The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสารธุรกิจอาหารสัตว์เล่มที่ 191 (มี.ค-เม.ย 2563)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yujikung, 2020-09-23 02:32:15

วารสารธุรกิจอาหารสัตว์เล่มที่ 191 (มี.ค-เม.ย 2563)

วารสารธุรกิจอาหารสัตว์เล่มที่ 191 (มี.ค-เม.ย 2563)

M

Market Leader

รูปที่ 4 ระบบน้�ำหมุนเวยี นกลับ 100% -โครงการเล้ียงกุ้งตามพระราชด�ำร ิ อ.บางแตน
จ.ฉะเชิงเทรา

มีขนาดเล็ก ปริมาณน�้ำ และของเสียมีไม่มาก 6. การเพมิ่ ออกซเิ จนในนำ้� และการฆา่ เชอื้
โดยปกติระบบการเล้ียงแบบนี้ใช้เคร่ืองมือในการ โรค (Oxygenation and Disinfection)
บ�ำบัด และปรับปรุงน้�ำ มีหลักการ และข้ันตอน
ต่างๆ คร่าวๆ ดงั น้ี 7. การหมุนเวียนน้�ำกลับเข้าสู่ระบบการ
เลี้ยง (Recycle or Recirculating Aquaculture
1. บ่อเลยี้ ง หรอื แทง็ ก์ส�ำหรบั เลี้ยงสตั วน์ ้ำ� System, RAS)
เชน่ กุ้ง หรือปลา (Aquaculture Tank)
จะเห็นได้ว่า ระบบหมุนเวียนน้�ำที่มีขนาด
2. การกรองทางกายภาพเพ่ือแยกของเสีย เล็ก จะใช้แค่หลักการการจับตะกอน การกรอง
ทเ่ี ปน็ ของแขง็ ออกจากของเสยี เปน็ นำ้� (Mechani - ตามธรรมชาติ หรอื การกรองด้วยเคร่ืองกรองทาง
cal Filter) กายภาพ (mechanical Filtration) เชน่ การกรอง
ทราย การกรองดว้ ยระบบผา้ กรอง การกำ� จดั โปรตนี
3. การกรอง การตกตะกอน และการพกั นำ้� คงค้าง (Protein Skimmer) หรือผ่านการบ�ำบัด
เพ่ือบ�ำบัดน�้ำให้สะอาดข้ึน (Sedimentation & ดว้ ยการกรองทางชวี ภาพ (Bio - Filter Nitrifica -
Filtration and Retention) tion Bacteria) ซึ่งเป็นการยอ่ ยสลายของเสยี และ
สารอินทรีย์ไนโตรเจนที่ละลายในน�้ำ โดยการใช้
4. การแยกของเสียท่ีเป็นของแข็งท่ีมีสาร จลุ นิ ทรยี ไ์ นตรฟิ เิ คชน่ั แบคทเี รยี นอกจากนี้ ระบบ
อินทรีย์เชื้อโรค หรือสารพิษจ�ำนวนมากออกไป การหมนุ เวยี นนำ้� ทมี่ ขี นาดเลก็ ยงั สามารถควบคมุ
จัดการ (Waste and Solids Management) การใหอ้ อกซเิ จนจำ� นวนมากๆ และการฆา่ เชอื้ โรค
ในน้�ำดว้ ยโอโซน หรอื ยูวี หรอื สารฆ่าเชอ้ื อน่ื ๆ ท่ี
5. การน�ำน้�ำท่ีแยกของเสียที่เป็นของแข็ง มีประสิทธิภาพสูงได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะ
ออกไป แล้วเข้าสู่ระบบการกรองทางชีวภาพเพื่อ ปริมาณน�้ำไม่ได้มีมากจนเกินไป เพียงเท่านี้ก็
ยอ่ ยสลายของเสยี ไนโตรเจนทล่ี ะลายในนำ�้ โดยใช้ สามารถได้น้�ำที่สะอาดเพียงพอในการหมุนเวียน
กระบวนการบ�ำบัดไนตริฟิเคชั่นแบคทีเรีย (Bio -
logical and Microbial Filtration)

41 ธุรกจิ อาหารสัตว์ ปที ่ี 37 เล่มที่ 191 มนี าคม - เมษายน 2563

M ฟารม์ ตวั เองโดยการนำ� นำ้� ทอ่ี าจมเี ชอื้ โรค และสาร
อนิ ทรียจ์ ำ� นวนมากเขา้ มาภายในฟาร์ม ซง่ึ อาจจะ
Market Leader ทำ� ให้ประสบปัญหากับการเลี้ยงได้

กลับมาเล้ียงได้อีก แต่การเลี้ยงกุ้งในระบบน�้ำ ก่อนที่เกษตรกรจะท�ำการเล้ียงกุ้งในระบบ
หมุนเวียนในบ่อเล้ียงกุ้งเป็นระบบที่ใหญ่ข้ึนมาก นำ้� หมนุ เวยี น เกษตรกรตอ้ งเขา้ ใจกอ่ นวา่ ของเสยี
กว่าการเลี้ยงกุ้งในแท็งก์ เนื่องจากมีปริมาณกุ้ง สารอินทรีย์ และเชื้อโรค รวมทั้งสปอร์ของเช้ือ
ในบอ่ มากมกี ารให้อาหารกุ้งจำ� นวนมาก รวมทั้งมี ส่วนใหญ่ มักพบในปริมาณสูงในของเสียท่ีอยู่
ปรมิ าณของเสยี เกดิ ขนึ้ ในบอ่ จำ� นวนมาก และอาจ ในรปู ของแขง็ (Solid Wastes) มากกวา่ ของเสยี
มปี รมิ าณเชอื้ กอ่ โรคเพม่ิ มากขนึ้ ทงั้ นขี้ น้ึ กบั ความ ทอี่ ยใู่ นรปู นำ้� หรอื เปน็ ของเหลว (Watery Waste
หนาแน่นในการเล้ียงกุ้งด้วย ดังน้ัน ก่อนท่ีจะน�ำ or Effluent) หลายเทา่ ตวั
ระบบน�้ำหมุนเวียนมาใช้ในการเล้ียงกุ้ง ต้องท�ำ
ความเขา้ ใจความหมาย เปา้ หมาย จดุ ประสงค์ และ การเล้ียงกุ้งในระบบน้�ำหมุนเวียนให้มี
วธิ กี าร รวมทัง้ หลกั การทถี่ กู ตอ้ งของการทาํ ระบบ ประสทิ ธภิ าพนนั้ เราจำ� เปน็ ตอ้ งพยายามแยกของ
น้�ำหมุนเวียนนี้ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้เสียก่อนที่จะ เสียที่เป็นของแข็ง และของเสียที่เป็นของเหลว
ตดั สนิ ใจทำ� ออกจากกันเสียกอ่ น เพอ่ื ท�ำใหง้ า่ ยตอ่ การจัดการ
ของเสยี เหลา่ นน้ั และชว่ ยทำ� ใหก้ ารบรหิ ารจดั การ
การเล้ียงระบบน้�ำหมุนเวียน (Recycle ระบบน�ำ้ หมนุ เวียนท�ำไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพมาก
Aquaculture Systems: RAS) สามารถชว่ ยลด ยงิ่ ขน้ึ ซง่ึ การบำ� บดั ของเสยี ทงั้ 2 รปู แบบ มวี ธิ กี าร
โอกาสการเกิดโรคจากเชื้อโรคท่ีมาจากแหล่งน�้ำ จดั การท่ีแตกต่างกนั
ช่วยป้องกันและลดปัญหาส่ิงแวดล้อมภายนอก
หรือแหล่งน�้ำสาธารณะท่ีปนเปื้อน เต็มไปด้วย การนำ� นำ�้ ทหี่ มนุ เวยี นกลบั มาใชใ้ นการเลยี้ ง
เช้ือโรคต่างๆ ที่ปล่อยออกมาจากฟาร์มเล้ียงกุ้ง กุ้งใหม่ จ�ำเป็นต้องมีการวางแผน และออกแบบ
ได้ดีมาก นอกจากน้ี ยังชว่ ยลดความเสี่ยงในการ ผังฟาร์มให้เหมาะสม เช่น ต้องออกแบบให้มีบ่อ
เลยี้ ง ลดตน้ ทนุ การบรหิ ารจดั การนำ้� ทงั้ เรอ่ื งตน้ ทนุ พักน�้ำ (Reservoir) บ่อตกตะกอน (Settling and
การใชจ้ ลุ นิ ทรยี ์ เกลอื แร่ และสารฆา่ เชอื้ โรคในนำ�้ Clarifying Pond) เพอื่ ทำ� การพกั นำ�้ ใหน้ านเพยี งพอ
เพราะน�้ำจะถูกน�ำมาใช้ซ�้ำโดยผ่านระบบท่ีมีการ บอ่ ทรตี นำ�้ และฆา่ เชอื้ (Disinfection or Treatment
จัดเก็บ ตกตะกอน หรือผ่านระบบบ�ำบัดที่ดี Pond) บอ่ เกบ็ นำ�้ พรอ้ มใช้ (Ready to Use Pond)
เพียงพอเหมาะสม ซ่ึงน้�ำหลังผ่านการบ�ำบัด บอ่ เลย้ี ง (Culture Pond) ทม่ี ขี นาดเหมาะสม และ
สามารถทง้ิ นำ�้ ออกไป หากนำ�้ ทง้ิ นนั้ ผา่ นมาตรฐาน สามารถเอาของเสียออกได้ดีตลอดเวลา บ่อเก็บ
ของทางหน่วยงานราชการ หรือสามารถเลือก เลน (Sludge Pond) บ่อบ�ำบัดน้�ำ (Effluent
ท่จี ะหมนุ เวยี นกลบั มาใชใ้ หมไ่ ด้ และเป็นการชว่ ย Treatment Plant) คลองหมนุ เวยี นนำ้� (Recycled
รกั ษาสง่ิ แวดลอ้ มไดอ้ กี ดว้ ย เพราะการเลยี้ งระบบ Canal) เป็นต้น เหล่าน้ีจึงจะสามารถท�ำให้น�้ำท่ี
น้�ำหมุนเวียน จะไม่ซ้�ำเติมแหล่งน�้ำด้วยการเพ่ิม หมุนเวียนกลับมาใช้มีประสิทธิภาพดี
เชื้อโรค ของเสีย และสารอินทรีย์จ�ำนวนมากลง
ไปในแหล่งน้�ำ รวมท้ังไม่เพิ่มความเสี่ยงให้กับ

