The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

103590-Article Text-261838-1-10-20171121

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ruttjirayu, 2019-06-04 01:12:03

1 Economic Acuaculture

103590-Article Text-261838-1-10-20171121

ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ Veridian E-Journal, Silpakorn University
ปที ่ี 10 ฉบบั ที่ 2 เดอื นพฤษภาคม – สิงหาคม 2560 ISSN 1906 - 3431

ศกั ยภาพการผลติ การตลาดปลาสวยงามในประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น*

The potential of producing and marketing ornamental fish in
asean economic community

สมพล สุขเจริญพงษ์ (Sompon Sukcharoenpong)**
กนกพชั ร วงศอ์ ินทรอ์ ยู่ (Kanokpatch Wonginyoo)***
ศานติ ดิฐสถาพรเจริญ (Santi Ditsathaporncharoen)****

บทคัดยอ่
การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1 ศึกษาถึงความได้เปรียบ-เสียเปรียบทางการแข่งขันหลังการเข้าสู่

การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของอุตสาหกรรมส่งออกปลาสวยงามในกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
รูปแบบงานวิจัยเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบสัมภาษณ์ ที่มีลักษณะเป็นทางการ โดยกาหนด
ประเด็นคาถามในการสัมภาษณ์ ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลหลักจานวน
19 คน

ผลการวจิ ัยสรุปได้ว่า อุตสาหกรรมปลาสวยงามของประเทศสิงคโปร์มีศักยภาพการผลิต การตลาดสูง
ที่สุด รองลงมา คือ ประเทศมาเลเซีย และประเทศไทย ตามลาดบั สาเหตทุ ี่อตุ สาหกรรมปลาสวยงามของประเทศ
สิงคโปร์มีศักยภาพสูงท่ีสุด เน่ืองจากภาครัฐให้การสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมปลาสวยงาม มีความพร้อม
ของระบบสาธารณปู โภคและระบบโลจิสตกิ ส์ ส่งผลใหก้ ารดาเนินการด้านการขนส่งมตี ้นทนุ ตา่ และมีรูปแบบการ
ติดต่อซื้อขายที่มีประสิทธิภาพ สะดวก รวดเร็ว และเข้าถึงได้ง่าย รองลงมา คือ ประเทศมาเลเซียมีการใช้
เทคโนโลยีในกระบวนการผลิต ทาให้สามารถควบคุมการผลิตให้มีคุณภาพสูง สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการ
ส่ือสารทาให้การติดต่อการค้าระหว่างประเทศมีประสิทธิภาพมากข้ึน ในขณะที่อุตสาหกรรมปลาสวยงามของ
ประเทศไทยมีศักยภาพน้อยที่สุด เนื่องจากข้ันตอนพิธีการศุลกากร และการขอใบรับรองจากหน่วยงานภาครัฐ
เพื่อการส่งออกมีขั้นตอนทยี่ ุ่งยากซับซ้อน ระบบการขนสง่ และโลจสิ ตกิ ส์ของประเทศยงั ไม่มีประสิทธิภาพ และยัง
ขาดทักษะในการส่ือสารด้านภาษาอังกฤษ ดังน้ันประเทศไทยจาเป็นต้องเร่งพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต
การตลาดปลาสวยงามใหม้ คี ุณภาพไดม้ าตรฐานสากลตามท่ีตลาดต้องการ และการบริหารจัดการต้นทุนด้านการ
ขนส่งและโลจิสติกส์มีประสิทธิภาพ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันกับประเทศสิงคโปร์และประเทศ
มาเลเซยี ได้

* บทความน้มี วี ัตถุประสงค์เพ่ือเผยแพรค่ วามรูท้ างวชิ าการ

This article for publishing academic knowledge
** อาจารยป์ ระจา คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม,

(Faculty of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University), Email: [email protected]
**** อาจารย์ประจา คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม,

(Faculty of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University)

2426

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศลิ ปะ
ISSN 1906 - 3431 ปีท่ี 10 ฉบบั ที่ 2 เดอื นพฤษภาคม – สงิ หาคม 2560

คาสาคัญ: ศกั ยภาพ, ปลาสวยงามของไทย, ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น

Abstract
This research aimed to study advantages and disadvantages in competition of

ornamental fish industry after entering into ASEAN Economic Community. Qualitative research
was done by using structured interview. Data were collected from 19 key informants using in-
depth interview.

The result showed that ornamental fish industry of Singapore had a potential to
produce the highest marketing, secondly was Malaysia and Thailand, respectively. The reasons
that made Singapore have the highest potential were the government’s support on
ornamental fish industry and the availability of public utilities and logistics systems. These
resulted in low transportation operation and a trading model which was effective, convenient,
fast, and accessible. Meanwhile, Malaysia used technology in the manufacturing process, which
could control the product to high quality. In addition, they could use English to communicate,
so it made their international trade more effective. However, in Thailand, the potential of
ornamental fish industry became the least due to the customs clearance procedure and the
complicated procedure to obtain a government certificate for export. Moreover, the country’s
logistics and logistics systems were ineffective and there was also a lack of communication
skills in English. As a result, Thailand needs to accelerate the development of production
efficiency and ornamental fish marketing to meet the quality of international standards as
required by the market. Furthermore, the country needs to develop management of
transportation costs and logistics effectively in order to enhance competitiveness with
Singapore and Malaysia.

Key Words: Potential, Ornamental Fish of Thailand, ASEAN Economic Community

บทนา
ประเทศไทยเป็นผู้เพาะเล้ียงสัตว์น้าที่สาคัญของภูมิภาคอาเซียน โดยในปี 2555 มีความสามารถใน

การแข่งขันกับประเทศต่าง ๆ อยู่ในอันดับท่ี 3 ของภูมิภาคอาเซียน รองจาก ประเทศสิงคโปร์ และประเทศ
มาเลเซีย (World Economic Forum, 2012) และในปี 2558 ตามกรอบประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN
Economic Community) การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าต้องเปิดให้นักลงทุนจากประเทศสมาชิกอาเซียนเข้ามาลงทุน
เพาะเลี้ยงสัตว์น้าในประเทศไทย สาหรับภาคการผลิตที่มีความเข้มแข็งและมีศักยภาพ การเข้าร่วมประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียนอาจช่วยให้มีการดึงดูดการลงทุนเข้ามาเพิ่มผลผลิต ตลอดจนร่วมกันพัฒนาภาคการผลิตใน
ประเทศไทย (เรืองไร โตกฤษณะ และคณะ, 2557 และกมลทิพย์ ลินิฐฎา, 2559) โดยที่แต่ละประเทศจะต้อง

2427

ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศลิ ปะ Veridian E-Journal, Silpakorn University
ปีท่ี 10 ฉบบั ที่ 2 เดอื นพฤษภาคม – สิงหาคม 2560 ISSN 1906 - 3431

เตรียมความพร้อมรับมือกับกระแสพลวัตและการแข่งขันภายในภูมิภาคอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ซึ่งจะส่งผลกระทบ
ทั้งในด้านบวกและด้านลบ มที ้งั วกิ ฤตและโอกาสในเวลาเดียวกนั (Porter, 1980) ในขณะท่แี ต่ละประเทศนั้นต่าง
ก็ต้องการความได้เปรียบในการแข่งขัน สร้างการยอมรับของทุกประเทศในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การพฒั นาประเทศให้มีศักยภาพสูงสามารถพิจารณาไดจ้ ากหลกั เกณฑ์หลายประการ เช่น ความสามารถด้านการ
ผลิต ความพรอ้ มของโครงสรา้ งพืน้ ฐาน สว่ นแบง่ ทางการตลาด และขั้นตอนการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
(สุรมงคล นิ่มจิตต์ และธีรวัฒน์ จันทึก, 2559) เมื่อพิจารณาจากการสารวจขีดความสามารถในการแข่งขัน
ปี 2555 ของประเทศต่าง ๆ 144 ประเทศ โดยประเทศในภูมิภาคอาเซียนมีอันดับ ดังต่อไปน้ี ประเทศสิงคโปร์
อันดับท่ี 2 ประเทศมาเลเซีย อันดับท่ี 25 ประเทศบรูไน อันดับที่ 28 ประเทศไทย อันดับท่ี 38 ประเทศ
อินโดนีเซีย อันดับท่ี 50 ประเทศฟิลิปปินส์ อันดับท่ี 65 ประเทศเวียดนาม อันดับที่ 75 และประเทศกัมพูชา
อันดับที่ 85 (World Economic Forum, 2012) ซ่ึงจะสะท้อนถงึ ศกั ยภาพในการแข่งขันที่แตกต่างกันของแต่ละ
ประเทศในภมู ิภาคอาเซยี น

ในปจั จุบันตลาดปลาสวยงามมกี ารแข่งขันท่ีรุนแรงมากข้ึน เนื่องจากศักยภาพของประเทศคู่แข่งขันมี
การบริหารจัดการที่ดีกว่า อีกทั้งการเปิดเขตการค้าเสรียังส่งผลกระทบต่อประเทศท่ีไม่พร้อมในการแข่งขัน
เกดิ ความเสยี เปรยี บในดา้ นตน้ ทุน และการเปดิ เสรที างการค้าในกลุ่มประเทศอาเซียน อุตสาหกรรมปลาสวยงาม
ของประเทศไทยได้รับผลกระทบดังกลา่ วเช่นเดยี วกนั โดยประเทศในกลุ่มอาเซียนสามารถเข้าสตู่ ลาดประเทศไทย
ได้โดยไม่มีการจัดเก็บภาษี ทาให้เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงปลาสวยงามของไทยต้องแข่งขันมากข้ึน และหากตลาด
ภายในประเทศไทยยังไม่มีกลไกในการป้องกันจะทาให้นโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมปลาสวยงา มเกิดปัญหา
และอุปสรรคได้ ดังน้ันผู้วิจัยได้เล็งเห็นความสาคัญในการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืนให้
เกิดขึ้นในโซ่อุปทานปลาสวยงามของไทย จึงมุ่งเน้นศึกษาประเทศที่มีศักยภาพในการผลิตและตลาดปลา
สวยงามสูงสุด 3 ประเทศ คือ ประเทศสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซีย และประเทศไทย

