย หาร ( ) คลิกป่ ุมเลข 5 จะไดส้ ูตร ดงั รูป

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 19 สุราษฎร์ธานี

5. คลิก OK จะไดผ้ ลลพั ธป์ รากฏในชีทของ Data View โดยมีตวั แปรใหมเ่ กิดข้นึ คือ Total เป็ นการหาค่าเฉลี่ย
ของความพอใจท้งั 5 ดา้ นของแบบสอบถามแตล่ ะฉบบั

การคานวณหาค่าเฉลยี่ (Mean) จากคาส่ัง Frequencies

มกั เป็ นการคานวณหาคา่ เฉล่ียของตวั แปรท่ีมีระดบั การวดั เป็ น Scale หรือประกาศตวั แปรเป็นประเภท Numeric ที่
ตอ้ งการคานวณหาค่าเฉล่ีย ในตวั อยา่ งน้ีจะเป็ นการคานวณหาค่าเฉล่ียของความพงึ พอใจในการใหบ้ ริการของหอ้ งสมุด โดยแสดง
เป็ นภาพรวม จากคาสงั่ Frequencies ทาไดด้ งั น้ี

1. เลือกเมนู Analysis เลือกคาสงั่ Descriptive
Statistics เลือก Frequencies ดงั รูป

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ท่ี 19 สุราษฎร์ธานี

2. จะปรากฏหนา้ ตา่ ง Frequencies
ถา้ เป็ นการทาต่อเนื่องจากงานเดิม จะปรากฏตวั แปร
ตวั เดิมคา้ งอยใู่ นช่อง Variable(s): ใหค้ ลิกเลือก
ตวั แปรในกล่อง Variable(s): ทุกตวั แลว้ คลิก
ป่ ุม ตวั แปรทุกตวั จะกลบั ไปอยใู่ นช่องทาง
ดา้ นซา้ ยท้งั หมด

3. คลิกเลือกตวั แปรท่ีตอ้ งการหาค่าเฉล่ีย ใน
ที่น้ีคือ เราจะหาคา่ เฉลี่ยของความพึงพอใจท้งั 5 ดา้ น คือ เจา้ หนา้ ท่ีช่วยคน้ หาหนงั สือ เจา้ หนา้ ที่ใหบ้ ริการยมื คืน ความเป็นระเบียบ
ของช้นั วางหนงั สือ ความสะอาดของโตะ๊ เกา้ อ้ี และความเงียบสงบของบรรยากาศ และ ใหค้ ลิกเลือกตวั แปรท้งั 5 ตวั น้ี จากน้นั ใหค้ ลิก
ตวั แปรท้งั 5 จะถกู ยา้ ยมาในช่อง Variable(s): ดงั รูป

คลิก คลิก

คลิกป่ ุม Statistics จะปรากฏหนา้ ตา่ ง Frequencies: Statistics คลิกเลือก Mean ในส่วน Central
Tendency เพ่อื ใหค้ านวณคา่ เฉล่ีย และคลิก Std. deviation ในส่วน Dispersion เพอ่ื ใหค้ านวณคา่ ส่วนเบ่ียงเบน
มาตรฐาน

จากน้นั คลิกที่ป่ ุม Continue จะ
กลบั มาที่หนา้ ตา่ ง Frequencies คลิกป่ ุม
OK โปรแกรมจะประมวลผลไวท้ ่ีหนา้ ต่าง
Output (SPSS Viewer)

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 19 สุราษฎร์ธานี

St at isti cs

N V alid พอในในเจา้ ห พอใจในเจา้ หน ้ พอใจใน ความเ พอใจใน ความสะ พอใจใน ความเ ความพอใ จรวม
M issing นา้ ท่ีชว่ ยคน้ าที่ บริการยมื คืน ป็ นระเบยี บของ อาดของโตะ๊ เกา้ อี้ งยี บสงบและบ 100
Mean หาหนั งสอื ชนั้ วางหนังสอื 0
Std. Dev iation 100 สาหรับน่ังอา่ น รรยากาศ
100 100 100 100 4.0120
0 0 .2753
0 0 0
4.11 4.12
.86 4.11 3.81 3.91
.77
.86 .94 .74

ถา้ หากวา่ ตารางท่ีแสดงมีจานวนตวั แปรมาก ความยาวของตารางก็จะยาวเกินหนา้ กระดาษได้ ใน SPSS สามารถปรับ
ตารางจากแถว ใหเ้ ป็นคอลมั น์ และจากคอลมั น์ ใหเ้ ป็ นแถว ได้ โดยกระทาดงั น้ี