ธรุ กจิ อาหารสัตว์ ปีท่ี 37 เลม่ ที่ 191 มีนาคม - เมษายน 2563 42

ของเสียท่ีเป็นของแข็ง (Solid Wastes) M
เลนกลางบ่อทดี่ ูดออกมาทุกวนั ซากกงุ้ ตาย หรอื
คราบเปลือกกุ้งท่ีลอกคราบออกมาทุกวัน ต้อง Market Leader
แยกดูดด้วยปั๊มอีกตัวหน่ึง แล้วแยกของเสียเหล่า
น้ันไปเก็บในบ่อเก็บเลนโดยเฉพาะ สว่ นน้ำ� ที่ผา่ น กงุ้ หรือนำ้� หลังจบการเลย้ี งกุ้ง ควรจะต้องมาผ่าน
การเลย้ี ง หรอื นำ้� ทถี่ า่ ยออกจากบอ่ กงุ้ ระหวา่ งการ ระบบการพกั นำ�้ และการบำ� บดั นำ�้ กอ่ นเสมอ เพอ่ื
เลี้ยงท้ังหมด ต้องน�ำมาผ่านระบบการบ�ำบัด ลดปริมาณของเสีย เช้ือโรค และสปอร์ของเช้ือ
การตกตะกอน เพ่ือแยกของเสียที่เป็นของแข็ง อีเอชพี ซึ่งสามารถควบคุมและจัดการให้ลดลง
แขวนลอย (Solid Suspension) และน้�ำออกจาก กอ่ น หรอื ใหต้ กตะกอน และจดั เกบ็ ไวภ้ ายในฟารม์
กันอีกคร้ังหนึ่ง หรือผ่านกระบวนการบ�ำบัดตาม ของเราเอง และรอการล้างท�ำความสะอาดโดย
ขน้ั ตอนที่เหมาะสม เพอ่ื ให้นำ้� มคี วามสะอาดมาก ไมท่ ง้ิ นำ�้ นนั้ ออกไปภายนอกทนั ที ซง่ึ อาจกอ่ ใหเ้ กดิ
ย่ิงขึ้นก่อนท้ิงน้�ำน้ันออกไปสู่แหล่งน้�ำธรรมชาติ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมภายนอกได้
เมื่อผ่านมาตรฐานน�้ำท้ิงที่รับรองจากหน่วยงาน
ราชการ หรอื อาจพจิ ารณานำ� ไปบำ� บดั เพอื่ นำ� กลบั โดยทว่ั ๆ ไป ระบบการบำ� บดั น้ำ� ประกอบ
มาใช้ใหมต่ ่อไป ไปด้วยข้ันตอนท่ีส�ำคัญๆ คือ การแยกตะกอน
ของเสียท่ีเป็นของแข็งขนาดใหญ่ออกจากของเสีย
ระบบการบำ� บดั นำ้� (Effluent Treatment ท่ีเป็นของเหลวก่อน (Separate Solid Waste)
Plant: ETP) หรอื คลองรีไซเคิล หรือคลองบำ� บดั เพื่อลดปริมาณของเสียในน�้ำให้มากท่ีสุด ก่อน
น�้ำ เป็นส่วนที่มีความส�ำคัญมากภายในฟาร์ม มาผา่ นระบบการบำ� บดั นำ้� หลงั จากนนั้ จงึ มกี ารเตมิ
เลี้ยงกุง้ ซึง่ ฟารม์ ควรใหค้ วามส�ำคัญกบั ระบบการ ของเสยี ทเ่ี ปน็ นำ�้ เขา้ สรู่ ะบบบำ� บดั (Filling In) การ
บำ� บดั นำ�้ นี้ โดยนำ้� ทถี่ า่ ยออกแตล่ ะวนั จากบอ่ เลย้ี ง พักให้ตะกอนฝุ่นขนาดเล็กๆ เกิดการตกตะกอน
(Settling) และสารอินทรีย์ในน�้ำเกิดการบ�ำบัด
ซงึ่ หากมจี ำ� นวนบอ่ พกั ทม่ี าก และมเี วลาในการพกั
นำ�้ ทยี่ าวนานเพยี งพอ การบำ� บดั นำ้� ตามธรรมชาติ
ก็จะยิ่งมีประสิทธิภาพสูง การจัดการกับของเสีย

รูปท่ี 5 บ่อบ�ำบัดน�้ำก่อนทิ้ง/คลองบ�ำบัดน�้ำ/คลองรไี ซเคิล ที่จ�ำเป็นต้องมีในการท�ำระบบน�้ำ
หมนุ เวยี น

43 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มท่ี 191 มีนาคม - เมษายน 2563

M charge) หรอื เลอื กทจ่ี ะใชน้ ำ้� นน้ั หมนุ เวยี นกลบั มา
ใชใ้ หมก่ ไ็ ด้ (RAS) ถา้ เปน็ ฟารม์ ขนาดใหญ่ และมี
Market Leader บอ่ จำ� นวนมาก สามารถใชก้ ารบำ� บดั ทางธรรมชาติ
แบบปล่อยให้เกิดการตกตะกอนของสารอินทรีย์
ท่ีละลายอยู่ในน�้ำ (Reacting) ซ่ึงอาจมีท้ังสาร เชื้อโรค และสปอร์ของเชื้ออีเอชพีอย่างช้าๆ ไป
อนิ ทรยี ไ์ นโตรเจน คาร์บอน ฟอสฟอรสั ซัลเฟอร์ ตามบอ่ ทม่ี ีอยู่มาก และเกดิ การบ�ำบัดสารอนิ ทรยี ์
และอ่ืนๆ เป็นต้น การจัดการของเสียท่ีละลาย ไนโตรเจนด้วยตัวเอง ซ่ึงอาจต้องใช้เวลายาวนาน
อยู่ในน�้ำ อาจประกอบด้วยการจัดการแบบมี มากกวา่ 2 - 4 สปั ดาห์ จนกวา่ การบำ� บดั เขา้ สสู่ ภาพ
ออกซิเจน (Aerobic Reaction) และแบบไม่มี สมดุล หรือสามารถใช้การบ�ำบัดทางธรรมชาติ
ออกซเิ จน (Anaerobic Reaction) โดยเพมิ่ การ ชนดิ อน่ื ๆ เสริมชว่ ยด้วย เช่น การใช้ปลาในการ
บ�ำบัดด้วยจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ (Beneficial เกบ็ กนิ ตะกอน (Fish Biofilter) เพราะตะกอนเปน็
Microorganisms) หรือการปล่อยให้น�้ำเกิดการ แหล่งกำ� เนิดปญั หาหลายๆ อยา่ งท่มี ีมากมาย
บ�ำบัดตัว หรือบ�ำบัดสารอินทรีย์ไนโตรเจน ด้วย
จุลินทรีย์ท่ีมีอยู่ในน้�ำเองตามธรรมชาติ (Self - การใช้ปลาสามารถลดปัญหาตะกอน สาร
Nitrification Process) หากมรี ะบบพักน้�ำท่ีใหญ่ แขวนลอย ลดปริมาณแพลงก์ตอน และสาร
และมีระยะเวลาในการพักน�้ำที่ยาวนานเพียงพอ อินทรีย์จากแพลงก์ตอนท่ีบลูม และดรอปได้ดี
การรนิ เอาเฉพาะนำ้� ใสสว่ นบนไปใช้ (Decanting) มาก ซงึ่ การบำ� บดั อาจมที งั้ การใชป้ ลาทเ่ี ลย้ี งในบอ่
เพราะน้�ำที่อยู่ส่วนบนจากการปล่อยให้เกิดการ เดยี วกบั การเลยี้ งกงุ้ หรอื การปลอ่ ยปลาในบอ่ บำ� บดั
ตกตะกอนไปแล้ว มักมีความปลอดภัย และมักมี น้�ำที่ผ่านมาจากบ่อกุ้ง ไหลมาผ่านบ่อปลาท่ีแยก
องคป์ ระกอบของสารอนิ ทรยี ์ แกส๊ พษิ แอมโมเนยี จากกันกไ็ ด้
ไนไตรท์ เชื้อโรค ทั้งเชื้อแบคทีเรีย และสปอร์
ของเชือ้ โรคอีเอชพี นอ้ ยกว่าตะกอนทีต่ กนอนกน้ การใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายแบบเฮเทอโร -
อยู่ที่ก้นบ่อ การพักน�้ำไว้ให้อยู่น่ิงๆ เฉยๆ (Idle โทรฟกิ (Heterotrophic Bacteria) เพอ่ื ชว่ ยในการ
or Aging the water) ก็เป็นการช่วยบ�ำบัดท่ีดี บำ� บดั นำ้� แบบมกี ารเตมิ จลุ นิ ทรยี ล์ งไปในนำ�้ (Bio -
อกี ทางหน่งึ remediation or Bio - Augmentation) ก็เปน็ การ
บำ� บดั ทไี่ ดร้ บั ความนยิ มสงู และมกี ารใชแ้ พรห่ ลาย
จากทก่ี ลา่ วมาขา้ งตน้ หากมรี ะบบบำ� บดั นำ้� และกว้างขวางมาก หรือการผ่านการบ�ำบัดด้วย
ท่ีใหญ่ และมีจ�ำนวนบ่อ หรือคลองรีไซเคิลท่ียาว พื้นท่ีท่ีมีพืชบ�ำบัด หรือบึงประดิษฐ์ (Wetland)
เพียงพอ และมีเวลาในการปล่อยให้น้�ำพักตัวยาว ท่ีปลูกพืชเป็นทุ่งกว้างขนาดใหญ่ เช่น ธูปฤาษี
นาน ยอ่ มเกดิ ประสทิ ธภิ าพทดี่ กี วา่ ทำ� ใหบ้ ำ� บดั ได้ สาหรา่ ยหางกระรอก สาหรา่ ยพวงองนุ่ ตน้ กก หรอื
ดีกว่า แต่หากไมม่ ีระบบบำ� บดั นำ้� ท่ใี หญ่ และไม่มี พืชชนิดอื่นๆ ท่ีทนเค็ม และสามารถดูดซับสาร
เวลาในการปล่อยให้น้ำ� พกั ตวั ยาวนานเพยี งพอ ก็ อนิ ทรยี ไ์ นโตรเจน และสารอนิ ทรยี ท์ ล่ี ะลายนำ้� และ
อาจจำ� เปน็ ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ ระบบทม่ี ตี วั ชว่ ยตา่ งๆ เพมิ่ ตะกอนแขวนลอยชนิดต่างๆ ก็สามารถน�ำมาใช้
เตมิ มากขน้ึ เขา้ ไปในระบบบำ� บดั เพอ่ื ชว่ ยทำ� ใหน้ ำ้� ในระบบบ�ำบดั นำ้� ได้ทั้งสน้ิ ฯลฯ
มคี ณุ ภาพดตี ามเปา้ หมายทเ่ี ราตอ้ งการ ซง่ึ หลงั จาก
ผ่านระบบการบ�ำบัดน�้ำจนผ่านมาตรฐานน�้ำทิ้ง
ทต่ี อ้ งการแลว้ อาจเลอื กทจี่ ะทงิ้ นำ�้ นนั้ ออกไป (Dis -