วัตถุประสงค์ของการวิจัย
ศกึ ษาถงึ ความไดเ้ ปรยี บ-เสียเปรยี บทางการแข่งขันหลังการเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

ของอุตสาหกรรมสง่ ออกปลาสวยงามในกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น

แนวคิด ทฤษฎแี ละเอกสารทีเ่ กีย่ วข้อง
แนวคดิ เก่ยี วกับแบบจาลอง Diamond Model
แบบจาลอง Diamond Model (Porter, 1990 อ้างใน วลัยพร บวรกุลวัฒน์, 2554) เป็นเคร่ืองมือท่ี

ใช้ในการวิเคราะห์และอธิบายศักยภาพทางการแข่งขันของอุตสาหกรรมในระดับประเทศ โดยมีปัจจัยที่กาหนด
ความได้เปรียบเชิงแข่งขันของประเทศ 4 ปัจจัย คือ สภาพปัจจัยการผลิตในประเทศ อุปสงค์ในประเทศ
อุตสาหกรรมสนับสนุนและเกี่ยวเนื่องในประเทศ และกลยุทธ์โครงสร้าง และสภาพการแข่งขันในประเทศ
นอกจากปัจจัยหลักท้ัง 4 ปัจจัยข้างต้นท่ีมีบทบาทสาคัญต่อการกาหนดความได้เปรียบเชิงแข่งขันของประเทศ
แลว้ ยังมปี จั จัยประกอบอีก 2 ปัจจยั ทีอ่ าจเป็นท้ังปัจจัยที่มีส่วนสนับสนุนหรือเป็นปัจจัยท่ีเป็นอุปสรรคต่อความ

2428

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศลิ ปะ
ISSN 1906 - 3431 ปที ี่ 10 ฉบบั ท่ี 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2560

ได้เปรียบเชิงแข่งขันของประเทศ ซึ่งปัจจัยทั้ง 2 นี้ ได้แก่ รัฐบาล และเหตุสุดวิสัย ปัจจัยท้ัง 6 ปัจจัยน้ี มี
ความสัมพันธซ์ ึ่งกันและกันเรียกว่า แบบจาลอง Diamond Model แสดงในภาพท่ี 1

Chance Firm Strategy Structure
& Rivalry

Factor Condition Demand Condition

Related & Supporting Govemment
Industry

ภาพท่ี 1 แบบจาลอง Diamond Model

ที่มา: Porter, 1990

จากที่กลา่ วมาขา้ งตน้ สามารถวิเคราะห์แนวทางในการพัฒนาอุตสาหกรรมปลาสวยงามของประเทศ
ไทย โดยใช้แบบจาลอง Diamond Model มาเป็นกรอบความคิดในการกาหนดปัจจัยท่ีจะทาการศึกษา เพื่อให้
ทราบและเข้าใจถึงปัจจัยท่ีมีผลต่อความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมปลาสวยงามของประเทศไทย
รวมถึงปัญหาและแนวทางในการพัฒนาอุตสาหกรรมปลาสวยงาม เพ่ือเพ่ิมความสามารถในการแข่งขันกับ
ประเทศสิงคโปร์ และประเทศมาเลเซีย และเพ่ือให้อุตสาหกรรมปลาสวยงามของประเทศไทยเกิดการพัฒนาไป
ในทางท่ีเหมาะสม

แนวคดิ เกย่ี วกบั การวิเคราะหห์ ว่ งโซ่คณุ คา่
ยรรยง ศรีสม (2553) กล่าวว่า ห่วงโซ่คุณค่า หมายถึง “กิจกรรมท่ีมีความสัมพันธ์ และเช่ือมโยงกัน
เพื่อสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับปัจจัยการผลิต โดยเร่ิมต้ังแต่กระบวนการนาวัตถุดิบป้อนเข้าสู่กระบวนการผลิต
กระบวนการจัดจาหน่าย กระบวนการจัดส่งสินค้าสู่ผู้บริโภค และกระบวนการบริการหลังการขาย การสร้าง
คุณค่าให้กับสินค้าหรือบริการน้ัน อาจจะเป็นการกระทาโดยบริษัทเดียวหรือหลายบริษัท ด้วยการแบ่งขอบเขต
ของกิจกรรมแล้วส่งต่อคุณค่าในแต่ละช่วงต่อเน่ืองกันไป” หรือห่วงโซ่คุณค่า หมายถึง “การสร้างคุณค่าหรือ
ประโยชน์อ่ืน ๆ มาประกอบกันให้เป็นประโยชน์สุดท้ายที่ลูกค้าต้องการโดยมีขั้นตอนของกระบวนการสร้างคุณ
ค่าท่ีต่อเนื่องกันเป็นทอด ๆ เหมือนห่วงโซ่ของกิจกรรมที่มีความเก่ียวพันกันเพ่ือสร้างประโยชน์สุดท้ายใน
ผลติ ภณั ฑห์ รือบริการเพ่ือสง่ ต่อไปใหล้ ูกคา้ ไดใ้ ช้ประโยชน์”

2429

ฉบับภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะ Veridian E-Journal, Silpakorn University
ปีท่ี 10 ฉบบั ที่ 2 เดอื นพฤษภาคม – สิงหาคม 2560 ISSN 1906 - 3431

การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า เป็นการวิเคราะห์เพื่อพิจารณาถึงความสามารถของกิจการในการแข่งขัน
โดยศึกษากิจกรรมต่าง ๆ ท้ังกิจกรรมหลักและกิจกรรมสนับสนุนว่าสามารถช่วยให้ได้เปรียบด้านต้นทุนหรือ
ความสามารถในการสร้างความแตกต่างเมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่งขันได้หรือไม่ ซ่ึงจะใช้เป็นแนวทางในการ
กาหนดจดุ แข็งและจดุ ออ่ นของกจิ กรรมได้เปน็ อย่างดี (ยรรยง ศรีสม, 2553)

การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าเป็นการแสดงให้เห็นว่า อุตสาหกรรมปลาสวยงามของประเทศไทยนั้นมี
กิจกรรมหลกั และกิจกรรมสนับสนุนเปน็ อยา่ งไร และสามารถแข่งขนั กับประเทศสงิ คโปร์ และประเทศมาเลเซียได้
หรือไม่ อกี ท้งั สามารถนาไปใชใ้ นการวเิ คราะห์ SWOT Analysis ต่อไป

แนวคดิ เกยี่ วกบั SWOT Analysis
ชเู พญ็ วิบลุ สนั ติ (2551) กลา่ ววา่ การวเิ คราะห์สารวจสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กรเป็น
การวิเคราะห์สภาพองค์กร หรือหน่วยงานในปัจจุบัน เพ่ือหาจุดแข็ง จุดเด่น จุดด้อย หรือสิ่งที่อาจเป็นปัญหา
สาคัญในการดาเนินงานส่สู ภาพที่ต้องการในอนาคต
การวเิ คราะห์ SWOT เปน็ การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกองคก์ ร ซ่ึงปัจจยั
เหล่านี้จะช่วยให้เข้าใจได้ว่ามีอิทธิพลต่อผลการดาเนินงานขององค์กรอย่างไร โดยจุดแข็งขององค์กรจะเป็น
ความสามารถภายในที่ถูกใช้ประโยชน์เพ่ือการบรรลุเป้าหมาย ในขณะท่ีจุดอ่อนขององค์กรจะเป็นคุณลักษณะ
ภายในท่อี าจจะทาลายผลการดาเนินงาน โอกาสทางสภาพแวดล้อมจะเป็นสถานการณ์ท่ีให้โอกาสเพ่ือการบรรลุ
เปา้ หมายองคก์ ร ในทางกลับกนั อปุ สรรคทางสภาพแวดลอ้ มจะเปน็ สถานการณ์ทีข่ ัดขวางการบรรลุเป้าหมายของ
องค์กร ดังน้ันผลจากการวิเคราะห์ SWOT จะใช้เป็นแนวทางในการกาหนดทิศทางและวิธีการหรือกลยุทธ์ไปสู่
เป้าหมายอยา่ งมีประสิทธภิ าพ (วลยั พร บวรกลุ วัฒน์, 2554)
การวิเคราะห์ SWOT เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมปลาสวยงามของประเทศไทย คือ ทา
ให้ทราบว่าอตุ สาหกรรมปลาสวยงามของประเทศไทยมีศักยภาพมากน้อยเพียงใด โดยพิจารณาจากจุดแข็ง และ
จดุ อ่อน ซงึ่ จะแสดงให้เห็นว่าอุตสาหกรรมปลาสวยงามของประเทศไทย มีจุดแข็งใดบ้างท่ีควรคงไว้ และจุดอ่อน
ใดบา้ งทคี่ วรปรบั ปรุงให้ดีขนึ้ สว่ นปัจจัยภายนอกจะทราบได้จากการวิเคราะห์โอกาส และอุปสรรค ซึ่งเป็นปัจจัย
ภายนอกที่ควบคุมไมไ่ ด้ แตส่ ามารถวเิ คราะห์เพือ่ นาไปปรับปรุงอุตสาหกรรมปลาสวยงามของประเทศไทยได้