ดบั เบิ้ลคลิกท่ีตาราง เลือกที่เมนู Pivot คลิกเลือกคาสงั่ Transpose Rows and Columns จะทาใหต้ าราง
น้นั กลบั จากแถวเป็ นคอลมั น์ และจากคอลมั น์เป็ นแถว ดงั รูป

ผลลพั ธ์ท่ีได้

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 19 สุราษฎร์ธานี

V alid Statistics M ean Std. D ev iation

N
M issing

พอในในเจา้ หน า้ 100 0 4.11 .86
ท่ีชว่ ยคน้ หาหนงั
สอื 100 0 4.12 .77

พอใจใน เจา้ หนา้ 100 0 4.11 .86
ท่ีบรกิ ารยมื คนื
100 0 3.81 .94
พอใจใน ความเป็
นระเบยี บข องชัน้ 100 0 3.91 .74
วางหนงั สอื 100 0 4.0120 .2753

พอใจใน ความสะ
อาดของโต๊ะ เกา้ อี้
สาหรับนั่ งอา่ น

พอใจใน ความเงีย
บสงบและบร รยา
กาศ

ความพอใจ รวม

ตวั อย่างการรายงานผลการวจิ ยั
การวเิ คราะห์ขอ้ มลู จะวเิ คราะห์ท้งั ในภาพรวมของความพึงพอใจในการใหบ้ ริการของสานกั หอสมดุ และในรายขอ้ ไดแ้ ก่

ความพอใจในเจา้ หนา้ ที่คน้ หาหนงั สือ ความพอใจในเจา้ หนา้ ท่ีบริการยมื คืน ความพอใจในความเป็ นระเบียบของช้นั วางหนงั สือ
ความพอใจในความสะอาดของโตะ๊ เกา้ อ้ี และความพอใจในความเงียบสงบและบรรยากาศ โดยใชเ้ กณฑใ์ นการวเิ คราะห์ และแปลผล
ขอ้ มูล ดงั น้ี

คะแนนเฉลี่ย 4.50-5.00 กาหนดใหอ้ ยใู่ นเกณฑ์ พงึ พอใจมากท่ีสุด
คะแนนเฉล่ีย 3.50-4.49 กาหนดใหอ้ ยใู่ นเกณฑ์ พงึ พอใจมาก
คะแนนเฉลี่ย 2.50-3.49 กาหนดใหอ้ ยใู่ นเกณฑ์ พึงพอใจปานกลาง
คะแนนเฉล่ีย 1.50-2.49 กาหนดใหอ้ ยใู่ นเกณฑ์ พงึ พอใจนอ้ ย
คะแนนเฉล่ีย 1.00-1.49 กาหนดใหอ้ ยใู่ นเกณฑ์ พึงพอใจนอ้ ยท่ีสุด
ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ความพึงพอใจเกี่ยวกบั การใหบ้ ริการของสานกั หอสมดุ โดยแสดงเป็ นภาพรวม ปรากฏผลดงั
ตารางท่ี 4

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ที่ 19 สุราษฎร์ธานี

ตารางท่ี 4 แสดงค่าเฉล่ียและคา่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดบั ความพึงพอใจเกี่ยวกบั การใหบ้ ริการในดา้ นตา่ งๆ ของ

สานกั หอสมุด

ความพงึ พอใจ x S.D.

ความพึงพอใจโดยภาพรวม 4.012 0.275

เจา้ หนา้ ที่คน้ หาหนงั สือ 4.11* 0.86

เจา้ หนา้ ที่บริการยมื คืน 4.12 0.77

ความเป็ นระเบียบเรียบร้อยของช้นั วางหนงั สือ 4.11* 0.86

ความสะอาดของโตะ๊ เกา้ อ้ีสาหรับนง่ั อา่ นหนงั สือ 3.81 0.94

ความเงียบสงบและบรรยากาศ 3.91 0.74

จากตารางที่ 4 พบวา่ ความพงึ พอใจในการใหบ้ ริการของสานกั หอสมุด โดยภาพรวม อยใู่ นระดบั มาก โดยมีคะแนนเฉล่ีย
เท่ากบั 4.012 เม่ือพจิ ารณาความพึงพอใจเป็ นรายดา้ น ปรากฏวา่ มีคา่ คะแนนเฉล่ียอยรู่ ะหวา่ ง 3.81 – 4.11 ซ่ึงสามารถเรียงลาดบั ค่า
คะแนนเฉลี่ยจากมากไปหานอ้ ย ไดด้ งั น้ี