ธุรกิจอาหารสตั ว์ ปที ่ี 37 เล่มที่ 191 มนี าคม - เมษายน 2563 44

M

Market Leader
รูปที่ 6 ตัวอย่างการออกแบบแผนผังฟาร์มเลี้ยงกุ้ง ระบบน้�ำหมุนเวยี น และระบบบ�ำบัดน�้ำ
ก่อนท้งิ /หมนุ เวยี นกลับมาใช้ใหม่

รูปแสดงตัวอย่างการออกแบบแผนผังฟาร์มเลี้ยงกุ้งในระบบน้�ำหมุนเวยี น และระบบบ�ำบัดน�้ำ
(Effluents Treatment Plant: ETP) กอ่ นทงิ้ หรอื หมนุ เวยี นกลบั มาใชใ้ หมใ่ นระบบทมี่ บี อ่ บำ� บดั นำ้�
แบบเป็นคลองรไี ซเคิลยาวๆ รอบๆ ฟาร์ม และมบี ่อนำ�้ พร้อมใช้ 2 บอ่ สามารถสลบั ล้างไดห้ ากจำ� เป็น
ต้องท�ำ เพื่อลดปัญหาการตกค้างของตะกอน เช้ือแบคทีเรยี ไบโอฟิล์ม เช้ืออีเอชพี พร้อมมีระบบ
การติดต้ังเคร่อื งมือในการเตรยี มน�้ำแบบทันสมัยให้ได้รวดเร็วขึ้น เช่นระบบอินไลน์สเตติค มิกเซอร์
(Inline Static Mixer) เพ่ือสามารถเตรยี มน้�ำ ตกตะกอนน�้ำ และฆ่าเชื้อโรคในน้�ำ และสามารถ
หมนุ เวยี นน�้ำกลบั มาใชใ้ หมไ่ ด้อย่างรวดเรว็ และมปี ระสิทธภิ าพสงู ในจงั หวดั ฉะเชิงเทรา ประเทศไทย

เมอื่ ผา่ นขนั้ ตอนการบำ� บดั นำ้� จนไดน้ ำ�้ ทส่ี ะอาดเพยี งพอตามมาตรฐานของกรมควบคมุ มลพษิ หรอื
หนว่ ยงานทค่ี วบคมุ แลว้ จงึ จะสามารถปลอ่ ยนำ้� เหลา่ นน้ั ออกสคู่ ลองสาธารณะ หรอื แหลง่ นำ�้ ธรรมชาตไิ ด้
หรอื อาจจะพจิ ารณานำ� นำ้� ทผี่ า่ นการบำ� บดั นก้ี ลบั ไปใชห้ มนุ เวยี นเลย้ี งกงุ้ ในรอบตอ่ ๆ ไป กส็ ามารถทำ� ได้
โดยหากเลือกที่จะน�ำน�้ำมาหมุนเวียนใช้อีกภายในฟาร์ม อาจต้องพิจารณาเพ่ิมขั้นตอนการเตรียมน�้ำ
ใหม่อีกคร้ัง การตกตะกอนน�้ำให้ใสสะอาดดีย่ิงข้ึน และการปรับปรุงคุณภาพน�้ำ เช่น ปรับปรุงพีเอช
เกลอื แร่ หรอื คา่ คณุ ภาพนำ�้ อนื่ ๆ การทรตี นำ้� รวมทง้ั การฆา่ เชอื้ โรคในนำ�้ อยา่ งถกู ตอ้ ง และมปี ระสทิ ธภิ าพ
อีกครั้ง แลว้ จงึ น�ำไปเก็บยังบอ่ นำ้� พรอ้ มใช้ตอ่ ไป เพือ่ ให้เกดิ ความปลอดภัยตอ่ ก้งุ ของเรา

จะเห็นวา่ “ระบบการเล้ียงแบบนำ�้ หมุนเวียน” สามารถช่วยลดปญั หาภายในฟาร์มของตัวเอง
และลดปัญหาผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม สอดคล้องกับมาตรการของรัฐ และกรมประมง ที่ก�ำลัง
รณรงคเ์ รอื่ งการจัดการฟาร์มแบบมมี าตรฐานตา่ งๆ อีกด้วย

ถึงเวลาแล้วที่ประเทศไทยต้องปรับระบบการเล้ียงให้เหมาะสม และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
เพอ่ื ใหก้ ารเลย้ี งกงุ้ สามารถเปน็ อาชพี ทยี่ งั่ ยนื ทง้ั นเี้ กษตรกรผเู้ ลยี้ งกงุ้ ตอ้ งพจิ ารณาปรบั เปลยี่ นระบบ
การเลย้ี งใหเ้ หมาะสมตอ่ ความสามารถ และศกั ยภาพการผลติ ของตวั เอง (Carrying Capacity) โดย
ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ ความยง่ั ยนื (Sustainability) เปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม (Environmental Friendly) ตอ้ ง
ผลติ กงุ้ ทมี่ คี ณุ ภาพดี สด สะอาด ไมม่ สี าร หรอื ยาตกคา้ ง มกี ารตรวจสอบยอ้ นกลบั ได้ (Traceability)
และมีมาตรฐานการผลิตทีผ่ ซู้ ้ือตอ้ งการ เช่น GAP ASC ฯลฯ เพอ่ื สามารถแขง่ ขันไดใ้ นตลาดโลก

45 ธรุ กจิ อาหารสัตว์ ปีท่ี 37 เลม่ ที่ 191 มนี าคม - เมษายน 2563

A

Around the World

อตุ ฯ กงุ้ ทวั่ โลก

เซ่นพิษ "โควดิ -19"?

เป็นท่ีทราบกันดีว่าการระบาดของโรคติดเช้ือโคโรนาไวรัส 2019 หรือ
โควิด-19 (COVID-19) เร่ิมต้นข้ึนเมื่อเดือนธันวาคม 2562 โดยพบการอุบัติ
ของโรคคร้ังแรกในนครอู่ฮั่น เมืองหลวงของมณฑลหูเป่ย์ ประเทศสาธารณรัฐ
ประชาชนจนี (ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 19 มนี าคม 2563 รายงานยนื ยนั พบผปู้ ว่ ยตดิ เชอื้
ใน 162 ประเทศทั่วโลก จ�ำนวนกว่า 220,289 คน มีผู้เสียชีวิต 8,983 คน
อยา่ งไรกต็ าม มผี ู้ไดร้ บั การรกั ษา และหายปว่ ยแล้วมากกว่า 85,769 คน)

ไวรัสโควดิ -19 ไดส้ ร้างความเสยี หายในระบบเศรษฐกิจการคา้ ท่ัวโลก ไม่เวน้
แมแ้ ตอ่ ตุ สาหกรรมกงุ้ ในสถานการณเ์ ชน่ นี้ จงึ ไดร้ วบรวมผลกระทบ / ความคบื หนา้
เบอื้ งตน้ ทม่ี ตี อ่ อตุ สาหกรรมกงุ้ ในหลายประเทศผผู้ ลติ กงุ้ ทส่ี ำ� คญั ของโลกมาใหท้ ราบ
ดงั นี้

จนี

 พันธมิตรสินค้าสัตว์น้�ำแปรรูป และการตลาดจีน (China’s Aquactic
Products Processing and Marketing Alliance: CAPPMA) แจ้งว่า บริษัท
รถบรรทกุ ขนสง่ ตามทา่ เรอื สำ� คญั ในจนี หยดุ ใหบ้ รกิ าร สง่ ผลใหม้ สี นิ คา้ นำ� เขา้ ปรมิ าณ
มหาศาลตกค้างอยูท่ ่ที า่ เรือหลายแห่ง อาทิ ท่าเรือเซยี่ งไฮ้ ทา่ เรือเทียนจนิ (ท่าเรอื
ทมี่ ีการนำ� เข้ากุ้งแช่แข็งมากทีส่ ดุ กวา่ 43,000 ตนั ในปี 2561) ทีส่ ำ� คัญผใู้ ห้บริการ
ห้องเยน็ ในพ้นื ท่ีท่าเรอื ไมส่ ามารถระบายสินคา้ เก่า และรับสนิ คา้ ใหมไ่ ด้

เวยี ดนาม

 สมาคมผผู้ ลิตและสง่ ออกอาหารทะเลเวยี ดนาม (Vietnam Association
of Seafood Exporters and Producers: VASEP) หรอื วาเสป เปดิ เผยวา่ ผสู้ ง่ ออก