การดาเนนิ การวจิ ัย
กลุม่ ตวั อย่างท่ีใชใ้ นการวิจัย
การสมั ภาษณเ์ ชงิ ลึกมีผู้ให้ขอ้ มลู หลกั 19 คน คอื เจ้าหนา้ ที่หน่วยงานราชการ ได้แก่ ผอู้ านวยการกอง

พัฒนาเพาะเลี้ยงสัตว์น้า อัครราชทูตที่ปรึกษา (ฝ่ายพาณิชย์) สถานทูตไทย ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ผู้อานวยการ
สถาบันวจิ ัยสัตว์นา้ สวยงามและพรรณไม้น้า และนักวิชาการประมง และผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง คัดเลือกจากชมรมผู้
สง่ ออกปลาสวยงาม และผู้เพาะเลยี้ งปลาสวยงาม

2430

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ
ISSN 1906 - 3431 ปที ่ี 10 ฉบบั ท่ี 2 เดือนพฤษภาคม – สงิ หาคม 2560

เครื่องมือทีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั
เครื่องมอื ทใี่ ช้ในการวจิ ยั คร้งั นี้ ได้แก่ แบบสัมภาษณเ์ ชิงลึก ทมี่ ลี กั ษณะเปน็ ทางการ เปน็ การสมั ภาษณ์
ท่ีมีโครงสร้าง โดยมีประเดน็ คาถามในการสมั ภาษณ์เชิงลกึ และการสนทนากลุ่มเก่ียวกับแนวโน้มและทิศทางการ
แขง่ ขนั ในอตุ สาหกรรมปลาสวยงามในประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น
การวิเคราะห์ข้อมูล
การศึกษาวิจยั น้ี ผวู้ จิ ยั ใชก้ ารวเิ คราะห์เน้ือหา (Content Analysis) จากข้อมูลเอกสาร และวิเคราะห์
เชงิ ตรรกะ (Logical Analysis) ดงั นี้

1. ศึกษาสภาพท่ัวไปของธุรกิจปลาสวยงาม ศึกษาศักยภาพการผลิต การตลาดปลาสวยงามใน
ประเทศสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซีย และประเทศไทย โดยอาศัยข้อมูลทุติยภูมิที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ มา
ใช้ในการวิเคราะหเ์ ชงิ พรรณนา

2. ศึกษางานวจิ ัยในอดีตต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับปลาสวยงามทาให้ทราบเก่ียวกับโครงสร้างการผลิต
โครงสรา้ งการตลาด การกาหนดราคา การค้าระหว่างประเทศ พฤติกรรมของผู้บริโภค รวมถึงความเป็นไปได้ใน
การลงทนุ ในธรุ กจิ ปลาสวยงาม

3. วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค (SWOT Analysis) ช่วยเพ่ิมความแข่งขัน
ลดความเป็นจุดออ่ น แสดงโอกาส และอปุ สรรคจากภายนอกทสี่ มั พันธก์ บั จดุ แขง็ และจุดออ่ นภายในอุตสาหกรรม
ปลาสวยงามของประเทศสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซยี และประเทศไทย

4. วิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain Analysis) เพ่ือช่วยให้ทราบถึงการดาเนินกิจกรรม
ตา่ ง ๆ ภายในองคก์ รเพอ่ื นาไปสกู่ ารไดเ้ ปรียบทางการแข่งขนั วเิ คราะหค์ วามสามารถภายในของแต่ละองคก์ รเพอื่
ใช้พิจารณาว่ากจิ กรรมเป็นจดุ แข็งหรอื จดุ ออ่ น

5. วิเคราะห์แบบจาลอง Diamond Model เพื่อให้ทราบและเข้าใจถึงปัจจัยท่ีมีผลต่อ
ความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมปลาสวยงามของประเทศสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซีย และประเทศ
ไทย รวมถงึ ปญั หาและแนวทางในการพฒั นาอุตสาหกรรมปลาสวยงาม เพ่ือเพ่ิมความสามารถในการแข่งขัน และ
เพอื่ ใหอ้ ตุ สาหกรรมปลาสวยงามเกิดการพัฒนาไปในทางทเ่ี หมาะสม

ผลการวจิ ัย
การสมั ภาษณ์เชิงลึก
ในการวจิ ัยครัง้ นี้ใช้วิธีการวจิ ัยเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อนาข้อมูลมาวิเคราะห์ จุดแข็ง

จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ของอตุ สาหกรรมปลาสวยงามของประเทศสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซีย และประเทศ
ไทย ผู้วิจยั สามารถสรุปผลการสัมภาษณ์ ไดด้ งั น้ี

จากการสัมภาษณ์เชิงลึก Mr. Raymond yip chee wang (บริษัท เฉียนหวู่ สิงคโปร์) กล่าวว่า
“ประเทศสงิ คโปร์เป็นผรู้ บั ซื้อปลาสวยงามจากประเทศไทย และมาเลเซยี แล้วนาสง่ ตอ่ ไปยงั ประเทศต่าง ๆ ทาให้
มีตน้ ทนุ การเลย้ี งปลาสวยงามต่า แต่ทวา่ ประเทศสิงคโปร์มีลกั ษณะเป็นเกาะ ทาให้ที่ดินมีราคาสูง และไม่มีน้าจืด
เพียงพอ จงึ ขาดศักยภาพในการเลี้ยงปลาสวยงามเอง”

2431

ฉบบั ภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะ Veridian E-Journal, Silpakorn University
ปที ี่ 10 ฉบบั ที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2560 ISSN 1906 - 3431

จากการสัมภาษณ์เชิงลึก Dr. Mazuki Bin Hashim (ผู้อานวยการกองพัฒนาเพาะเล้ียงสัตว์น้า
กรมประมง ประเทศมาเลเซีย) กล่าวว่า “ภาครัฐมีนโยบายส่งเสริมให้ผู้ประกอบการทาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า
สวยงาม และมีระบบการส่งออกแบบ One Stop Service แต่ประเทศมาเลเซียยังขาดความหลากหลายในการ
เพาะเล้ียงปลาสวยงาม อีกท้ังกฎหมายและมาตรการการควบคุมการส่งออก และการนาเข้าของประเทศคู่ค้ามี
ความเข้มงวด ส่งผลให้ประเทศมาเลเซยี ทาการส่งออกปลาสวยงามได้ยาก”

จากการสัมภาษณเ์ ชงิ ลึก คณุ อรุณี รอดลอย (หัวหน้ากลุ่มงานวิจัยสัตว์น้าสวยงาม) กล่าวว่า “ภาครัฐ
ให้การสนับสนุนเกษตรกรในเรื่องของการอบรมให้ความรู้ในด้านการเพาะเล้ียงปลาสวยงาม จัดทาเอกสารเพื่อ
การส่งออก การจัดเตรียมปลา ให้เป็นไปตามหลักวิชาการเพื่อการส่งออก คุณภาพของปลาสวยงามมีความ
ได้เปรยี บกว่าประเทศอืน่ ๆ”

การวเิ คราะห์ SWOT Analysis
จากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลหลักประเทศสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซีย และประเทศไทย ผู้วิจัย
สามารถนาข้อมูลจากการสัมภาษณ์มาทาการวิเคราะห์ SWOT Analysis ซึ่งเป็นการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
ภายในและภายนอกอุตสาหกรรมปลาสวยงาม เพื่อวิเคราะห์หาจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ในการ
พัฒนาอุตสาหกรรมปลาสวยงามเพ่ือการสง่ ออกของประเทศสงิ คโปร์ ประเทศมาเลเซีย และประเทศไทย ผลการ
วิเคราะหแ์ สดงดังตารางท่ี 1-4

ตารางท่ี 1 การวิเคราะห์จุดแข็งของอุตสาหกรรมปลาสวยงามของประเทศสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซีย และ

ประเทศไทย

ประเทศสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซยี ประเทศไทย
S1 ภาครัฐใหก้ ารสนับสนนุ S1 เปน็ ผูส้ ง่ ออกปลาสวยงามเปน็ S1 มคี วามหลากหลายของพนั ธ์ุ
พัฒนาอตุ สาหกรรมปลาสวยงาม อันดบั สองของอาเซียน
ของประเทศ ปลาสวยงาม ภูมิประเทศและ
S2 มีการวจิ ยั และพฒั นาปลา ภมู ิอากาศ เอ้อื ต่อกระบวนการ
S2 มคี วามพร้อมของระบบ สวยงามทมี่ ีประสิทธภิ าพและ
ผลติ ปลาสวยงาม

สาธารณปู โภคและระบบ มีความต่อเน่อื งสงู S2 ผู้เพาะเล้ยี งปลาสวยงามมี

โลจสิ ตกิ ส์ ส่งผลให้การ S3 มกี ารใช้เทคโนโลยใี นการผลติ ความเชี่ยวชาญในการพฒั นา

ดาเนินการดา้ นการขนส่งมตี น้ ทนุ ทาให้สามารถควบคุมกระบวนการ สายพนั ธุใ์ หมท่ สี่ ามารถ

ต่า ผลิตให้มีคณุ ภาพสงู ตอบสนองความต้องการของ

S3 กระบวนการขัน้ ตอนในการ S4 ได้รบั การสง่ เสริมสนบั สนนุ จาก ตลาดได้อย่างต่อเนื่อง