ลาดบั ท่ี 1 พอใจในเจา้ หนา้ ที่บริการยมื คืน ( x = 4.12)
ลาดบั ที่ 2 มีคะแนนเท่ากบั 2 ดา้ นคือ พอใจในเจา้ หนา้ ที่คน้ หาหนงั สือ และ ความเป็ นระเบียบเรียบร้อยของช้นั วางหนงั สือ
( x = 4.11)
ลาดบั ท่ี 4 พอใจในความเงียบสงบและบรรยากาศ ( x = 3.91)
ลาดบั ที่ 5 พอใจในความสะอาดของโตะ๊ เกา้ อ้ีสาหรับนงั่ อ่านหนงั สือ ( x = 3.81)

******** ในการจดั ลาดบั ท่ีของค่าเฉลี่ยในกรณีท่ีมีค่าเท่ากนั
1. ถา้ ค่าเฉล่ียเท่ากนั แตค่ า่ S.D. ตา่ งกนั คา่ เฉล่ียที่มีคา่ S.D. นอ้ ยกวา่ หมาถึง มีการกระจายของขอ้ มูลนอ้ ยกวา่ หรือ

หมายถึง ผตู้ อบแบบสอบถามมคี วามเห็นที่แตกตา่ งกนั นอ้ ยกวา่ แสดงวา่ มีความน่าเชื่อถือสูงกวา่ ค่าเฉล่ียที่มีคา่ S.D. ที่มากกวา่
ดงั น้นั ใหจ้ ดั ลาดบั ค่าเฉล่ียที่มคี ่า S.D. ต่ากวา่ ไวล้ าดบั ดีกวา่ คา่ เฉลี่ยท่ีมี S.D. สูงกวา่

2. ถา้ ค่าเฉล่ียเท่ากนั และคา่ S.D. กเ็ ท่ากนั จะไดล้ าดบั ท่ีเท่ากนั และเวน้ ขา้ มการจดั ลาดบั ของตวั ถดั ไปอีก 1 ลาดบั

การคานวณหาค่าเฉลยี่ (Mean) ของความพงึ พอใจ จาแนกตามกลุ่ม จากคาสั่ง Compare Means

ในบางคร้ัง การวเิ คราะห์อาจตอ้ งการทราบผลของความพงึ พอใจเฉลี่ย เพ่อื เปรียบเทียบกนั ระหวา่ งกล่มุ เช่น ความพึงพอใจ
เฉล่ียระหวา่ งผหู้ ญิงและผชู้ าย หรือความพงึ พอใจในดา้ นต่างๆ ระหวา่ งคณะตา่ งๆ วา่ เหมือนหรือแตกตา่ งกนั อยา่ งไร ทาไดโ้ ดยใช้
คาสง่ั Compare Means ดงั น้ี

1. คลิกเมนู Analyze เลือกคาสงั่ Compare Means เลือก Means..

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ท่ี 19 สุราษฎร์ธานี

2. ปรากฏหนา้ ตา่ ง Means เลือก ตวั แปร ความพงึ พอใจ (ทุกดา้ น) ไวใ้ นช่อง Dependent List และเลือกตวั แปรท่ี
จะแบ่งกลุ่ม ในท่ีน้ีคือ ตวั แปรเพศ ไวใ้ นช่อง Independent List ดงั รูป

3. คลิกป่ ุม OK เพอื่ สงั่ ใหป้ ระมวลผล ซ่ึงจะไดผ้ ลลพั ธใ์ น SPSS Viewer ดงั น้ี

C ase Pr oce ssing Summar y

I ncluded C ases Total
N Percent Excluded N Percent
N Percent
100 100.0%
พอในในเจา้ หนา้ ที่ชว่ ยคน้ หาหนั 100 100.0% 0 .0%
งสอื * เพศ 100 100.0%
100 100.0% 0 .0%
พอใจในเจา้ หนา้ ทบ่ี ริการยมื คนื 100 100.0%
* เพศ 100 100.0% 0 .0%
100 100.0%
พอใจในความเป็นระเบยี บของชั้ 100 100.0% 0 .0%
นวางหนั งสอื * เพศ 100 100.0%
100 100.0% 0 .0% 100 100.0%
พอใจในความสะอาดของโตะ๊ เก ้ 100 100.0% 0 .0%
าอส้ี าหรบั นั่งอา่ น * เพศ