ทีม่ า : วารสารข่าวกุ้ง ปี ที่ 32 ฉบบั ที่ 380 เดือนมีนาคม 2563

ธรุ กจิ อาหารสตั ว์ ปที ี่ 37 เล่มที่ 191 มนี าคม - เมษายน 2563 46

กงุ้ เวียดนามตอ้ งหยดุ การส่งออกกุง้ ปรมิ าณหลาย A
รอ้ ยตนั ไปยงั ประเทศจนี เนอื่ งจากผนู้ ำ� เขา้ จนี หยดุ  /
ชะลอการน�ำเข้า ส่งผลให้ผู้ส่งออกกุ้งเวียดนาม Around the World
ต้องแบกภาระต้นทุนในการเก็บสินค้ากุ้งในห้อง
เยน็ อุตสาหกรรมอาหารทะเลออสเตรเลียจะมีมูลค่า
ความเสียหายประมาณ 257 ล้านเหรียญสหรฐั ฯ
 ผ้สู ง่ ออกกงุ้ เวยี ดนามรายหน่ึง กลา่ ววา่ (∼8,113 ลา้ นบาท)
“เม่ือช่วงต้นปี 2563 บริษัทรับค�ำส่ังซื้อจากจีน
กว่า 600 ตนั ซึง่ ก่อนเทศกาลตรษุ จีนสามารถส่ง อินเดยี
ไปได้คร่ึงเดียว หลังจากนั้นส่งไปไม่ได้เลย และ
สว่ นทเี่ หลอื ยงั ค้างอยู่ทห่ี ้องเย็น”  รองประธานส�ำนักงานข้อมูลการลงทุน
และจัดอันดับเครดิตอินเดีย (Investment In -
 ผู้ส่งออกกุ้งเวียดนามก�ำลังเผชิญความ formation and Credit Rating Agency: ICRA)
ทา้ ทาย / ความยากลำ� บากในการแสวงหาคำ� สง่ั ซอื้ คาดวา่ การสง่ ออกกงุ้ อนิ เดยี จะลดลงรอ้ ยละ 10 - 15
ใหมจ่ ากสหรฐั ฯ และอยี ู เนอื่ งจากผบู้ รโิ ภคมคี วาม ในชว่ งไตรมาสที่ 2 / 2563 เนอ่ื งจากความตอ้ งการ
กังวลต่อไวรสั โควดิ -19 ของตลาดโลก และตลาดจีนท่ีอ่อนตัวลง อันเป็น
ผลจากการระบาดของไวรสั โควดิ -19 ทง้ั นี้ จนี เปน็
 ในปี 2562 เวยี ดนามมมี ลู คา่ การสง่ ออก ตลาดส�ำคัญของสินค้าและผลิตภัณฑ์กุ้งแช่แข็ง -
กุ้งไปยังตลาดจีนประมาณ 543 ล้านเหรียญ แปรรูปของอินเดีย และเป็นตลาดใหญ่อันดับ 2
สหรัฐฯ (∼17,141 ล้านบาท) เพมิ่ ข้นึ รอ้ ยละ 10.3 รองจากสหรัฐฯ
เมอื่ เทียบกบั ปี 2561 แต่ในปนี ี้ VASEP คาดวา่
มูลค่าการส่งออกน่าจะลดลงเน่ืองจากวิกฤต  ทั้งคาดการณ์ว่าราคากุ้งในตลาดโลก
โควดิ -19 ช่วง 1 - 2 เดือนข้างหน้า ว่าจะต้องเผชิญกับแรง
กดดนั จากการเปลย่ี นแปลงความตอ้ งการในตลาด
ออสเตรเลีย จีน “ปัจจุบันผู้ส่งออกกุ้งรายเล็กท่ีท�ำธุรกิจกับจีน
เปน็ สว่ นใหญเ่ รมิ่ ไดร้ บั ผลกระทบจากสถานการณ์
 ราคาสินค้าประมงออสเตรเลียลดลง ไวรัสระบาดแลว้ ”
อย่างมากจากวิกฤตไวรัสโควิด-19 โดยหอยเชลล์
และกุ้งล็อบสเตอร์เป็นรายการสินค้าท่ีได้รับผล  ประธานหน่วยงานด้านการพัฒนาส่ง
กระทบมากทีส่ ุด เนื่องจากความตอ้ งการในตลาด ออกผลิตภัณฑ์ทางทะเล (Marine Products
โลกลดลง Export Development Authority: MPEDA) มี
ความเห็นตา่ งจาก ICRA วา่ ท่ีผา่ นมา การสง่ ออก
 ส�ำนักงานการเกษตรทรัพยากรเศรษฐ- สนิ คา้ สตั วน์ ำ้� อนิ เดยี ไปยงั จนี ไดร้ บั ผลกระทบเพยี ง
กจิ และวทิ ยาศาสตรแ์ หง่ ออสเตรเลยี (Australian เล็กน้อย การบริโภคกุ้งในประเทศจีนยังไม่ได้รับ
Bureau of Agricultural and Resource Eco - ผลกระทบ เพราะการปดิ อฮู่ นั่ เมอื งเดยี วเปน็ เพยี ง
nomics and Sciences: ABARES) เปิดเผยว่า สว่ นเล็กๆ ส่วนหนงึ่ ของประเทศจนี ท้งั น้ีผู้แปรรปู
และสง่ ออกกงุ้ กำ� ลงั ลดการพง่ึ พาจากตลาดจนี โดย
หันมาให้ความสนใจตลาดสหรัฐฯ ญ่ีปุ่น และอียู
มากขึน้

47 ธรุ กิจอาหารสัตว์ ปที ี่ 37 เล่มท่ี 191 มนี าคม - เมษายน 2563

A  ผู้ส่งออกกุ้งเอกวาดอร์รายหน่ึงกล่าวว่า
“อุตสาหกรรมกุ้งเอกวาดอร์ไม่เคยเจ็บปวดขนาด
Around the World น้ีมาก่อน หากตลาดจีนไม่กลับสู่ภาวะปกติโดย
เรว็ อุตฯ ของเราอาจถงึ ขนั้ ล่มสลาย เพราะราคา
 ผู้เล้ียงกุ้งอินเดียรายหนึ่งในรัฐคุชราฏ กงุ้ ขณะนี้อยู่ในระดับทต่ี ่�ำมาก”
กล่าววา่ “จนถงึ ปัจจุบนั ราคากงุ้ ในตลาดยงั คงอยู่
ในระดบั สงู อยู”่  ประธานสภาการเพาะเล้ียงสัตว์น้�ำแห่ง
ชาติเอกวาดอร์ นายโฮเซ่ อันโตนิโอ คัมโพซาโน่
อนิ โดนีเซยี ยังคงมีทศั นคตทิ ่ีดตี ่อตลาดจนี โดยกล่าววา่ “เรา
ต้องไม่ดูถูกความสามารถในการฟื้นตัวที่รวดเร็ว
 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกิจการทาง ของจนี ตอ่ ไปจนี จะตอ้ งการกงุ้ ทปี่ ลอดภยั สะอาด
ทะเลและประมงอินโดนีเซีย เปิดเผยว่า จีน และคุณภาพดีมากข้ึน ซ่ึงนั่นจะเป็นโอกาสของ
ได้ออกมาตรการห้ามน�ำเข้าสินค้าสัตว์น�้ำมีชีวิต เอกวาดอร์”
เพ่ือลดความเส่ียงจากการแพร่กระจายของไวรัส
โควิด-19 ซึ่งมาตรการดังกล่าว ส่งผลกระทบต่อ  ท้ังนี้เพื่อเป็นการช่วยเหลือผู้ประกอบ -
อุตสาหกรรมกุ้งอินโดนีเซียในจังหวัดจัมบี บน การสง่ ออกกงุ้ เอกวาดอร์ ธนาคารกลางเอกวาดอร์
เกาะสุมาตราอยา่ งหนัก มีมูลค่าการส่งออกลดลง ไดอ้ อกมาตรการเครดิตระยะสัน้ เพื่อเสรมิ สภาพ
รอ้ ยละ 95.7 จาก 1.61 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั ฯ (∼50.82 คล่องให้แก่ผู้ประกอบการท่ีด�ำเนินธุรกิจกับ
ล้านบาท) ในเดือนธันวาคม 2562 เหลือเพียง ประเทศจีน หรือประเทศท่ีมีการระบาดของไวรัส
69,800 เหรยี ญสหรฐั ฯ (∼2.20 ลา้ นบาท) ในเดอื น โควิด-19 และประสบปัญหารบั เงนิ ลา่ ชา้
กมุ ภาพันธ์ 2563
จีนเป็นตลาดใหญ่อันดับ 1 ของสินค้ากุ้งและผลิตภัณฑ์
 เจา้ หนา้ ทรี่ ายหนงึ่ ของหอ้ งเยน็ ในจงั หวดั ของเอกวาดอร์ โดยการส่งออกกุ้งไปจีนในปี 2561 และ 2562
จมั บี กล่าวว่า “การสง่ ออกก้งุ หยุดชะงกั อยา่ งสิ้น อยูท่ ่ี 98,800 ตนั และ 348,000 ตัน ตามลำ� ดับ เพม่ิ ข้ึนรอ้ ยละ
เชงิ ” ลา่ สดุ มรี ายงานวา่ ราคากงุ้ ของอนิ โดนเี ซยี ลด 252.3 (ปี 2562 เอกวาดอร์ส่งออกกงุ้ ร้อยละ 54.9 ไปจีน)
ลงมาก
เปรู
เอกวาดอร์
 ผู้ส่งออกอาหารทะเลเปรูได้รับความ
 ไวรัสโควิด-19 ได้สร้างความเสียหาย เดือดร้อนเป็นอย่างมาก หลังสินค้าหลายร้อยตัน
อย่างหนกั ต่ออตุ สาหกรรมกงุ้ เอกวาดอร์ ปรมิ าณ ไม่สามารถระบายออกจากท่าเรือไปยังลูกค้าใน
คำ� สง่ั ซอ้ื สนิ คา้ กงุ้ จากจนี ลดลงอยา่ งฉบั พลนั ในชว่ ง ประเทศจนี ได้ พรอ้ มเผยว่า สนิ คา้ ทส่ี ่งออกไปจนี
เดอื นมกราคม 2563 สง่ ผลใหร้ าคากงุ้ เอกวาดอร์ บางสว่ นตดิ อยทู่ ่ที ่าเรอื ของจนี และบางสว่ นยงั อยู่
ในชว่ งสปั ดาหแ์ รกของเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ 2563 ลด บนเรอื ไมส่ ามารถขนยา้ ยได้ เนอื่ งจากหอ้ งเยน็ ที่
ลงร้อยละ 15 - 23 ทันที เมื่อเทียบกับราคาก่อน ทา่ เรือจนี เตม็ และไมส่ ามารถรบั สินค้าใหมไ่ ดอ้ ีก
เกดิ วิกฤตไวรัสฯ