ดาเนนิ การดา้ นพธิ ีการศุลกากร หนว่ ยงานภาครฐั ที่ชดั เจนมี S3 ต้นทุนในการผลติ ตา่ ทงั้ ใน

และการตรวจโรคเพือ่ การส่งออก แนวทางปฏบิ ัติกระบวนสนบั สนนุ ด้านทด่ี นิ แรงงาน

ของหนว่ ยงานภาครัฐมกี าร ภาคธุรกิจท่ีมขี น้ั ตอนสน้ั และ S4 มกี ารเพาะเลย้ี งปลาสวยงาม
ทางานแบบ One Stop Service สะดวกรวดเร็ว เป็นจานวนมาก และฟาร์มท่ีทา

S4 ฟารม์ และบรษิ ทั ผสู้ ง่ ออกมี S5 มรี ะบบสาธารณูปโภคและ การเพาะเลีย้ งได้รบั การรับรอง

การควบคุมการผลิตทม่ี ี ระบบคมนาคมขนสง่ ทสี่ ามารถ มาตรฐานฟารม์ เพือ่ การส่งออกที่

2432

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศลิ ปะ
ISSN 1906 - 3431 ปีท่ี 10 ฉบบั ที่ 2 เดอื นพฤษภาคม – สงิ หาคม 2560

ตารางท่ี 1 การวิเคราะห์จุดแข็งของอุตสาหกรรมปลาสวยงามของประเทศสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซีย และ

ประเทศไทย (ต่อ)

ประเทศสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซีย ประเทศไทย
S5 โครงสร้างภาษีนาเข้าตา่
ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ อุตสาหกรรม ต่างประเทศให้การยอมรบั

ทาใหต้ น้ ทนุ ในการบรหิ ารจัดการ ปลาสวยงามทาใหม้ ตี น้ ทนุ ในการ มศี ักยภาพในการส่งออก

ตา่ ดาเนนิ การตา่ S5 ผสู้ ง่ ออกมศี กั ยภาพในการ

S6 มรี ูปแบบการติดตอ่ ซื้อขาย S6 ผผู้ ลติ มกี ารพฒั นาสายพนั ธุ์ ส่งออกสูง มคี วามหลากหลายของ

แบบ E-Commerce ทม่ี ี ปลาสวยงามท่สี ามารถตอบสนอง ผลติ ภณั ฑป์ ลาสวยงาม

ประสทิ ธภิ าพและสะดวก ความต้องการของตลาดไดอ้ ยา่ ง มคี วามเชย่ี วชาญในการจาหนา่ ย

รวดเร็ว เข้าถงึ ได้ง่าย ตน้ ทนุ ตา่ ตอ่ เน่ืองและเหมาะสม และหลากหลายช่องทาง

S7 มคี วามเข้มแข็งของหน่วยงาน S7 ลกั ษณะของภูมิประเทศและ S6 หนว่ ยงานภาครัฐสง่ เสรมิ

ภาคเอกชน โดยมีการกอ่ ตงั้ ภมู ิอากาศมีความเหมาะสมในการ อตุ สาหกรรมปลาสวยงาม

สมาคม Singapore Aquarium เพาะเล้ยี งใหก้ ารผลติ ปลาสวยงาม S7 ปลาสวยงามของประเทศไทย

Fish Exporter Association มคี ณุ ภาพสงู มเี อกลักษณ์เฉพาะ และปลามี

(SAFEA) ชว่ ยใหค้ วามรู้เกย่ี วกบั คุณภาพสูง

อุตสาหกรรมปลาสวยงาม

ตารางท่ี 2 การวิเคราะห์จุดอ่อนของอุตสาหกรรมปลาสวยงามของประเทศสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซีย และ
ประเทศไทย

ประเทศสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซยี ประเทศไทย
W1 ขาดแคลน
ทรัพยากรธรรมชาติตอ้ งพงึ พงิ W1 ขาดความหลากหลายในการ W1 กระบวนการขั้นตอนวิธกี าร
การนาเขา้ ปลาสวยงามจาก
ต่างประเทศเปน็ หลัก เลย้ี งปลาเน่อื งจากประเทศ พิธกี ารศุลกากร และการขอ

W2 ตน้ ทนุ การผลติ สงู เชน่ คา่ มาเลเซยี มกี ารเพาะเลีย้ งปลาบาง ใบรบั รองจากหน่วยงานภาครฐั
ท่ดี นิ สูง คา่ แรงงานสงู พ้ืนที่ใน
การเพาะเล้ียงมจี ากัด ชนดิ ท่เี ลีย้ งเพือ่ การส่งออก เพื่อการส่งออก มีขน้ั ตอนทีย่ ุ่งยาก

W3 การวจิ ยั พัฒนาสายพนั ธ์ W2 การเพาะเลีย้ งในประเทศ ซบั ซ้อนและใช้ระยะเวลาหลายวนั
เกย่ี วกับปลาสวยงามคอ่ นขา้ ง
นอ้ ย มาเลเซียจะถูกจดั โซนนงิ่ ในการ W2 ระบบการขนส่งและ

เล้ยี งในจังหวัดทไ่ี กล ทาให้อตั รา โลจสิ ตกิ สข์ องประเทศยังไม่มี

คา่ ขนสง่ มายงั สนามบนิ ค่อนขา้ งสูง ประสทิ ธภิ าพ

และมีอตั ราคา่ แรงงานทใี่ น W3 ตอ้ งพงึ่ พิงการสง่ ออกโดย

ฟารม์ มอี ตั ราค่าแรงงานค่อนขา้ งสงู ผา่ นประเทศสงิ คโปร์

W3 เน่ืองจากประเทศมาเลเซียจะ W4 ทกั ษะในการสอ่ื สารด้าน

ทาการผลติ ปลาท่มี รี ะยะเวลาการ ภาษาอังกฤษขาดประสิทธิภาพ

เพาะเลี้ยงนานและกระบวนการใน

2433

ฉบับภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ Veridian E-Journal, Silpakorn University
ปที ่ี 10 ฉบบั ที่ 2 เดอื นพฤษภาคม – สิงหาคม 2560 ISSN 1906 - 3431

ตารางที่ 2 การวิเคราะห์จุดอ่อนของอุตสาหกรรมปลาสวยงามของประเทศสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซีย และ
ประเทศไทย (ต่อ)

ประเทศสงิ คโปร์ ประเทศมาเลเซีย ประเทศไทย
การเพาะเลี้ยงมตี น้ ทนุ ในการผลติ
สงู

W4 ฟารม์ ปลาสวยงามในประเทศ
มาเลเซยี ยงั ไมไ่ ด้มาตรฐานการ
เพาะเล้ยี งของประมงสากลเพ่ือ
การสง่ ออก

ตารางที่ 3 การวิเคราะห์โอกาสของอุตสาหกรรมปลาสวยงามของประเทศสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซีย และ
ประเทศไทย

ประเทศสงิ คโปร์ ประเทศมาเลเซีย ประเทศไทย
O1 การขยายตวั ของตลาดปลา
สวยงามมมี ลู คา่ เพิ่มขึ้นทุกปี O1 การขยายตวั ของตลาดปลา O1 การขยายตัวของตลาดปลา
เน่ืองจากไดร้ ับความนิยมจาก
ผบู้ รโิ ภคเป็นสตั ว์เลยี้ งภายใน สวยงามมีมลู คา่ เพ่ิมขน้ึ ทกุ ปี สวยงามมมี ลู คา่ เพมิ่ ขน้ึ ทุกปี
บา้ น เพอ่ื ความพักผอ่ นหยอ่ นใจ
O2 ตลาดปลาสวยงามมกี าร เน่ืองจากได้รบั ความนยิ มจาก เน่อื งจากไดร้ บั ความนยิ มจาก
แขง่ ขันท่ีไม่รุนแรง เนอ่ื งจาก
ผู้ผลิตทีม่ ีศกั ยภาพในการผลติ ผูบ้ ริโภคเปน็ สัตว์เลย้ี งภายในบา้ น ผูบ้ รโิ ภคเป็นสตั ว์เลย้ี งภายในบา้ น
ปลาที่มีคุณภาพสงู มนี อ้ ยราย
O3 ผู้บริโภคให้การยอมรับและ เพื่อความพักผ่อนหย่อนใจ เพ่ือความพกั ผ่อนหยอ่ นใจ
เชื่อถือในคุณภาพปลาสวยงาม
จากประเทศสิงคโปร์ O2 ตลาดปลาสวยงามมีการ O2 ตลาดปลาสวยงามมีการ
O4 การเปิดการค้าเสรอี าเซยี น
ส่งเสริมให้ผ้ปู ระกอบการธุรกิจ แข่งขันท่ไี ม่รนุ แรง เน่อื งจาก แขง่ ขนั ทไี่ ม่รนุ แรง เนอ่ื งจาก
ปลาสวยงามสามารถย้ายฐาน
การผลิตไปยังประเทศอื่นในกลมุ่ ผู้ผลิตทม่ี ศี กั ยภาพในการผลิตปลา ผผู้ ลิตทีม่ ศี กั ยภาพในการผลิตปลา
อาเซียนท่ีมศี กั ยภาพในการผลติ
และตน้ ทนุ การผลิตทต่ี า่ กวา่ ได้ ทมี่ คี ณุ ภาพสูงมนี อ้ ยราย ท่ีมีคณุ ภาพสูงมนี อ้ ยราย
อยา่ งอสิ ระ
O3 ผบู้ ริโภคให้การยอมรบั และ O3 ผบู้ รโิ ภคใหก้ ารยอมรับและ