พอใจในความเงยี บสงบและบร ร
ยากาศ * เพศ

ความพอใจรวม * เพศ

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ที่ 19 สุราษฎร์ธานี

Repor t

เพศ Mean พอในในเจา้ ห พอใจในเจา้ หน ้ พอใจใน ควา มเ พอใจใน ควา มสะ พอใจใน ควา มเ ความพอใ จรวม
ชาย N นา้ ท่ีชว่ ยคน้ าท่ี บริการยมื คนื ป็ นระเบยี บของ อาดของโตะ๊ เก า้ อ้ี งยี บสงบและบ 3.9840
Std. Dev iation หาหนั งสอื ชนั้ วางหนังสอื 50
หญงิ Mean 4.08 สาหรับนั่งอา่ น รร ยากาศ .2645
N 4.10 50 3.96 3.88 3.90 4.0400
Total Std. Dev iation 50 .78 50 50
Mean .95 .90 50 50 .2857
N 4.16 4.0120
Std. Dev iation 4.12 50 4.26 .87 .54 100
50 .77 50 .2753
.77 .80 3.74 3.92
4.12
4.11 100 4.11 50 50
100 .77 100
.86 .86 1.01 .90

3.81 3.91

100 100

.94 .74

ตวั อย่างการรายงานผลการวจิ ยั
ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ความพงึ พอใจเก่ียวกบั การใหบ้ ริการของสานกั หอสมดุ ในดา้ นต่างๆ และภาพรวม จาแนกตาม

สถานภาพดา้ น เพศ ปรากฏผลดงั ตารางท่ี 5

ตารางที่ 5 แสดงค่าเฉล่ียและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดบั ความพงึ พอใจเก่ียวกบั การใหบ้ ริการในดา้ นตา่ งๆ จาแนกตาม

สถานภาพดา้ นเพศ

ความพงึ พอใจ เพศชาย เพศหญิง
ความพงึ พอใจโดยภาพรวม
x S.D. x S.D.

3.984 0.265 4.040 0.286

เจา้ หนา้ ที่คน้ หาหนงั สือ 4.10 0.95 4.12 0.77

เจา้ หนา้ ท่ีบริการยมื คืน 4.08 0.78 4.16 0.77

ความเป็ นระเบียบเรียบร้อยของช้นั วางหนงั สือ 3.96 0.90 4.26 0.80

ความสะอาดของโตะ๊ เกา้ อ้ีสาหรับนง่ั อา่ นหนงั สือ 3.88 0.87 3.74 1.01

ความเงียบสงบและบรรยากาศ 3.90 0.54 3.92 0.90

จากตารางที่ 5 พบวา่ ความพึงพอใจในการใหบ้ ริการของสานกั หอสมดุ ในดา้ นต่างๆ เม่ือจาแนกตามสถานภาพดา้ นเพศ
ปรากฏผลดงั น้ี

เพศชาย มีความพึงพอใจในการใหบ้ ริการโดยภาพรวม อยใู่ นระดบั มาก โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากบั 3.984 สาหรับผลการ
พิจารณาเป็ นรายดา้ น ปรากฏวา่ มีคะแนนเฉลี่ยอยรู่ ะหวา่ ง 3.88-4.10 ซ่ึงสามารถเรียงลาดบั คา่ คะแนนเฉลี่ยจากมากไปนอ้ ย ได้
ดงั ตอ่ ไปน้ี

ลาดบั ท่ี 1 พอใจในเจา้ หนา้ ที่คน้ หาหนงั สือ ( x = 4.10)
ลาดบั ที่ 2 พอใจในเจา้ หนา้ ท่ีบริการยมื คืน ( x = 4.08)
ลาดบั ที่ 3 พอใจในความเป็ นระเบียบเรียบร้อยของช้นั วางหนงั สือ ( x = 3.96)
ลาดบั ท่ี 4 พอใจในความเงียบสงบและบรรยากาศ ( x = 3.91)
ลาดบั ที่ 5 พอใจในความสะอาดของโตะ๊ เกา้ อ้ีสาหรับนงั่ อา่ นหนงั สือ ( x = 3.81)

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 19 สุราษฎร์ธานี

เพศหญิง มีความพงึ พอใจในการใหบ้ ริการโดยภาพรวม อยใู่ นระดบั มาก โดยมีคะแนนเฉล่ียเท่ากบั 4.040 สาหรับผลการ
พจิ ารณาเป็ นรายดา้ น ปรากฏวา่ มีคะแนนเฉล่ียอยรู่ ะหวา่ ง 3.74-4.26 ซ่ึงสามารถเรียงลาดบั คา่ คะแนนเฉล่ียจากมากไปนอ้ ย ได้
ดงั ต่อไปน้ี