ธรุ กิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เลม่ ท่ี 191 มนี าคม - เมษายน 2563 48

A

Around the World

สหรฐั ฯ FAO

 ประธานาธบิ ดสี หรฐั ฯ นายโดนลั ด์ ทรมั ป์  องค์การอาหารและการเกษตรแห่ง
ประกาศหา้ มพลเมอื ง และสนิ คา้ ทกุ ชนดิ จากยโุ รป สหประชาชาติ (Food and Agriculture Organi -
เข้ามายังสหรัฐฯ เป็นเวลา 30 วัน เริ่มตั้งแต่ zation of the United Nations: FAO) ได้ออก
เทยี่ งคืนวนั ศกุ รท์ ี่ 13 มนี าคม 2563 โดยยกเวน้ รายงาน “The Global Shrimp Outlook 2020”
ชาวสหรัฐฯ ท่ีต้องการเดินทางกลับประเทศ และ โดยสว่ นหนงึ่ ของรายงานไดร้ ะบวุ า่ การระบาดของ
ชาวสหราชอาณาจกั ร (อังกฤษ) บัลแกเรีย โคร - ไวรัสโควิด-19 ในจีน การบริโภคกุ้งช่วงเทศกาล
เอเชีย ไซปรัส ไอร์แลนด์ และโรมาเนยี ตรุษจีนอยู่ในระดับต�่ำกว่าปกติ เน่ืองจากรัฐบาล
จนี แนะนำ� ใหป้ ระชาชนงดกจิ กรรมนอกบา้ น สง่ ผล
 ขณะท่ีส�ำนักงานคณะกรรมการอาหาร ให้ปริมาณการขายกุ้งในภัตตาคาร และโรงแรม
และยา หรือ อ.ย. ของสหรฐั ฯ (The U.S. Food ลดลงอย่างมาก และหลายเมืองในประเทศจีน
and Drug Administration: FDA) จะระงบั การ กลายเปน็ เมอื งรา้ ง
ตรวจสอบอาหาร ยา และอุปกรณ์การแพทย์น�ำ
เข้า จนถึงเดือนเมษายน เน่ืองจากมีความกังวล  ยงิ่ ไปกวา่ นนั้ FAO คาดวา่ ไวรสั โควดิ -19
ว่าบุคลากรจะติดเช้ือโควิด-19 ท่ีปนเปื้อนมากับ จะส่งผลให้ตลาดกุ้งจีนอยู่ในสภาวะซบเซาไปอีก
สนิ ค้า นายสตีเว่น ฮาน กรรมาธิการ FDA กลา่ ว หลายเดือนข้างหน้า
ในแถลงการณ์วา่ “เราตระหนักดวี ่า การกระท�ำนี้
อาจส่งผลกระทบต่อความรับผิดชอบของ FDA ท่ีมา : รวบรวมจากสอื่ ต่างประเทศ (14 ก.พ.-12 มี.ค. 63)
อย่างไรก็ตาม เราจะเฝ้าระวัง และติดตาม 1 เหรยี ญสหรฐั ฯ = 37.65 บาท (อา้ งอิงจาก ธปท. ณ
สถานการณ์อย่างใกล้ชิด และจะพยายามลดผล วนั ที่ 13 ม.ี ค. 63)
กระทบท่ีอาจเกดิ ข้นึ ”

49 ธรุ กจิ อาหารสตั ว์ ปที ่ี 37 เล่มท่ี 191 มนี าคม - เมษายน 2563

A

Around the World

การเฝา้ ระวงั สารพิ ษจากเช้ือรา
ในวัตถุดบิ อาหารสตั ว์

(Monitoring of mycotoxins
contaminated in feedstuffs)

รกั ไทย งามภักด์ิ1  วนิดา แจ้งประจักษ์1  วรี ะ อ้ิงสอาด1  นารถตยา ชมนารถ1

 ๏ บทคัดย่อ ๏

การศึกษาน้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อเฝ้าระวังการปนเปื้อนของสารพิษจากเชื้อราชนิดอะฟลา-
ทอกซินรวม อะฟลาทอกซิน (บี1 บี2 จี1 และ จี2) ฟูโมนิซิน (บี1 และ บี2) และซีราลีโนน
ในวัตถุดิบอาหารสัตว์ชนิดข้าวโพดเมล็ด ข้าวโพดป่น กากดีดีจีเอส และกลูเทนข้าวโพด โดยเก็บ
ตวั อยา่ งวตั ถดุ บิ อาหารสตั วจ์ ากสถานทเ่ี กบ็ อาหารสตั วน์ ำ� เขา้ ศนู ยร์ วบรวมวตั ถดุ บิ อาหารสตั ว์ สถานที่
ผลิตอาหารสัตว์ ฟาร์มเลย้ี งสตั ว์ และด่านตรวจสอบอาหารสัตวส์ ง่ ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั ิการ ผลการ
ตรวจวเิ คราะหพ์ บวา่ ในวตั ถดุ บิ อาหารสตั ว์ มกี ารปนเปอ้ื นของสารพษิ จากเชอ้ื ราชนดิ อะฟลาทอกซนิ รวม
คิดเป็นร้อยละ 45.27 และอะฟลาทอกซิน บี1 บี2 จี1 และ จี2 คิดเป็นร้อยละ 45.27 22.17
1.15 และ 4.62 ตามลำ� ดบั เมอื่ คดิ คา่ เฉลย่ี ของปรมิ าณอะฟลาทอกซนิ รวมทต่ี รวจพบในขา้ วโพดเมลด็
ข้าวโพดป่น กากดีดีจีเอส และกลูเทนข้าวโพด คิดเป็น 45.11 23.23 2.89 และ 2.36 ppb
ตามล�ำดับ ซึ่งไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p>0.05) โดยพบว่าค่าเฉล่ียของปริมาณ
อะฟลาทอกซนิ รวม อะฟลาทอกซนิ บ1ี บ2ี จ1ี และ จ2ี ทปี่ นเปอ้ื นในวตั ถดุ บิ อาหารสตั ว์ จากสถานท่ี
เก็บอาหารสัตว์น�ำเข้า ศูนย์รวบรวมวัตถุดิบอาหารสัตว์ สถานที่ผลิตอาหารสัตว์ ฟาร์มเลี้ยงสัตว์
ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำ� คัญทางสถิติ (p>0.05) ส�ำหรับวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่มีการปนเปื้อนของ
ฟโู มนิซนิ บี1 และ บี2 คดิ เปน็ ร้อยละ 100 และ 98.85 ตามล�ำดับ เม่อื คิดคา่ เฉล่ยี ของปรมิ าณ
ฟูโมนิซินท่ีปนเปื้อนในวัตถุดิบอาหารสัตว์ พบว่า ข้าวโพดป่นมีปริมาณฟูโมนิซิน บี1 สูงที่สุด คือ

ทะเบยี นวชิ าการเลขที:่ 63(2)-0322-032 50
1 กองควบคุมอาหารและยาสัตว์ กรมปศุสัตว์

ธรุ กิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เลม่ ที่ 191 มีนาคม - เมษายน 2563

A

Around the World

1,072.20 ppb มีความแตกต่างอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p<0.05) เม่ือเทียบกับการปนเปื้อนใน
ข้าวโพดเมล็ด กากดีดีจีเอส และกลูเทนข้าวโพด ปริมาณ 487.80 537.10 และ 688.90 ppb
ตามล�ำดับ โดยพบว่าค่าเฉลี่ยของปริมาณฟูโมนิซิน บี1 และ บี2 ที่ปนเปื้อนในวัตถุดิบอาหารสัตว์
สงู ทสี่ ดุ มาจากฟารม์ เลย้ี งสตั ว์ เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั วตั ถดุ บิ อาหารสตั วจ์ ากแหลง่ อน่ื ๆ อยา่ งมนี ยั สำ� คญั
ทางสถิติ (p<0.05) ส�ำหรับการปนเปอ้ื นของซีราลีโนน คดิ เป็นรอ้ ยละ 33.49 ของจ�ำนวนตวั อยา่ ง
วัตถุดิบอาหารสัตว์ทั้งหมด เม่ือคิดค่าเฉลี่ยปริมาณของซีราลีโนน พบว่าในวัตถุดิบอาหารสัตว์ชนิด
กลูเทนข้าวโพดมีปริมาณสูงที่สุด 146.40 ppb รองลงมาคือข้าวโพดเมล็ดปริมาณ 122.33 ppb
ซงึ่ มคี วามแตกตา่ งอยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทางสถติ ิ (p<0.05) แตพ่ บวา่ ไมแ่ ตกตา่ งอยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทางสถติ ิ
(p>0.05) กบั กากดดี จี เี อส ปรมิ าณ 111.85 ppb และขา้ วโพดปน่ 91.65 ppb ตามลำ� ดบั นอกจากนี้
ค่าเฉล่ียของปริมาณซีราลีโนนที่ตรวจพบในวัตถุดิบอาหารสัตว์จากด่านตรวจสอบอาหารสัตว์ และ
สถานทเ่ี กบ็ อาหารสตั วน์ ำ� เขา้ ปรมิ าณ 138.79 และ 124.31 ppb ตามลำ� ดบั โดยวตั ถดุ บิ อาหารสตั ว์
จากศูนย์รวบรวมวัตถุดิบอาหารสัตว์ ตรวจพบค่าเฉล่ียของปริมาณการปนเปื้อนซีราลีโนนน้อยท่ีสุด
ปริมาณ 45.87 ppb ซึ่งมีความแตกต่างอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p<0.05) ผลการศึกษาคร้ังนี้
พบวา่ บางตวั อยา่ งตรวจพบการปนเปอ้ื นของสารพษิ จากเชอ้ื ราในระดบั ทเี่ กนิ มาตรฐานตามพระราช-
บัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ. 2558 ซ่ึงได้แก่ อะฟลาทอกซินรวม หรือเกินมาตรฐาน
ของสหภาพยุโรป ได้แก่ ฟูโมนิซิน ซ่ึงแสดงให้เห็นว่าปัญหาการปนเปื้อนของสารพิษจากเชื้อราใน
วัตถุดบิ อาหารสตั ว์ยังคงมอี ยู่ ดงั นน้ั แผนการตรวจตดิ ตามและเฝ้าระวงั สารพษิ จากเชอื้ ราในวัตถดุ บิ
อาหารสตั วต์ อ้ งดำ� เนนิ การอยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพอื่ นำ� ขอ้ มลู มาวางแผนการควบคมุ ปอ้ งกนั สารพษิ จากเชอื้ รา
ทป่ี นเปอ้ื นในวตั ถดุ บิ อาหารสตั ว์ ตลอดจนกำ� หนดคา่ มาตรฐานทเ่ี หมาะสม ซง่ึ จะสง่ ผลใหอ้ าหารสตั ว์
มคี ุณภาพ และปลอดภยั ต่อสตั วต์ ลอดจนผบู้ รโิ ภคสนิ ค้าปศุสตั ว์