เช่ือถือในคุณภาพปลาสวยงามจาก เชื่อถอื ในคุณภาพปลาสวยงาม

ประเทศมาเลเซีย จากประเทศไทย

O4 การเปิดการค้าเสรีอาเซียน

สง่ เสรมิ ใหผ้ ้ปู ระกอบการธุรกิจปลา

สวยงามสามารถย้ายฐานการผลิต

ไปยังประเทศอื่นในกลุ่มอาเซียนท่ี

มีศักยภาพในการผลิตและต้นทุน

การผลติ ทต่ี ่ากวา่ ได้อยา่ งอสิ ระ

2434

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศลิ ปะ
ISSN 1906 - 3431 ปที ี่ 10 ฉบบั ที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2560

ตารางที่ 4 การวิเคราะห์อุปสรรคของอุตสาหกรรมปลาสวยงามของประเทศสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซีย และ
ประเทศไทย

ประเทศสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซยี ประเทศไทย

T1 กฎหมายและ มาตรการการ T1 กฎหมายและ มาตรการการ T1 กฎหมายและ มาตรการการ

ควบคมุ การสง่ ออก และการ ควบคุมการส่งออก และการนาเข้า ควบคุมการสง่ ออก และการ

นาเขา้ ของประเทศคูค่ ้า ของประเทศคคู่ า้ มคี วามเข้มงวด นาเข้าของประเทศคู่คา้ มคี วาม

มีความเข้มงวด T2 กลมุ่ ผ้เู พาะเลยี้ งปลาสวยงาม เขม้ งวด

T2 ประเทศค่คู ้ามีการพฒั นาการ ในประเทศมาเลเซียยังตอ้ งพงึ่ พงิ T2 สภาพเศรษฐกิจโลกและ

สง่ ออกเองโดยไมส่ ่งผา่ นประเทศ การสง่ ออกไปยังประเทศสงิ คโปร์ ประเทศคคู่ า้ ประสบปญั หา

สงิ คโปร์ T3 ประเทศค่แู ขง่ ขนั สามารถ ทางเศรษฐกจิ ตกต่า

T3 สภาพเศรษฐกจิ โลกและ พฒั นาสายพันธป์ุ ลาสวยงาม T3 สภาพภูมอิ ากาศในปจั จบุ นั

ประเทศคู่คา้ ประสบปัญหาทาง ประเภทเดียวกันกับทปี่ ระเทศ สง่ ผลตอ่ การเพาะเล้ยี งปลา

เศรษฐกจิ ตกตา่ มาเลเซียสง่ ออกได้อย่างมคี ุณภาพ สวยงาม

T4 สภาพภูมอิ ากาศในปัจจบุ นั เทียบเท่ากบั ของประเทศมาเลเซยี T4 ประเทศคแู่ ข่งขนั สามารถ

ส่งผลตอ่ การเพาะเลี้ยง T4 สภาพเศรษฐกจิ โลกและ พัฒนาสายพนั ธปุ์ ลาสวยงาม

ปลาสวยงาม ประเทศคคู่ า้ ประสบปญั หาทาง ประเภทเดยี วกันกับทปี่ ระเทศ

เศรษฐกิจตกต่า มาเลเซยี ส่งออกไดอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพ

T5 สภาพภมู ิอากาศในปัจจบุ นั เทียบเท่ากบั ของประเทศไทย

สง่ ผลต่อการเพาะเลย้ี งปลา T5 การเปิดการค้าเสรีอาเซยี น

สวยงาม ส่งเสรมิ ให้ผู้ประกอบการธรุ กิจ

ปลาสวยงามสามารถย้ายฐานการ

ผลติ ไปยังประเทศไทยมากยิง่ ขนึ้

การวิเคราะหห์ ว่ งโซค่ ณุ ค่า
การวิเคราะห์ห่วงโซ่แห่งคุณค่า เป็นการวิเคราะห์เพื่อพิจารณาถึงความสามารถในการแข่งขันของ

อตุ สาหกรรมปลาสวยงามของประเทศสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซีย และประเทศไทย โดยศึกษากิจกรรมต่าง ๆ ท้ัง
กิจกรรมหลักและกิจกรรมสนับสนุนว่าสามารถช่วยให้ได้เปรียบด้านต้นทุนหรือความสามารถในการสร้างความ
แตกต่างเมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่งขันได้หรือไม่ ซึ่งจะใช้เป็นแนวทางในการกาหนดจุดแข็งและจุดอ่อนของ
กจิ กรรมได้เป็นอย่างดี โดยผลการศกึ ษาแสดงดงั ตอ่ ไปนี้

2435

ฉบบั ภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ Veridian E-Journal, Silpakorn University
ปีท่ี 10 ฉบบั ท่ี 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2560 ISSN 1906 - 3431

การวเิ คราะหก์ ารจดั การหว่ งโซค่ ุณคา่ ของอุตสาหกรรมปลาสวยงามของประเทศสิงคโปร์
จากการศึกษาพบว่า ผู้ท่ีมีส่วนได้ส่วนเสียในอุตสาหกรรมปลาสวยงามของประเทศสิงคโปร์

ประกอบดว้ ย ผนู้ าเข้า ผูส้ ง่ ออก และผู้บรโิ ภคในตา่ งประเทศ ดงั ภาพที่ 2

ผูน้ าเข้าและผสู้ ง่ ออก ผบู้ ริโภคในตา่ งประเทศ

ภาพท่ี 2 โซอ่ ุปทานอตุ สาหกรรมปลาสวยงามของประเทศสิงคโปร์
ทีม่ า: สมพล สุขเจรญิ พงษ์ และคณะ, 2558

การวิเคราะห์การจัดการโซ่คุณค่าในอุตสาหกรรมปลาสวยงามของประเทศสิงคโปร์ ตามแนวคิดโซ่
คณุ ค่าพบวา่ กจิ กรรมหลัก และกจิ กรรมสนับสนุน มีรายละเอยี ด ดงั นี้

กจิ กรรมหลัก ได้แก่
1. ระบบโลจิสติกส์ภายใน เป็นกระบวนการนาเข้าปลาสวยงามจากต่างประเทศ โดยการส่ังซ้ือ

เคล่อื นยา้ ยและจดั สง่ ปลาสวยงามจากแหลง่ ผลิตในตา่ งประเทศ
2. กระบวนการผลิต ประเทศสิงคโปร์ไม่ทาการผลิตหรือเพาะเลี้ยงปลาสวยงามเพ่ือการค้า

เนื่องจากปจั จัยการผลติ ไม่เหมาะสม และมตี น้ ทุนในการดาเนินการท่ีสงู มาก
3. ระบบโลจิสติกสภ์ ายนอก ผ้สู ่งออกทาการรวบรวม สต็อก คัดเกรด และเปล่ียนบรรจุภัณฑ์ปลา

สวยงาม จากนั้นจัดการกระจายและจดั สง่ ไปยังตลาดตา่ งประเทศ
4. การตลาดและการขาย กระบวนการทางการตลาดและการขายให้กับลูกค้าต่างประเทศ

ผู้ส่งออกจะดาเนินการนาเข้าปลาสวยงามจากต่างประเทศ และทาการสตออก พักไว้ 1-2 อาทิตย์ จากนั้นทาการ
คัดเกรด บรรจุหีบห่อและขนส่งปลาสวยงาม เพ่ือกระจายสินค้าให้กับผู้บริโภคในต่างประเทศ บริษัทผู้ส่งออก
ใหบ้ ริการด้านการขนส่งและกระบวนการส่งออกระหวา่ งประเทศ ดาเนินการตามข้ันตอน กฏระเบียบการส่งออก
พิธีการทางด้านภาษแี ละศุลกากร การขออนุญาตส่งออกสัตว์น้า ซงึ่ กระบวนการขั้นตอนในการส่งออกทงั้ หมดเป็น
แบบ One Stop Service โดยใชร้ ะบบการดาเนนิ การผา่ นทางอินเทอร์เนต็

กิจกรรมสนบั สนุน ไดแ้ ก่
1. การจดั ซ้อื ผู้สง่ ออกจะทาการสั่งซ้ือและนาเข้าปลาสวยงามจากต่างประเทศ เช่น ประเทศไทย

ประเทศมาเลเซีย ประเทศอินโดนีเซีย โดยทาการติดต่อไปยังผู้ส่งออกในประเทศผู้ผลิตปลาสวยงามหรือติดต่อ
โดยตรงไปยงั เกษตรกรผเู้ พาะเลี้ยงปลาสวยงามรายใหญ่

2. การพัฒนาเทคโนโลยี โดยนาเทคโนโลยีมาช่วยในกระบวนการบริหารจัดการด้านการขนส่ง
และโลจสิ ตกิ ส์ ทาใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพในการดาเนนิ การและอานวยความสะดวกในด้านการติดต่อสอื่ ทางการค้า

2436

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศลิ ปะ
ISSN 1906 - 3431 ปที ่ี 10 ฉบบั ท่ี 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2560

3. การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ทรัพยากรมนุษย์ของประเทศสิงคโปร์มีความรู้ความสามารถสูง
มคี วามเช่ยี วชาญในดา้ นการทาการคา้ แต่ขาดผมู้ คี วามรคู้ วามเชี่ยวชาญในการผลิต

4. โครงสร้างพ้ืนฐาน โครงสร้างพื้นฐานภายในประเทศ เช่น ระบบไฟฟ้า ประปา ระบบ
อนิ เตอร์เน็ต และระบบโลจสิ ตกิ ส์ มีประสทิ ธภิ าพสูง ทาให้มีต้นทนุ ในการดาเนินการตา่