ลาดบั ท่ี 1 พอใจในความเป็ นระเบียบเรียบร้อยของช้นั วางหนงั สือ ( x = 4.26)
ลาดบั ท่ี 2 พอใจในเจา้ หนา้ ที่บริการยมื คืน ( x = 4.16)
ลาดบั ท่ี 3 พอใจในเจา้ หนา้ ท่ีคน้ หาหนงั สือ( x = 4.12)
ลาดบั ท่ี 4 พอใจในความเงียบสงบและบรรยากาศ ( x = 3.92)
ลาดบั ที่ 5 พอใจในความสะอาดของโตะ๊ เกา้ อ้ีสาหรับนง่ั อา่ นหนงั สือ ( x = 3.74)

การเปรียบเทยี บความแตกต่างระหว่าง 2 ตัวแปร ทเี่ ป็ นอสิ ระต่อกนั ด้วย Independent-Sample T
Test

เมื่อมีการต้งั วตั ถปุ ระสงคใ์ นการวจิ ยั ไวว้ า่ ตอ้ งการเปรียบเทียบความแตกตา่ งของความพงึ พอใจในการใหบ้ ริการดา้ นตา่ งๆ
ของหอ้ งสมดุ ระหวา่ งเพศชายและเพศหญิง (แบ่งเป็ น 2 กลุม่ ท่ีเป็ นอิสระต่อกนั ) จะใชค้ าสง่ั Independent-Sample T Test
โดยกระทาดงั น้ี

1. คลิกเมนู Analyze เลือกคาสงั่ Compare Means เลือกคาสงั่ Independent-Sample T Test

2. จะปรากฏหนา้ ต่าง Independent-Sample T Test ดงั รูป

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ท่ี 19 สุราษฎร์ธานี

เลือกตวั แปรท่ีตอ้ งการทดสอบ ในที่น้ีคือ ความพึงพอใจในดา้ นตา่ งๆ เขา้ มาไวใ้ นช่อง Test Variable(s):
จากน้นั คลิกตวั แปรที่เราแบ่งกลุ่มเปรียบเทียบ ในท่ีน้ีคือ เพศ (sex) จะสงั เกตวา่ ในช่อง Grouping Variable: จะ
แสดง sex(? ?) หมายถึงจะถามวา่ group ท่ีกาหนดน้นั มีอะไรบา้ ง ใหค้ ลิกท่ีป่ ุม Define Groups… จะปรากฏ
หนา้ ตา่ งใหก้ าหนด group ดงั น้ี

จากแบบสอบถาม และขอ้ มลู เดิม เราแบ่งกลมุ่ ของเพศ เป็ น 2
กลุ่ม โดยใหเ้ ลข 1 แทนเพศชาย และเลข 2 แทนเพศหญิง
เราจึงกาหนด Group 1 เป็ น 1 และ Group 2 เป็ น 2 ดงั รูป
จากน้นั คลิกท่ีป่ ุม Continue
โปรแกรมจะกลบั มาท่ีหนา้ ตา่ ง Independent-Sample T
Test และปรากฏรายการ เพศ (1 2) ดงั รูป

คลิกป่ ุม Options เพอื่ กาหนดคา่ ความเช่ือมน่ั โดยกาหนดคา่ ความเช่ือมน่ั ลงในช่อง Confidence Interval ตาม
ตอ้ งการ (ตามปกติ และในตวั อยา่ ง จะกาหนดไวท้ ่ี 95%)

คลิก Continue จะกลบั มาที่หนา้ ตา่ งเดิม คราวน้ีคลิก OK จะไดผ้ ลลพั ธท์ ่ี SPSS Viewer ดงั น้ี

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ที่ 19 สุราษฎร์ธานี

Gr oup Statistics

เพศ N Mean Std. Dev iation Std. Error
50 4.10 .95 Mean
พอในในเจา้ หนา้ ที่ชว่ ยคน้ หาห ชาย 50 4.12 .77 .13
นังสอื 50 4.08 .78 .11
หญงิ 50 4.16 .77 .11
50 3.96 .90 .11
พอใจในเจา้ หนา้ ที่ บริการยมื คนื ชาย 50 4.26 .80 .13
50 3.88 .87 .11
หญงิ 50 3.74 .12
50 3.90 1.01 .14
พอใจในความเป็นระเบยี บของ ชาย 50 3.92 .54 7.69E-02
ชนั้ วางหนังสอื 50 .90 .13
หญงิ 50 3.9840
4.0400 .2645 3.740E-02
พอใจในความสะอาดของโตะ๊ เก ้ ชาย .2857 4.041E-02