คำ� ส�ำคญั : อะฟลาทอกซนิ ฟูโมนิซิน ซรี าลีโนน วตั ถดุ บิ อาหารสัตว์ การปนเปอ้ื น

51 ธรุ กจิ อาหารสตั ว์ ปที ่ี 37 เล่มท่ี 191 มนี าคม - เมษายน 2563

A

Around the World

๏ Abstract ๏

The objective of this study was analyzed for 3 types of mycotoxins contaminations
including Total Aflatoxin, Aflatoxin (type B1, B2, G1, and G2), Fumonisin (type B1 and B2)
and Zearalenone from 443 samples of corn, corn meal, DDGSs and corn gluten from raw
material imported warehouses, raw materials collection centers, feed mills, farms, DLD feed
checkpoints and send the samples to analyze in the laboratory. Results showed that total
aflatoxin contaminations in the raw material are 45.27%. There were aflatoxin type B1,
B2, G1, and G2 were 45.27% 22.17% 1.15% and 4.62%, respectively. The mean level of
aflatoxin in corn, corn meal, DDGSs and corn gluten were 45.11, 23.23, 2.89, and 2.36 ppb,
respectively. There were not statistically different (p>0.05). When compare aflatoxins
contamination among raw material imported warehouse, raw materials collection centers,
feed mills, and farms there were not statistically different (p>0.05). Moreover, fumonisin
B1 and fumonisin B2 contaminations were 100% and 98.85%, respectively. The result
shows that the mean level of fumonisin contamination was high in corn meal (1072.20
ppb) and there is a statistically significant difference comparing among corn (487.80
ppb), DDGSs (537.10 ppb) and corn gluten (688.90 ppb). The mean level of fumonisin
B1 and fumonisin B2 contamination in the farm is the highest level when compared to
the raw material imported warehouses, raw materials collection centers, feed mills, and
DLD feed checkpoints (p<0.05). Zearalenone contaminations were 33.49% of the whole
sample that corn gluten is the raw material that showed a high level of contamination
(146.40 ppb) that significant differences from corn (122.33 ppb) (p<0.05), but not
significantly different from DDGSs and corn meal were 111.85, 91.65 ppb, respectively.
The mean level of zearalenone contamination of DLD feed checkpoints and raw material
imported warehouses were 138.79 and 124.31 ppb, respectively and showed the lowest
level at raw materials collection centers (45.87 ppb) with a statistically significant difference
(p<0.05). In summary, mycotoxin contaminations were higher than the acceptable level
of animal feed quality control act B.E. 2558. (2015) in some samples such as total
aflatoxin contamination and higher than the level of the acceptable level of EU regulation
such as fumonisin. Thus, this study revealed the situation of mycotoxins contamination

ธุรกจิ อาหารสัตว์ ปีท่ี 37 เลม่ ที่ 191 มนี าคม - เมษายน 2563 52



30 เมษายน พ.ศ. 2563

VICTAM and Animal Health and Nutrition Asia
ประกาศเลือ่ นการจดั งานเป็นวนั ที่ 18 - 20 มกราคม พ.ศ. 2565

สืบเน่ืองจากสถานการณ์การระบาดของไวรัส COVID-19 ทั่วโลก คณะผู้บริหารจาก VICTAM Corporation และ VIV
worldwide ก่อนหน้านีต้ ัดสินใจประกาศเปล่ยี นวนั จดั งาน VICTAM and Animal Health and Nutrition Asia ไปอยูใ่ นช่วง
ตน้ ไตรมาสทส่ี ามของปี พ.ศ. 2563 อยา่ งไรกด็ ี สถานการณท์ ว่ั โลกยงั คงอยใู่ นชว่ งวกิ ฤต และจำ� เปน็ ตอ้ งใชร้ ะยะเวลาทย่ี าวนานขนึ้
ในการแกไ้ ขปญั หา ทางผู้จัดจึงไมส่ ามารถจัดงานในช่วงต้นเดือนกรกฎาคมตามก�ำหนดการเดมิ ตราบใดที่สถานการณ์การระบาด
COVID-19 ยังคงส่งผลกระทบต่อธุรกิจท่ัวโลก จึงน�ำมาสู่บทสรุปที่ต้องยอมรับว่า เราไม่สามารถจัดงานแสดงสินค้าในช่วงน้ีได้
เพราะลูกค้าคอื บุคคลทีส่ ำ� คญั ทส่ี ุดส�ำหรบั เรา

ทัง้ น้ี การเลอ่ื นการจดั งานไปยงั เดอื นมกราคม ปี พ.ศ. 2565 จะทำ� ใหท้ ุกภาคส่วนไดม้ เี วลาไปใสใ่ จกบั ประเด็นสำ� คัญอื่นๆ
มากขน้ึ พันธกจิ หลักของเราคือ การนำ� เสนอเวทเี จรจาธรุ กิจทม่ี ีประสทิ ธภิ าพใหเ้ กดิ มูลค่าการซอื้ ขายทเี่ พิม่ ขึ้น รวมถงึ เสรมิ สรา้ ง
ให้อุตสาหกรรมแข็งแรง และเอ้ือผลประโยชน์แก่ทุกฝ่าย ผลจากการระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ท�ำให้เราไม่สามารถบรรลุ
ความตั้งใจและประสบความส�ำเร็จในพันธกิจนี้ได้ในช่วงเวลานี้ เราเชื่อม่ันว่านี่เป็นการตัดสินใจที่ถูกต้องส�ำหรับส่วนรวม และ
เราจะกลบั มาอยา่ งเข้มแข็งไปด้วยกนั อกี ครั้งในปี พ.ศ. 2565

งาน VICTAM and Animal Health and Nutrition Asia เปลี่ยนกำ� หนดการจัดงานใหม่เปน็ วนั ท่ี 18 - 20 มกราคม
พ.ศ. 2565 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค กรุงเทพฯ โดยมีวัตถุประสงค์คงเดิมคือ การมุ่งเน้นความส�ำคัญของ
ธรุ กจิ อาหารสัตว์และสุขภาพสัตว์ จดั โดย VICTAM และ VIV

นอกจากนั้นทาง Victam Corporation และ VIV worldwide ยังมีอีกหนึ่งความร่วมมือส�ำหรับการจัดงานในยุโรป
ปี พ.ศ. 2565 โดยมกี ำ� หนดการจดั งาน VICTAM International และ VIV Europe พรอ้ มกนั ณ ศูนยน์ ทิ รรศการและการประชมุ
Jaarbeurs เมอื ง Utrecht ประเทศเนเธอรแ์ ลนด์ ระหว่างวันท่ี 31 พฤษภาคม ถงึ 2 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2565

รายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ : www.victamasia.com หรือ www.vivhealthandnutrition.nl

Sebas van den Ende Heiko M. Stutzinger

ผจู้ ดั การท่ัวไป ผู้อ�ำนวยการ VIV worldwide

VICTAM Corporation กรรมการผูจ้ ัดการ บรษิ ัท วเี อ็นยู เอเชีย แปซิฟคิ จ�ำกดั

ตดิ ต่อ ฝ่ายประชาสมั พนั ธแ์ ละสอ่ื สารการตลาด
•Ms. Elena Geremia, [email protected] (Senior MarCom Manager VIV worldwide)

•Ms. Saengtip Techapatiphandee, [email protected] (Campaign Manager Asia VNU Asia Pacific)

•Mrs. Catelijne de Gooijer, [email protected] (Marketing and Communications Manager VICTAM)

A

Around the World

in raw materials still impacts animal feed production, therefore the mycotoxins monitoring
and surveillance plan in feed is a continued important measure which results in the quality
and safety of animal feed for animals as well as consumers of livestock products.