การวเิ คราะห์การจัดการโซค่ ณุ คา่ ของอตุ สาหกรรมปลาสวยงามของประเทศมาเลเซีย
จากการศึกษาพบว่า ผู้ท่ีมีส่วนได้ส่วนเสียในอุตสาหกรรมปลาสวยงามของประเทศมาเลเซีย
ประกอบด้วย ผู้ขายปัจจัยการผลิต เกษตรกรผู้เพาะเล้ียง (ฟาร์ม)/ผู้ส่งออก และผู้บริโภคในต่างประเทศ
ดงั ภาพท่ี 3

ผูข้ ายปจั จัยการผลิต เกษตรกรผเู้ พาะเล้ยี ง ผ้บู ริโภคในต่างประเทศ
(ฟารม์ )/ผูส้ ง่ ออก

ภาพท่ี 3 โซ่อุปทานอุตสาหกรรมปลาสวยงามของประเทศมาเลเซีย
ท่ีมา: สมพล สขุ เจรญิ พงษ์ และคณะ, 2558

การวิเคราะห์การจัดการโซ่คุณค่าในอุตสาหกรรมปลาสวยงามของประเทศมาเลเซีย ตามแนวคิดโซ่
คุณค่าพบว่า กจิ กรรมหลกั และกิจกรรมสนบั สนุน มรี ายละเอยี ด ดังน้ี

กจิ กรรมหลัก ไดแ้ ก่
1. ระบบโลจิสตกิ สภ์ ายใน เป็นการจดั การโลจิสตกิ ส์ขาเขา้ มีกระบวนการบริหารจัดการการผลิตใน

ฟารม์ โดยการนาเขา้ วตั ถดุ ิบการผลติ เชน่ อาหารปลา ยา และลูกปลาสวยงาม เป็นตน้ และนาเข้าปัจจัยการผลิต
เช่น ป๊ัมน้า ถังพลาสติก ตู้แก้ว เป็นต้น บรรจุภัณฑ์ เช่น ถุงพลาสติก กระดาษหนังสือพิมพ์ กล่องโฟม
กล่องกระดาษ เปน็ ต้น โดยฟาร์มในประเทศมาเลเซียจะทาการสั่งซื้อ จัดหา จากผู้ขายปัจจัยการผลิตขนาดใหญ่
โดยตรง

2. กระบวนการผลติ ฟาร์มเพาะเลีย้ งเป็นฟาร์มขนาดใหญ่ มีการพัฒนากระบวนการเพาะเลี้ยงได้
ตามมาตรฐานการปฏบิ ตั ิทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practice : GAP) ต้ังแต่กระบวนการเพาะเล้ียง
ตั้งแต่ การอนบุ าล การเพาะเลี้ยง การคดั เกรด การบรรจหุ ีบหอ่ การจดั จาหนา่ ย สง่ ผลให้เกิดประสิทธิภาพในการ
ผลิต ปลาที่นิยมเพาะเล้ียงมากท่ีสุด คือ ปลาอโรวาน่า และปลาหมอสี มีการนาเทคโนโลยีมาใช้ในกระบวนการ
ผลิต และการฝังไมโครชิฟในตัวปลาเพื่อใช้ในการตรวจสอบย้อนกลับแหล่งเพาะเลี้ยงปลาสวยงามได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

3. ระบบโลจสิ ติกส์ภายนอก เป็นกระบวนการขนส่ง/โลจิสติกส์ขาออกผู้เพาะเลี้ยง (ฟาร์ม) เป็นผู้
สง่ ออกเอง โดยดาเนนิ การด้านการขนส่งสินค้า และการตดิ ตอ่ สอ่ื สารในการกระจายสนิ คา้

2437

ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ Veridian E-Journal, Silpakorn University
ปที ี่ 10 ฉบบั ที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สงิ หาคม 2560 ISSN 1906 - 3431

4. การตลาดและการขาย ผู้เพาะเลี้ยง (ฟาร์ม) หรือผู้ส่งออกเป็นผู้จัดจาหน่ายและกระจายสินค้า
ไปยังผู้บริโภคในต่างประเทศ ทาการขนส่งทางอากาศไปยังต่างประเทศ โดยผู้เพาะเลี้ยง (ฟาร์ม) หรือผู้ส่งออก
ดาเนินการตามขั้นตอนกระบวนการกฎระเบียบการส่งออก พิธีการทางด้านภาษี และศุลกากร การขออนุญาต
สง่ ออกสัตว์น้า เมื่อสินค้าถึงยังต่างประเทศจะมีบริษัทนาเข้าในต่างประเทศทาการติดต่อส่ือสารกับลูกค้าเพื่อจัด
จาหนา่ ยแกล่ กู ค้าตอ่ ไป

กจิ กรรมสนับสนนุ ได้แก่
1. การจดั ซื้อ ผู้เพาะเลีย้ ง (ฟาร์ม) หรือผูส้ ่งออก จัดซือ้ ปจั จยั การผลติ และวตั ถุดบิ ในการเพาะเลีย้ ง

ปลาสวยงามจากผู้ขายปัจจัยการผลิตรายใหญ่ มีอานาจในการต่อรองราคาการซ้ือปัจจัยการผลิต
2. การพัฒนาเทคโนโลยี มีการนาไมโครชิฟมาฝังไว้ที่ตัวปลา เช่น ปลาอโรวาน่า และปลาหมอสี

เน่ืองจากปลาเหล่าน้ีเป็นปลาที่มีราคาสูงทาให้ง่ายต่อการตรวจสอบย้อนกลับแหล่งเพาะเล้ียง และมีการนา
เทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการระบบการเพาะเลี้ยงปลาสวยงามในฟาร์มอีกท้ังระบบการขนส่งและ
โลจสิ ติกสม์ ีประสทิ ธภิ าพ

3. การบริหารทรัพยากรมนุษย์ เกษตรกรผู้เพาะล้ียงและผู้ส่งออกมีความรู้ความสามารถ
เชย่ี วชาญในการเพาะเลี้ยงสงู ผ้สู ง่ ออกมคี วามสามารถในการคา้ สงู

4. โครงสร้างพื้นฐาน โครงสร้างพืน้ ฐานภายในประเทศดา้ นกระบวนการผลติ มีความเหมาะสมและ
ส่งเสริมกระบวนการผลิต เช่น ระบบไฟฟ้า ประปา ระบบอินเทอร์เน็ต ระบบการเชื่อมโยงคมนาคม การขนส่ง
ระหว่างประเทศ การบริหารจัดการมปี ระสทิ ธภิ าพ

การวิเคราะห์การจัดการโซ่คณุ ค่าของอตุ สาหกรรมปลาสวยงามของประเทศไทย
จากการศึกษาพบวา่ ผู้ที่มีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ในอตุ สาหกรรมปลาสวยงามของประเทศไทย ประกอบด้วย
ผขู้ ายปัจจยั การผลติ เกษตรกรผ้เู พาะเลี้ยง (ฟารม์ ) ผู้รวบรวม ผสู้ ง่ ออก และผบู้ รโิ ภคในตา่ งประเทศ ดังภาพท่ี 4

ผ้ขู าย เกษตรกร ผ้รู วบรวม ผู้สง่ ออก ผ้บู รโิ ภคใน
ปจั จยั การ ผู้ ตา่ งประเท

ผลติ เพาะเล้ยี ง ศ
(ฟารม์ )

ภาพที่ 4 โซอ่ ุปทานอุตสาหกรรมปลาสวยงามของประเทศไทย
ทมี่ า: สมพล สุขเจริญพงษ์ และคณะ, 2558

2438

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศลิ ปะ
ISSN 1906 - 3431 ปที ี่ 10 ฉบบั ท่ี 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2560

การวิเคราะห์การจัดการโซ่คุณค่าในอุตสาหกรรมปลาสวยงามของประเทศมาไทย ตามแนวคิดโซ่
คุณค่าพบวา่ กิจกรรมหลกั และกิจกรรมสนบั สนุน มรี ายละเอียด ดังน้ี

กจิ กรรมหลกั ไดแ้ ก่
1. ระบบโลจิสติกส์ภายในอุตสาหกรรมปลาสวยงามของไทยมีจุดแข็งที่การจัดซ้ือวัตถุดิบท่ีมี

คุณภาพดีและตน้ ทุนต่า เชน่ อาหารปลา ยา ลูกปลา เป็นต้น จดุ อ่อน คอื การขาดอานาจต่อรองในการซ้ือปัจจัย
ในการผลิต เช่น ขวดแก้ว บ่อซีเมนต์ ปั๊มน้า ถังพลาสติก เป็นต้น บรรจุภัณฑ์ เช่น ถุงพลาสติก กระดาษ
หนังสอื พิมพ์ กล่องโฟม ตะกรา้ พลาสติก เป็นต้น เนื่องจากผู้เพาะเล้ียง (ฟาร์ม) เป็นรายย่อยต่างคนต่างซื้อทาให้
ตอ้ งซือ้ ปจั จัยการผลติ ในราคาแพง

2. กระบวนการผลิต ผู้เพาะเลี้ยง (ฟาร์ม) พัฒนากระบวนการเพาะเลี้ยงได้มาตรฐานการปฏิบัติ
ทางการเกษตรทดี่ ี (Good Agricultural Practice : GAP) ตัง้ แต่กระบวนการอนบุ าล การเพาะเลยี้ ง การคดั เกรด
การบรรจุหีบห่อ การจัดจาหน่าย ส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพในการผลิต ต้นทุนในการผลิตต่าเนื่องจากมีความ
พร้อมด้านกายภาพท่ีมีความเหมาะสมกับการผลิต และเกษตรกรมีความรู้ความเชี่ยวชาญในการเพาะเลี้ยง
มีการพฒั นาปรบั ปรุงสายพนั ธุ์อย่างต่อเนือ่ งเพ่ือตอบสนองความต้องการผบู้ ริโภคได้อยา่ งเหมาะสม