าอสี้ าหรั บนั่งอา่ น หญงิ

พอใจในความเงยี บสงบและบร ชาย

รยากาศ หญงิ

ความพอใ จรวม ชาย

หญงิ

ผลการทดสอบคา่ ความ คา่ สถิติที่คานวณไดจ้ ากขอ้ มูล คา่ ความน่าจะเป็น (P) ใชใ้ น
แปรปรวนของกลุ่ม ตวั อยา่ ง ซ่ึงจะใชเ้ ทียบกบั ตาราง การทดสอบสมมติฐาน
ทางสถิติโดยทว่ั ไป

Indepe nde nt Sample s Te st t-test for Equality of M eans

Lev ene's Test for  95% C onfidence
Equality of Variances Interv al of the
D if ference


F Sig. t df Sig. (2-tailed) Mean Std. Error Low er U pper
.658 .419 -.115 98 .908 D if ference D if ference
พอในในเจา้ หนา้ ที่ชว่ ยคน้ หาห Equal v ariances assumed -.115 -.36 .32
นังสอื -.518 94.000 -2.00E-02 .17
-.518 98
Equal v ariances not -1.756 .908 -2.00E-02 .17 -.36 .32
-1.756 97.974
assumed .743 98
.743
พอใจในเจา้ หนา้ ที่ บริการยมื คืน Equal v ariances assumed .022 .883 -.134 96.698 .606 -8.00E-02 .15 -.39 .23
-.134 98
Equal v ariances not -1.017 .606 -8.00E-02 .15 -.39 .23
assumed -1.017 96.063
98
พอใจในความเป็นระเบยี บของ Equal v ariances assumed .704 .403 .082 -.30 .17 -.64 3.91E-02
ชนั้ วางหนังสอื 80.593
Equal v ariances not 98 .082 -.30 .17 -.64 3.92E-02

assumed 97.421

พอใจในความสะอาดของโตะ๊ เก ้ Equal v ariances assumed .859 .356 .459 .14 .19 -.23 .51

าอส้ี าหรั บน่ังอา่ น Equal v ariances not .459 .14 .19 -.23 .51

assumed

พอใจในความเงยี บสงบและบร Equal v ariances assumed 7.164 .009 .893 -2.00E-02 .15 -.32 .28

รยากาศ Equal v ariances not .893 -2.00E-02 .15 -.32 .28

assumed

ความพอใ จรวม Equal v ariances assumed .915 .341 .312 -5.600E-02 5.506E-02 -.1653 5.326E-02

Equal v ariances not .312 -5.600E-02 5.506E-02 -.1653 5.327E-02
assumed

ผลตา่ งของคา่ เฉลี่ยท้งั 2 กลุ่ม

คา่ ความคลาดเคลื่อนของผลต่าง

ขอบเขตช่วงความเช่ือมนั่ ท่ี 95% ของผลต่างคา่ เฉล่ีย

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ท่ี 19 สุราษฎร์ธานี

การพิจารณาผลการทดสอบสมมติฐานดว้ ย T-Test ท่ีเป็น Independent-Sample T Test จะพิจารณาคา่ P
จาก Sig.(2-tailed) ในช่อง  เท่าน้นั แตค่ า่ P ในช่อง  มี 2 ตวั คือ ตวั บนท่ีเป็น Equal variance
assumed และตวั ลา่ งที่เป็ น Equal variance not assumed จึงใหพ้ จิ ารณาวา่ จะเลือกค่า P จากตวั ใด ดงั น้ี

1. ใหด้ ูคา่ ความแปรปรวนของกลุ่มในช่อง  วา่ Sig. หรือไม่ (Sig. คือค่าในช่องน้ีมคี ่านอ้ ยกวา่ คา่  ( ซ่ึง  มี
คา่ เท่ากบั 0.05 เนื่องจากเรากาหนดค่าระดบั ความเช่ือมน่ั ไว้ 95%))

2. ในกรณีที่คา่ ความแปรปรวนของกลุม่ ในช่อง  Sig. แสดงวา่ เป็ น Equal variance not
assumed (ความแปรปรวนของกลุ่มไมเ่ ท่ากนั ) ใหเ้ ลือกค่า P Sig. (2-tailed) จากตวั ล่าง

3. ในกรณีที่ค่าความแปรปรวนของกลมุ่ ในช่อง  ไม่ Sig. แสดงวา่ เป็ น Equal variance assumed
(ความแปรปรวนของกลุ่มเท่ากนั ) ใหเ้ ลือกคา่ P Sig. (2-tailed) จากตวั บน