Key words: Aflatoxin, Fumonisin, Zearalenone, feedstuffs, contamination

๏ บทนำ� ๏

ประเทศไทยอยู่เขตภูมิอากาศร้อนช้ืน มีสภาวะเหมาะสมให้เกิดการเจริญเติบโตของเชื้อรา
ที่สามารถผลิตสารพิษได้ (Mycotoxin) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผลิตผลทางการเกษตรท่ีใช้เป็นวัตถุดิบ
เพ่ือน�ำมาประกอบเปน็ สูตรอาหารสตั ว์ เชน่ ขา้ วโพด ข้าวฟา่ ง ขา้ วสาลี ถัว่ ลิสง และถว่ั เหลอื ง เปน็ ตน้
ซึ่งการปนเปื้อนของสารพิษจากเชื้อราในอาหารเป็นปัญหาท่ีทั่วโลกให้ความส�ำคัญ โดยมีผลเสียต่อท้ัง
สุขภาพของสัตว์ และมนุษย์ท่ีบริโภคเนื้อสัตว์ท่ีมีการปนเปื้อนของสารพิษนั้นเข้าไป นอกจากน้ี ยังเป็น
ปัญหาทางการค้าระหว่างประเทศท่ีส�ำคัญด้วย การปนเปื้อนสารเมทาบอไลต์จากเช้ือราน้ัน สามารถ
เกิดขึน้ ได้ต้งั แตร่ ะหว่างกระบวนการผลติ กระบวนการเก็บเก่ียว กระบวนการขนส่ง และกระบวนการ
เกบ็ รกั ษา ในปจั จบุ นั มกี ารตรวจพบสารพษิ จากเชอื้ ราทมี่ ากกวา่ 300 ชนดิ แตม่ เี พยี งประมาณ 40 ชนดิ
เทา่ นนั้ ท่สี ามารถจำ� แนกชนิดได้ (Erwan, 2012) ส�ำหรบั สารพิษจากเช้อื ราทม่ี ีความส�ำคัญ และมกั พบ
ไดบ้ อ่ ยในวตั ถดุ บิ อาหารสตั วแ์ ละอาหารสตั วผ์ สมสำ� เรจ็ รปู ไดแ้ ก่ สารพษิ ชนดิ อะฟลาทอกซนิ (Aflatoxin)
สร้างโดยเชือ้ รา Aspergillus flavus และ A. paraciticus โดยทวั่ ไปจะพบในวัตถุดิบอาหารสตั ว์ และ
อาหารสตั วผ์ สมสำ� เรจ็ รปู เปน็ สว่ นใหญ่ ซง่ึ เชอื้ ราชนดิ นส้ี ามารถสรา้ งสารพษิ ได้ 4 ชนดิ คอื อะฟลาทอกซนิ
บี 1  อะฟลาทอกซนิ บ2ี   อะฟลาทอกซนิ จ1ี และอะฟลาทอกซนิ จ2ี   สารพษิ โอคราทอกซนิ (Ochratoxin)
สรา้ งโดยเชอ้ื ราในกลมุ่ Aspergillus spp. และ Pennicillium spp. สารพิษโอคราทอกซินตรวจพบได้
มี 2 ชนดิ คอื โอคราทอกซนิ เอ และ โอคราทอกซนิ บี แตช่ นดิ ทพ่ี บไดต้ ามธรรมชาติ คอื โอคราทอกซนิ เอ
สารพิษซีราลโี นน (Zearalenone) สร้างโดยเช้ือราในกลุ่ม Fusarium spp. ได้แก่ F. graminearum
สารพิษฟโู มนิซนิ (Fumonisins) สร้างจาก เช้อื ราในกลุ่ม Fusarium spp. ได้แก่ F. moniliforme และ
F. proliferatum โดยทัว่ ไปมักพบปนเปอ้ื นในข้าวโพด สารพิษทรโิ คทซี นี (Trichothecene) เปน็ สารพษิ
ทส่ี รา้ งจากเช้ือราหลายชนิดในกลมุ่ Fusarium spp. และ Trichoderma spp. สารพิษในกลมุ่ น้ี ได้แก่
Trichothecium, Gliocladium, Myrothecium, Stachybotrys และอกี หลายชนิด แต่ทีพ่ บตามธรรมชาติ
ไดแ้ ก่ Deoxynivalenol (DON) และ T-2 toxin

53 ธุรกจิ อาหารสตั ว์ ปที ี่ 37 เล่มท่ี 191 มีนาคม - เมษายน 2563

A

Around the World

โดยองค์การอนามัยโลกจัดให้สารพิษอะฟลาทอกซินเป็นสารก่อมะเร็งท่ีร้ายแรงที่สุดชนิดหน่ึง
เนือ่ งจากสารอะฟลาทอกซนิ ปรมิ าณเพียง 1 ไมโครกรัม สามารถทำ� ให้เกิดการกลายพันธใ์ุ นแบคทีเรีย
และทำ� ใหเ้ กดิ มะเรง็ ตบั ในสตั วท์ ดลองไดห้ ากไดร้ บั อยา่ งตอ่ เนอื่ ง สำ� หรบั โรคทต่ี รวจพบในคนอนั เนอื่ งจาก
สารอะฟลาทอกซิน ได้แก่ โรคมะเร็งตับ โรคตับอกั เสบ โรคตับแขง็ โรคสมองอักเสบ (FAO, 2006)
สำ� หรบั สตั วท์ ไี่ ดร้ บั สารพษิ จากเชอื้ ราเขา้ สรู่ า่ งกาย สารพษิ จะทำ� ลายระบบการทำ� งานของรา่ งกาย ทำ� ให้
สตั ว์เจรญิ เติบโตชา้ ความต้านทานโรคลดลง น�้ำนมลด อัตราการผสมตดิ ลดลง อตั ราการเปลี่ยนเน้อื
ลดลง และถ้าสัตว์ได้รับสารพิษในปริมาณสูงอาจทำ� ให้สัตว์ตายได้ โดยในสุกรท่ีได้รับสารน้ีจะมีอาการ
ผอม ขนหยาบกร้าน อจุ จาระร่วง และมสี ีเหลอื งจดั ขาหลงั อ่อนแรง ยืนตัวโก่ง สำ� หรบั ในโค - กระบอื
การเกิดพิษในลูกสัตว์จะมีความรุนแรงมากกว่าในสัตว์ที่โตเต็มวัยแล้ว โดยสัตว์จะแสดงอาการกระสับ
กระส่าย พยายามถ่าย หรือเบ่งมากจนทวารหนักทะลักออกมา และตายในที่สุด (บดินทร์, 2555)
สารพษิ อะฟลาทอกซนิ ทีส่ �ำคญั และมคี วามรุนแรงที่สดุ คือ สารพษิ อะฟลาทอกซิน บี1 พบว่าเป็ด และ
ไก่งวงจะมีความไวต่อการเป็นพิษมากกว่าไก่ หากเกิดพิษในไก่เน้ือจะท�ำให้คุณภาพซากไม่ดี อาจต้อง
คัดท้ิงท้ังฟาร์ม หรือถูกตัดราคาท่ีโรงเชือดได้ (สิทธิทัศน์, 2558) ฟูโมนิซินเป็นกลุ่มของสารพิษจาก
เชอ้ื ราท่เี กดิ ไดใ้ นธรรมชาติ พบมีหลายชนดิ แตท่ ี่พบมาก และมคี วามเปน็ พิษรุนแรง คือ ฟูโมนิซิน บี1
และฟโู มนซิ นิ บ2ี โดยมกั พบในขา้ วโพด หรอื อาหารทม่ี ขี า้ วโพดเปน็ สว่ นประกอบ ซง่ึ พษิ ของมนั มผี ลกระทบ
ตอ่ การทำ� งานของระบบตา่ งๆ ของสตั ว์ เชน่ ระบบประสาท ระบบหวั ใจ และหลอดเลอื ด โดยเฉพาะในมา้
และสกุ ร เป็นสัตว์ทมี่ ีความไวต่อพิษชนดิ นมี้ าก ในมา้ จะท�ำใหเ้ กดิ โรค equine leukoencephalomalacia
(ELEM) และในสกุ รจะทำ� ให้เกิดโรค porcine pulmonary edema (PPE) (คมกริช, 2544) ส�ำหรับ
สารพษิ จากเชอื้ ราชนดิ ชรี าลโี นนมกั พบปนเปอ้ื นในขา้ วสาลี และขา้ วโพดเลยี้ งสตั ว์ โดยพษิ ของมนั จะมผี ล
ตอ่ ระบบฮอรโ์ มนสืบพันธข์ุ องสัตว์ ท�ำให้การผสมติดลดลง (นิธิยา, 2553)

ปัจจุบันการควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ ตามพระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ.
2558 ได้ก�ำหนดการปนเปื้อนของอะฟลาทอกซินในวัตถุดิบอาหารสัตว์ไว้ในระดับที่ต่างกัน ขึ้นกับ
ประเภทของอาหารสตั ว์ เชน่ ในวัตถุดบิ อาหารสตั วก์ �ำหนดการปนเป้ือนของอะฟลาทอกซนิ รวม ตัง้ แต่
40 - 500 ไมโครกรัมต่อหนึง่ กิโลกรัม (กรมปศสุ ตั ว,์ 2559) ส�ำหรับมาตรฐานของสหภาพยุโรป (EU)
ตาม Commission Directive 2003/100/EC 31 October 2003 ก�ำหนดปริมาณการปนเปื้อน
อะฟลาทอกซนิ บ1ี ไวไ้ มเ่ กนิ 20 ไมโครกรมั ตอ่ หนง่ึ กโิ ลกรมั แตเ่ นอื่ งจากวา่ ตวั อยา่ งอาหารสตั วบ์ างชนดิ
พบสารพษิ จากเชือ้ รามคี า่ เกินมาตรฐานของสหภาพยุโรป หรอื เกินค่ามาตรฐานที่ก�ำหนดตามพระราช -
บัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ. 2558 การศึกษาในคร้ังนี้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือเฝ้าระวังการ
ปนเปอ้ื นของสารพษิ จากเชอื้ ราชนดิ อะฟลาทอกซนิ รวม อะฟลาทอกซนิ (บ1ี บ2ี จ1ี และ จ2ี ) ฟโู มนซิ นิ
(บี1 และ บี2) และซีราลีโนน ในวัตถุดิบอาหารสัตว์ 4 ชนิด ได้แก่ ข้าวโพดเมล็ด ข้าวโพดป่น
กากดีดีจีเอส และกลูเทนข้าวโพด จากสถานท่ีเก็บอาหารสัตว์น�ำเข้า ศูนย์รวบรวมวัตถุดิบอาหารสัตว์
สถานทผี่ ลติ อาหารสตั ว์ ฟารม์ เลยี้ งสตั ว์ และดา่ นตรวจสอบอาหารสตั ว์ เพอื่ ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ในการพจิ ารณา

ธรุ กิจอาหารสตั ว์ ปที ี่ 37 เล่มที่ 191 มนี าคม - เมษายน 2563 54

A

Around the World

คา่ มาตรฐานปรมิ าณสารพษิ จากเชอ้ื ราในวตั ถดุ บิ อาหารสตั วท์ เี่ ปน็ ปจั จยั หลกั ในการผลติ อาหารสตั ว์ และ
เฝ้าระวังปริมาณสารพิษจากเชื้อราให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน และเพื่อให้อาหารสัตว์มีความปลอดภัย
ต่อสขุ ภาพสตั ว์ สง่ เสรมิ ใหผ้ ลิตภณั ฑด์ ้านการปศสุ ัตวไ์ ทยมีคุณภาพ และปลอดภัยต่อผบู้ รโิ ภค