3. ระบบโลจิสติกส์ภายนอก มีความเกี่ยวข้องกับผู้รวบรวม และผู้ส่งออก ซึ่งมีกิจกรรมด้านการ
ขนส่งสินค้าจากผู้ผลิตไปยังผู้ส่งออก โดยใช้ 3 วิธี คือ 1) ผู้ผลิตรายใหญ่และเป็นผู้รวบรวมในขณะเดียวกัน
ทาการส่งตรงไปยังผู้ส่งออก 2) ผู้รวบรวมทาการรวบรวมปลาจากผู้ผลิตหลายราย (รายย่อย) ส่งให้กับผู้ส่งออก
3) ผู้ส่งออกมารับสินค้าจากผู้ผลิตรายใหญ่เอง จุดแข็งของการจัดระบบโลจิสติกส์ของเกษตรกร คือ ไม่ต้องเสีย
ค่าใชจ้ า่ ยด้านการขนสง่ ขาออก

4. การตลาดและการขาย ผู้ส่งออกเป็นผู้จัดจาหน่ายและกระจายสินค้าไปยังผู้บริโภคใน
ต่างประเทศ กิจกรรมท่ีเก่ียวข้อง คือ รับปลาสวยงามจากเกษตรกรหรือผู้รวบรวม ทาการสตออกไว้เพ่ือรอการ
ขนสง่ ทาการคดั เกรด และทาการบรรจุหีบห่อเพื่อการขนส่ง ทาการขนส่งทางอากาศไปยังต่างประเทศ บริษัทผู้
ส่งออกหรือบริษัทให้บริการด้านการขนส่งและกระบวนการส่งออกระหว่างประเทศ จะดาเนินการตามข้ันตอน
กฏระเบียบการส่งออก พิธีการทางด้านภาษีและศุลกากร การขออนุญาตส่งออกสัตว์น้า เมื่อสินค้าถึงยัง
ต่างประเทศจะมีบรษิ ัทนาเขา้ ในต่างประเทศทาการติดตอ่ สื่อสารกบั ลูกค้าเพือ่ จดั จาหน่ายแก่ลูกค้าตอ่ ไป

กจิ กรรมสนบั สนุน ไดแ้ ก่
1. การจดั ซือ้ กระบวนการในการจดั ซื้อของผู้เพาะเล้ยี ง (ฟาร์ม) จะมกี ารจดั ซอื้ ปัจจัยการผลิตและ

วัตถุดิบในการเพาะเลี้ยงปลาสวยงามแบบซอื้ รายย่อยจากร้านคา้ สง่ หรือตลาดกลางท่ีขายปัจจยั การผลติ อานาจใน
การตอ่ รองราคาตา่ ในขณะท่ีการจัดซือ้ ของผู้รวบรวมและผสู้ ง่ ออกเป็นการซื้อแบบความสัมพันธ์ส่วนตัว ไม่มีการ
ทาสัญญาซ้ือขายลว่ งหน้า เปน็ การซือ้ ขายจากเกษตรกรรายยอ่ ยเปน็ หลัก

2. การพัฒนาเทคโนโลยี ระดับเทคโนโลยีท่ีใช้ในการผลิตปลาสวยงามในประเทศไทยเป็น
เทคโนโลยีระดับต่า การเพาะเลี้ยงยังต้องพ่ึงพิงธรรมชาติเป็นหลัก มีการนาเทคโนโลยีมาช่วยในการจัดจาหน่าย
ผา่ นทางอินเตอรเ์ น็ต และโซเชียลมีเดยี และเทคโนโลยี Mobile Phone เช่น Facebook, IG, Line เปน็ ตน้

2439

ฉบบั ภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะ Veridian E-Journal, Silpakorn University
ปีท่ี 10 ฉบบั ที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สงิ หาคม 2560 ISSN 1906 - 3431

3. การบริหารทรัพยากรมนุษย์ กลุ่มบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมปลาสวยงาม เช่น
กล่มุ ผู้เพาะล้ยี งมคี วามร้คู วามสามารถเชีย่ วชาญในการเพาะเล้ียงสงู ผ้สู ่งออกมคี วามสามารถในการค้าสงู ปัญหาท่ี
เกิดขึน้ เก่ยี วกับการบริหารทรพั ยากรมนุษย์ เช่น ขาดการพัฒนาให้กบั เกษตรกรในการบริหารจัดการกระบวนการ
ให้มีประสิทธิภาพสูงสดุ ขาดการพัฒนาองคค์ วามรดู้ า้ นการคา้ ระหว่างประเทศ ขาดการพฒั นาดา้ นภาษาอังกฤษที่
จะนามาใช้ในการติดตอ่ สอื่ สารกับลกู ค้า

4. โครงสร้างพ้ืนฐาน เป็นกิจกรรมท่ีดาเนินการเพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานของ
บริษัท อาทิ กระบวนการผลิตมีความเหมาะสม และส่งเสริมกระบวนการผลิต เช่น ระบบไฟฟ้า ประปา ระบบ
อนิ เตอรเ์ นต็ ระบบการขาดเชื่อมโยงคมนาคม การบรหิ ารจดั การการขนส่งระหว่างประเทศขาดประสิทธิภาพ เชน่
ปญั หารถตดิ การจากัดเที่ยวบนิ

อุตสาหกรรมปลาสวยงามของประเทศไทยในปัจจุบันเป็นแหล่งเพาะเลี้ยงปลาสวยงามท่ีสาคัญของ
กลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น เน่ืองจากมศี ักยภาพดา้ นการผลิตสงู และเมื่อทาการวิเคราะห์ความสามารถการ
แข่งขันอุตสาหกรรมปลาสวยงามของประเทศไทยด้วยแบบจาลอง Diamond Model ซ่ึงประกอบด้วยปัจจัย 4
ด้าน คือ บริบทการแข่งขันและกลยุทธ์ธุรกิจ เงื่อนไขปัจจัยการผลิต เงื่อนไขด้านอุปสงค์ และอุตสาหกรรมท่ี
เกี่ยวข้องและสนบั สนนุ ผลการศกึ ษาแสดงในภาพท่ี 5 ดงั นี้

บริบทการ + ตลาดปลาสวยงามมีการแขง่ ขนั ท่ีไม่รนุ แรง
แข่งขนั และ + ผู้สง่ ออกปลาสวยงามมีศักยภาพในการส่งออกสูง มคี วามหลากหลายของผลติ ภัณฑ์ปลาสวยงาม และมี

กลยทุ ธ์ ความเชย่ี วชาญในการจาหน่าย และหลากหลายช่องทาง
ธุรกิจ - ประเทศคู่แข่งขันสามารถพัฒนาสายพันธุ์ปลาสวยงามบางประเภทให้มีคุณภาพทัดเทียมกับประเทศ

ไทยได้
- กฎหมายและมาตรการควบคุมการสง่ ออกและการนาเขา้ ปลาสวยงามของประเทศคคู่ า้ มคี วามเข้มงวด

เง่ือนไข + ประเทศไทยมที รพั ยากรธรรมชาตทิ สี่ มบรู ณแ์ ละมีความหลากหลายของพันธ์ุปลาสวยงาม
ปจั จัยการ + ผู้ประกอบการเพาะเลีย้ งปลาสวยงามมีความเชี่ยวชาญในการพฒั นาสายพันธ์ุปลาสวยงาม
+ ความมีเอกลกั ษณ์เฉพาะ ความโดดเด่นของสายพันธ์ปลาสวยงาม
ผลติ - เกษตรกรผู้เพาะเล้ียงปลาสวยงามและผปู้ ระกอบการยังขาดทักษะด้านการส่อื สารภาษาอังกฤษ
- สภาพภูมอิ ากาศในปจั จบุ นั มคี วามแปรปรวนสง่ ผลตอ่ การเพาะเล้ียงปลาสวยงาม

เง่ือนไข + การขยายตัวของตลาดปลาสวยงามของประเทศไทยมีมลู คา้ เพ่ิมขึ้นอย่างตอ่ เน่อื ง
ด้านอปุ สงค์ + การเปดิ การคา้ เสรอี าเซียนสง่ เสรมิ ให้ผู้ประกอบการธุรกิจปลาสวยงามสามารถสร้างฐานการผลิตและ

2440 สรา้ งพันธมิตรทางธรุ กิจกับประเทศในกลมุ่ อาเซียนได้
- สภาพเศรษฐกจิ โลกและประเทศคู่คา้ เช่น สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ประสบปัญหาเศรษฐกิจ

ตกต่า

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ
ISSN 1906 - 3431 ปที ี่ 10 ฉบบั ท่ี 2 เดอื นพฤษภาคม – สงิ หาคม 2560

อตุ สาหกรร + ภาคธรุ กจิ ที่เก่ยี วข้องกับปัจจัยการผลิตมีความพร้อม เช่น ธุรกิจอาหารปลา อุปกรณ์การเพาะเลี้ยง
มท่เี กี่ยวขอ้ ง เปน็ ตน้

และ - ขาดการเช่ือมโยงในการทางานระหว่างหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ภาครัฐมีนโยบายในการ
สนับสนนุ ส่งเสริมสนบั สนุนท่ีไม่ชดั เจน ไมส่ ามารถนาไปใชใ้ นการพัฒนาในทางปฏบิ ัติได้จรงิ