ความพงึ พอใจในด้านการให้บริการค้นหาหนงั สือ
สมมติฐานทางสถิติ

H0 : ชาย = หญิง เพศชายและเพศหญิงมีความพึงพอใจในการใหบ้ ริการคน้ หาหนงั สือไมแ่ ตกตา่ งกนั
H1 : ชาย ≠ หญิง เพศชายและเพศหญิงมีความพงึ พอใจในการใหบ้ ริการคน้ หาหนงั สือแตกตา่ งกนั

Sig. = 0.419 มากกวา่ ค่า  ( = 0.05) แสดงวา่ ไม่Sig. (Equal variance assumed)

ดงั น้นั จะเลือกใช้ Sig.(2-tailed) ตวั บน นนั่ คือ P(ความน่าจะเป็น) = 0.908 ,  (ระดบั นยั สาคญั ) = 0.05 ดงั น้นั

คา่ P มากกวา่  (เท่ากบั ไม่ Sig.) จึงยอมรบั H0

สรุปได้ว่า เพศชายและเพศหญงิ มคี วามพงึ พอใจในการให้บริการด้านค้นหาหนังสือ ไม่แตกต่างกนั อย่างมี

นัยสาคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดบั 0.05

ตวั อย่างการรายงานผลการวจิ ยั
ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู เก่ียวกบั ความแตกตา่ งของความพึงพอใจในการใหบ้ ริการดา้ นตา่ งๆ ของหอ้ งสมุด จาแนกตาม

สถานภาพดา้ นเพศ ปรากฏผลดงั ตารางท่ี 5

ตารางท่ี 5 แสดงค่าเฉล่ีย คา่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติท่ีใชใ้ นการทดสอบสมมติฐานของการเปรียบเทียบความแตกต่าง

ของความพึงพอใจในการใหบ้ ริการของหอ้ งสมดุ ดา้ นตา่ งๆ จาแนกตามสถานภาพดา้ นเพศ

ความพึงพอใจ เพศชาย เพศหญิง tP
ความพอใจโดยภาพรวม
x S.D. x S.D.

3.984 0.265 4.040 0.286 -1.017 0.312

ดา้ นการบริการคน้ หาหนงั สือ 4.10 0.95 4.12 0.77 -0.115 0.908

ดา้ นการบริการยมื คืน 4.08 0.78 4.16 0.77 -0.518 0.606

ดา้ นความเป็นระเบียบของช้นั วางหนงั สือ 3.96 0.90 4.26 0.80 -1.756 0.082

ดา้ นความสะอาดของโตะ๊ เกา้ อ้ี 3.88 0.87 3.74 1.01 0.743 0.459

ความเงียบสงบและบรรยากาศ 3.90 0.54 3.92 0.90 -0.134 0.893

* มีนยั สาคญั ทางสถิติที่ระดบั 0.05

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ท่ี 19 สุราษฎร์ธานี

จากตารางท่ี 5 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลเปรียบเทียบความแตกตา่ งของความพึงพอใจท่ีมีตอ่ การใหบ้ ริการในดา้ นต่างๆ จาแนก
ตามสถานภาพทางเพศ พบวา่ ความพึงพอใจโดยภาพรวม และความพึงพอใจในดา้ นต่างๆ ทุกๆ ดา้ น ไมม่ ีความแตกต่างกนั นน่ั คือ
เพศหญิง และเพศชาย ต่างมีก็มีทศั นคติ หรือความพึงพอใจในการใหบ้ ริการในดา้ นต่างๆ ทุกดา้ นที่สอบถามไม่แตกต่างกนั คืออยใู่ น
ระดบั มาก

6. การวเิ คราะห์เนือ้ หา (Content Analysis)
สาหรับขอ้ คาถามท่ีมีลกั ษณะเป็ นแบบปลายเปิ ด (Open-End) ผวู้ จิ ยั จะตอ้ งทาการวเิ คราะห์ขอ้ ความที่ผตู้ อบเขียนอธิบายมา

โดยตอ้ งพยายามจบั ประเดน็ แลว้ นาประเด็นที่มีความคลา้ ยคลึงกนั มาจดั เป็ นกลุ่มเดียวกนั เพอ่ื นามากาหนดคา่ ความถี่ใหก้ บั ขอ้ ความ
หรือรายการน้นั วธิ ีการเช่นน้ีเรียกวา่ การวเิ คราะห์เน้ือหา (Contents Analysis)

ตวั อย่างการรายงานผลการวจิ ยั
การแสดงความคิดเห็นของผตู้ อบแบบสอบถามเก่ียวกบั ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการปรบั ปรุงและพฒั นาหอ้ งสมุด ปรากฏผลตาม