- ระบบการขนสง่ และโลจสิ ติกส์ของประเทศไทยยังไม่มีประสทิ ธิภาพ

+ ภาคธุรกิจที่เก่ียวข้องกับปัจจัยการผลิตมีความพร้อม เช่น ธุรกิจอาหารปลา อุปกรณ์การเพาะเลี้ยง
เปน็ ต้น

รฐั บาล - ขาดการเชื่อมโยงในการทางานระหว่างหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ภาครัฐมีนโยบายในการ
สง่ เสรมิ สนบั สนุนท่ไี มช่ ัดเจน ไม่สามารถนาไปใชใ้ นการพฒั นาในทางปฏบิ ัตไิ ดจ้ ริง

- ระบบการขนส่งและโลจสิ ตกิ ส์ของประเทศไทยยังไม่มปี ระสิทธภิ าพ

ภาพท่ี 5 Diamond Model Analysis
ทมี่ า: สมพล สุขเจรญิ พงษ์ และคณะ, 2558

การอภปิ รายผลและสรุปผล
จากผลการศึกษาพบว่า อุตสาหกรรมปลาสวยงามของประเทศสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซีย และ

ประเทศไทย มีศักยภาพในการผลิตมาก เน่ืองจากท้ังสามประเทศมีจุดแข็งท่ีแตกต่างกัน โดยประเทศสิงคโปร์
ภาครัฐให้การสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมปลาสวยงาม อีกท้ังมีความพร้อมของระบบสาธารณูปโภคและ
ระบบโลจิสติกส์ ส่งผลให้การดาเนินการด้านการขนส่งมีต้นทุนต่า มีรูปแบบการติดต่อซ้ือขายแบบ
E-Commerce ที่มีประสิทธิภาพ สาหรับจุดแข็งของประเทศมาเลเซีย มีการนาเทคโนโลยีมาใช้ในกระบวนการ
ผลิตทาให้สามารถควบคุมการผลิตให้มีคุณภาพสูง และยังได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐอีกทั้งระบบคมนาคม
ขนสง่ มีต้นทุนในการดาเนินการตา่ และสาหรับจุดแขง็ ของประเทศไทยนัน้ พบว่า ปลาสวยงามมีความหลากหลาย
และมีเอกลักษณ์เฉพาะ รวมทั้งผู้เพาะเล้ียงปลาสวยงามมีความเช่ียวชาญในการพัฒนาสายพันธ์ุใหม่ท่ีสามารถ
ตอบสนองความต้องการของตลาดได้อย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับงานวิจัยของ บริษัท ศูนย์วิจัยกสิกรไทย จากัด
(2551) กล่าวว่า การเจาะขยายตลาดปลาสวยงามโดยตรงสง่ ผลใหป้ ลาสวยงามของประเทศไทยเป็นทร่ี ู้จกั มากขน้ึ
และเป็นทยี่ อมรับของตลาดมากข้ึนด้วย ท้ังดา้ นความหลากหลายของสายพันธ์ุปลา ความมีเอกลักษณ์ และความ
สวยงามเมื่อเปรียบเทยี บกบั ประเทศคู่แข่งขัน

และจากผลการศึกษาพบว่า อุตสาหกรรมปลาสวยงามของท้ังสามประเทศยังพบจุดอ่อนที่ต้อง
ปรับปรุงแก้ไข โดยจุดอ่อนของประเทศสิงคโปร์และประเทศมาเลเซีย คือ ขาดความหลากหลายของ
ทรัพยากรธรรมชาติ ส่งผลให้มีต้นทุนในกระบวนการผลิตสูง ในขณะท่ีประเทศไทยมีจุดอ่อนด้านข้ันตอนพิธีการ
ศุลกากร และการขอใบรับรองจากหน่วยงานภาครัฐเพื่อการส่งออกมีขั้นตอนที่ยุ่งยากซับซ้อน ระบบการขนส่ง

2441

ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะ Veridian E-Journal, Silpakorn University
ปีที่ 10 ฉบบั ที่ 2 เดอื นพฤษภาคม – สิงหาคม 2560 ISSN 1906 - 3431

และโลจิสตกิ สข์ องประเทศยงั ไม่มีประสิทธภิ าพ ซง่ึ สอดคล้องกับการศึกษาของ สยามรฐั (2555) กล่าวว่า การเปิด
เสรีการค้าในกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนประเทศไทยจะได้รับผลกระทบจากการเข้ามาให้บริการของ
ผใู้ ห้บรกิ ารอาเซยี นและต้องมีการแข่งขันสูงในด้านระบบการขนส่งและโลจิสติกส์ ซึ่งประเทศไทยต้องแข่งขันกับ
ประเทศสิงคโปร์ท่ีมีความพร้อมด้านเงินลงทุนและเทคโนโลยีที่สูงกว่า สาหรับโอกาส และอุปสรรคของ
อตุ สาหกรรมปลาสวยงามของท้ังสามประทศมคี วามคล้ายกนั คอื การขยายตัวของตลาดปลาสวยงามมีมูลค่าเพิ่ม
ข้ึนทุกปี ตลาดปลาสวยงามมีการแข่งขันที่ไม่รุนแรง เนื่องจากผู้ผลิตปลาสวยงามที่มีศักยภาพสูงมีน้อยราย และ
ผบู้ รโิ ภคให้การยอมรับและเชื่อถอื ในคณุ ภาพปลาสวยงาม ในส่วนของอปุ สรรคพบว่า กฎหมายและมาตรการการ
ควบคุมการส่งออก และการนาเข้าของประเทศคู่ค้ามีความเข้มงวดสภาพเศรษฐกิจโลกและประเทศคู่ค้าประสบ
ปัญหาทางเศรษฐกิจตกต่า และสภาพภูมิอากาศในปัจจุบันส่งผลต่อการเพาะเล้ียงปลาสวยงามข องทั้งสาม
ประเทศ

เอกสารอ้างอิง
ภาษาไทย
กมลทิพย์ ลนิ ฐิ ฎา.(2559).“บทบาทของมหาอานาจทส่ี ่งผลกระทบต่อความร่วมมือและการรวมกลุ่มในภมู ิภาค

อาเซียน. Veridian E-Journal, Slipakorn University 9, 3 (กนั ยายน-ธันวาคม): 372.
ชเู พ็ญ วิบุลสันติ. (2551). การวิเคราะหจ์ ุดแข็ง จดุ ออ่ น จุดด้อย โอกาส และอปุ สรรค (ความเส่ียง) ของ

องค์กร (SWOT Analysis). เข้าถึงเมื่อ 1 ธนั วาคม. เข้าถึงได้จาก http://www.pharmacy.
cmu.ac.th/pharmcare/pharad/swot982.htm.
บริษัท ศนู ยว์ ิจัยกสิกรไทย จากัด.“ปลาสวยงามปี’51: ส่งออกขยายตวั 76.0%มูลคา่ ประมาณ 1,000 ล้านบาท.”
มองเศรษฐกิจ. เขา้ ถึงเม่ือ 18 กรกฎาคม. เข้าถึงไดจ้ ากhttp://positioningmag.com/43114
ยรรยง ศรสี ม. (2553). “หว่ งโซค่ ณุ คา่ Value chain ในงานโลจสิ ติกส์.” Technology Promotion 211, 37
(มถิ ุนายน-กรกฎาคม): 040.
เรอื งไร โตกฤษณะ และคณะ. (2557). “การสร้างความสามารถของเกษตรกรผูเ้ พาะเลีย้ งสัตวน์ ้าไทยเพื่อกา้ วเข้า
ส่กู ารเปน็ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น: สถานภาพและการมองไปขา้ งหนา้ .” จดหมายขา่ ว งานวจิ ัย
นโยบายเกษตร 2, 2 (เมษายน-มถิ ุนายน): 2.
วลยั พร บวรกลุ วฒั น์. (2554). การศกึ ษาความสามารถในการแขง่ ขันและศักยภาพเชิงลกึ ของอุตสาหกรรมยาง
ธรรมชาติในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สรุ มงคล นิ่มจิตต์ และธรี วฒั น์ จนั ทกึ . (2559). “การจดั การทรัพยากรมนษุ ย์เชิงกลยทุ ธ์กบั การเป็นองคก์ าร
ศักยภาพสงู .” Veridian E-Journal, Slipakorn University 9, 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม): 1.
สมพล สขุ เจรญิ พงษ์ และคณะ. (2558). ศกั ยภาพการผลติ การตลาดปลาสวยงามในประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซยี น. นครปฐม: มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม.
สยามรฐั . (2555). เมอื่ เปิด AEC ผลกระทบธรุ กจิ การเกษตรท่จี ะเกิดขน้ึ กับประเทศไทย. เขา้ ถงึ เม่ือ 12
พฤษภาคม. เข้าถึงได้จาก http://www.thai-aec.com/138#ixzz29jHZbaV3.

2442

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศลิ ปะ
ISSN 1906 - 3431 ปีท่ี 10 ฉบบั ที่ 2 เดอื นพฤษภาคม – สิงหาคม 2560

ภาษาต่างประเทศ
Porter, M. E. (1980). Competitive strategy. New York, USA: Free Press.
Porter, M. E. (1990). Competitive Strategy: Techniques for Analyzing Industries and

Competitors. Harvard Business Review 2008 (January): 86. อ้างใน วลยั พร บวรกุลวฒั น์.
(2554). การศกึ ษาความสามารถในการแข่งขนั และศักยภาพเชงิ ลึกของอตุ สาหกรรมยางธรรมชาติ
ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์.
World Economic Forum (WEF). (2012). The Global Competitiveness Report (2011-2012).
Geneva: Switzerland.

2443


Click to View FlipBook Version