ตารางที่ 6

ตารางที่ 6 แสดงค่าร้อยละของจานวนผตู้ อบแบบสอบถามปลายเปิ ด

ผู้ตอบ/ไม่ตอบ แบบสอบถามปลายเปิ ด จานวน ร้อยละ
45.00
ตอบแบบสอบถามปลายเปิ ด 45 55.00
100.00
ผไู้ มต่ อบแบบสอบถามปลายเปิ ด 55

รวม 100

ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ผตู้ อบแบบสอบถามปลายเปิ ดจากตารางท่ี 6 พบวา่ ในจานวนกล่มุ ตวั อยา่ งท้งั สิ้น 100 คน มีผตู้ อบ
แบบสอบถามปลายเปิ ด คิดเป็ นร้อยละ 45.00 ส่วนที่เหลือเป็นผไู้ มต่ อบแบบสอบถามปลายเปิ ด คิดเป็ นร้อยละ 55.00

ความคิดเห็นของผตู้ อบแบบสอบถาม เก่ียวกบั ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ เพื่อการปรับปรุงและพฒั นาหอ้ งสมุดน้นั มีรายละเอียด
แสดงเป็นคา่ ความถ่ี เป็นขอ้ ๆ ไดด้ งั น้ี

ตารางท่ี 7 แสดงค่าความถ่ีของความคิดเห็นจากผตู้ อบแบบสอบถามปลายเปิ ด เก่ียวกบั ขอ้ เสนอแนะอ่ืนๆ เพื่อการปรบั ปรุงและพฒั นา

หอ้ งสมุด

ข้อเสอแนะเพอ่ื การปรับปรุงและพฒั นาห้องสมุด ความถ่ขี องจานวนทต่ี อบ

ควรเปิ ดถึง 2 ทุ่ม 40

ควรติดแอร์ทุกช้นั 25

ควรมีหนงั สือท่ีทนั สมยั อยตู่ ลอดเวลา 10

ควรเพิม่ หนงั สือภาษาตา่ งประเทศใหม้ ากกวา่ น้ี 5

ควรมีคอมพวิ เตอร์สาหรบั สืบคน้ 1

ตวั อย่างการรายงานผล

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ที่ 19 สุราษฎร์ธานี

การรายงานผลข้อคาถามปลายเปิ ดแบบตารางท่ี 7

ผลการวเิ คราะห์ความคิดเห็นของผตู้ อบแบบสอบถาม จากตารางท่ี พบวา่ ความคิดเห็นของผตู้ อบแบบสอบถามท่ีตอ้ งการ

ใหห้ อ้ งสมดุ ปรับปรุงและพฒั นา จาแนกตามความถี่ของความคิดเห็น เรียงจากมากไปหานอ้ ย ดงั น้ี

ลาดบั ที่ 1 ควรเปิ ดบริการถึง 2 ทุ่ม (ความถี่ = 40)

ลาดบั ที่ 2 ควรติดแอร์ทุกช้นั (ความถ่ี = 25)

ลาดบั ที่ 3 ควรมีหนงั สือท่ีทนั สมยั อยตู่ ลอดเวลา (ความถ่ี = 10)

ลาดบั ท่ี 4 ควรเพ่ิมหนงั สือภาษาต่างประเทศใหม้ ากกวา่ น้ี (ความถี่ = 5)

ลาดบั ที่ 5 ควรมีคอมพวิ เตอร์สาหรับสืบคน้ (ความถ่ี = 1)

หรือ อาจรายงานผลในแบบการบรรยาย ได้ดังนี้
ผลการวเิ คราะหค์ วามคิดเห็นของผตู้ อบแบบสอบถาม จากตารางท่ี 7 พบวา่ ความคิดเห็นของผตู้ อบแบบสอบถามท่ีตอ้ งการ

ใหห้ อ้ งสมดุ ปรบั ปรุงและพฒั นาการใหบ้ ริการ จาแนกตามความถ่ขี องความคดิ เห็นเรียงจากมาไปหานอ้ ย ไดแ้ ก่ ควรควรเปิ ดบริการถงึ
2 ทุ่ม (ความถ่ี = 40) ควรตดิ แอร์ทุกช้นั (ความถ่ี = 25) ควรมีหนงั สือที่ทนั สมยั อยตู่ ลอดเวลา (ความถ่ี = 10) ควรเพ่มิ หนงั สือ
ภาษาตา่ งประเทศใหม้ ากกวา่ น้ี (ความถ่ี = 5) และ ควรมีคอมพิวเตอร์สาหรับสืบคน้ (ความถ่ี = 1) ตามลาดบั



ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 19 สุราษฎร์ธานี


Click to View FlipBook Version