๏ วธิ กี ารศึกษา ๏

การเกบ็ ตัวอย่าง

กำ� หนดจำ� นวนสถานทเี่ ปา้ หมาย และจำ� นวนตวั อยา่ งอาหารสตั ว์ โดยใชโ้ ปรแกรม Win Episcope
2.0 ทคี่ วามชกุ ทีค่ าดไว้เทา่ กบั 50 เปอรเ์ ซน็ ต์ ค่าความคลาดเคลื่อนท่ยี อมรับไดเ้ ท่ากับ 5 เปอร์เซน็ ต์
และระดบั ความเชอ่ื มน่ั เท่ากับ 90 เปอรเ์ ซ็นต์ และท�ำการคดั เลอื กกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธกี ารสุม่ ตวั อย่าง
แบบหลายขั้นตอน

ตัวอย่างวัตถุดิบอาหารสัตว์จากสถานท่ีเก็บอาหารสัตว์น�ำเข้า ศูนย์รวบรวมวัตถุดิบอาหารสัตว์
สถานท่ผี ลิตอาหารสัตว์ ฟาร์มเลี้ยงสตั ว์ และด่านตรวจสอบอาหารสัตว์ ระหว่างเดือนมถิ นุ ายน 2560 -
ธนั วาคม 2561 จำ� นวน 433 ตวั อยา่ ง ไดแ้ ก่ ข้าวโพดเมลด็ 214 ตัวอย่าง ข้าวโพดป่น 117 ตวั อยา่ ง
กากดีดีจเี อส 83 ตวั อยา่ ง และกลูเทนข้าวโพด 19 ตัวอยา่ ง เพ่อื ตรวจวเิ คราะหห์ าปรมิ าณการปนเปื้อน
สารพิษจากเชื้อรา ณ ห้องปฏิบัติการพิษวิทยาและชีวเคมี/สารพิษจากเช้ือรา กลุ่มตรวจสอบคุณภาพ
อาหารสัตว์ สำ� นกั ตรวจสอบคณุ คณุ ภาพสินคา้ ปศุสัตว์ กรมปศสุ ัตว์

การสกัดตวั อย่าง (สทุ ธพิ ร, 2557)

นำ� ตวั อยา่ งวตั ถดุ บิ อาหารสตั วท์ สี่ มุ่ เกบ็ ไดม้ าวเิ คราะหห์ าปรมิ าณการปนเปอ้ื นสารพษิ จากเชอื้ รา 3
ชนดิ คือ อะฟลาทอกซนิ (อะฟลาทอกซินรวม บี 1 บี 2 จี 1 จี 2) ฟูโมนซิ ิน (บี 1 และ บี 2) และ
ซรี าลโี นน โดยวธิ ี High Pressure Liquid Chromatography (HPLC) สกดั สารพษิ จากเชอื้ ราในตวั อยา่ ง
วตั ถดุ บิ อาหารสตั วต์ ามวธิ กี ารของ AOAC (AOAC, 2005) ดงั น้ี บดตวั อยา่ งวตั ถดุ บิ อาหารสตั วใ์ หม้ ขี นาด
1 มลิ ลเิ มตร ชง่ั ตวั อยา่ งวตั ถดุ บิ อาหารสตั วท์ บ่ี ดแลว้ 25 กรมั และ NaCl 5 กรมั เตมิ methanol 80 %
ปรมิ าตร 100 ml นำ� ไปปน่ั แลว้ กรองดว้ ยกระดาษกรอง ดดู สารละลายตวั อยา่ ง 5 มลิ ลลิ ติ ร ผสมนำ้� DI
20 มิลลิลติ ร แลว้ กรองผ่าน glass microfiber หลังจากนนั้ น�ำไปกรองผ่าน immuno - affinity column
ลา้ งด้วยน�้ำ DI ชะสารพษิ ออกจากคอลมั นด์ ้วย methanol (HPLC grade) เกบ็ สารละลายทชี่ ะออกมา
ใสใ่ น cuvette เปา่ ให้แห้งด้วยกา๊ ซไนโตรเจน เตมิ acetonitrile 90% ปรมิ าตร 500 µl ผสมให้เขา้ กัน
แลว้ กรองสารละลายตัวอย่างผ่าน vial - filter ขนาด 0.45 µm

55 ธรุ กจิ อาหารสตั ว์ ปีที่ 37 เล่มท่ี 191 มีนาคม - เมษายน 2563

A

Around the World

การวเิ คราะหต์ ัวอย่าง

น�ำสารสกัดที่ได้มาวิเคราะห์ด้วยเคร่ือง HPLC ยี่ห้อ Agilent รุ่น HP 1100 จับสัญญาณด้วย
Fluorescence detector และ Photochemical reactor ท่ี excitation 360 nm และ emission ที่
440 nm ใชส้ ภาวะในการวเิ คราะหห์ าปรมิ าณสารพษิ จากเชื้อราของเครื่อง HPLC ดังนี้ ใช้คอลมั น์ C18
(ODS - 3) 150 × 4.6 mm., 5 µm เฟสเคลื่อนท่ี (mobile phase) ใช้Methanol, DI water, และ
acetonitrile ในอัตราส่วน 45 : 55 : 5 อัตราการไหล (flow rate) ที่ 1 ml/min ปริมาณสารท่ีใชฉ้ ดี
ตวั อยา่ งท่ี 10 µl เวลาในการวเิ คราะหท์ ี่ 15 นาที สารมาตรฐานทใ่ี ช้ ไดแ้ ก่ สารมาตรฐาน Aflatoxin B1,
Aflatoxin B2, Aflatoxin G1, Aflatoxin G2, Fumonisin B1, Fumonisin B2 และ Zearalenone คำ� นวณ
ปริมาณสารพิษจากพน้ื ท่ีใตพ้ ีคของตวั อย่างเปรยี บเทยี บกับสารมาตรฐาน

การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทางสถิติ

น�ำข้อมูลท่ีได้มาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณา (Descriptive statistics) เช่น ค่าเฉลี่ย ส่วน
เบยี่ งเบนมาตรฐาน ความแปรปรวน และเปรยี บเทยี บขอ้ มลู ระหวา่ งกลมุ่ โดยวธิ ี Duncan’s New Multiple
Range test ทร่ี ะดบั ความเชอื่ ม่ัน 95%

๏ ผลการศึกษาและวจิ ารณ์ ๏

การตรวจวเิ คราะหห์ าปรมิ าณสารพษิ จากเชอ้ื ราชนดิ อะฟลาทอกซนิ รวม อะฟลาทอกซนิ (บ1ี บ2ี
จี1 และ จี2) ฟูโมนิซิน (บ1ี และ บี2) และซรี าลโี นน ปนเปือ้ นในวตั ถดุ บิ อาหารสัตวช์ นดิ ขา้ วโพดเมล็ด
ข้าวโพดป่น กากดีดีจีเอส และกลูเทนข้าวโพด ท่ีสุ่มเก็บตัวอย่างจากสถานที่เก็บอาหารสัตว์น�ำเข้า
ศนู ยร์ วบรวมวตั ถดุ บิ อาหารสตั ว์ สถานทผี่ ลติ อาหารสตั ว์ ฟารม์ เลยี้ งสตั ว์ และดา่ นตรวจสอบอาหารสตั ว์
พบว่า ปริมาณอะฟลาทอกซินรวม ปนเปื้อนในวัตถุดิบอาหารสัตว์ มีค่าเฉล่ีย (means ± SD) อยู่ที่
14.73 ± 62.85 ppb ปริมาณการปนเปื้อนสูงสุด 623.79 ppb เมื่อวิเคราะห์แยกชนิดของอะฟลา-
ทอกซิน พบว่าสารพษิ จากเช้อื ราชนดิ อะฟลาทอกซนิ บี1 อะฟลาทอกซิน บี2 อะฟลาทอกซิน จี1 และ
อะฟลาทอกซนิ จ2ี มกี ารปนเปอ้ื นเฉลย่ี (means ± SD) ทรี่ ะดบั 13.44 ± 57.14 1.06 ± 4.80 0.09 ± 1.30
และ 0.13 ± 0.80 ppb ตามลำ� ดบั ปรมิ าณการปนเป้ือนสูงสดุ 592.60 54.20 24.67 และ 8.71 ppb
ตามล�ำดับ

ส�ำหรับปริมาณการปนเปื้อนสารพิษจากเชื้อรา ชนิดฟูโมนิซิน บี1 และฟูโมนิซิน บี2 มีการ
ปนเปอื้ นเฉล่ยี (means ± SD) 629.44 ± 1,009.69 และ 192.54 ± 348.68 ppb ตามลำ� ดบั ปรมิ าณ
การปนเปอ้ื นตำ่� สดุ ทร่ี ะดบั 0.64 และ 0.00 ppb ตามลำ� ดบั และปรมิ าณการปนเปอ้ื นสงู สดุ 8,259.41
และ 3,132.37 ppb ตามล�ำดบั ในสว่ นของฟูโมนซิ นิ บ1ี ตรวจพบในวตั ถดุ บิ อาหารสัตวท์ ุกตัวอยา่ ง

ธุรกจิ อาหารสตั ว์ ปที ่ี 37 เล่มที่ 191 มนี าคม - เมษายน 2563 56

A

Around the World

ส�ำหรับสารพิษจากเชื้อราชนิดซีราลีโนนตรวจพบในวัตถุดิบอาหารสัตว์มีการปนเปื้อนเฉล่ีย
37.28 ± 65.97 ppb และปรมิ าณการปนเป้ือนสงู สดุ 431.70 ppb ดังแสดงในตารางท่ี 1

ตารางท่ี 1 ค่าสถิติของข้อมลู ปรมิ าณการปนเป้ ือนสารพิษจากเช้ือราในวัตถุดิบอาหารสัตว์ (ppb)

คา่ สถิติ AfB1 อะฟลาทอกซิน Total Af ฟโู มนิซนิ ซรี าลีโนน
AfB2 AfG1 AfG2 FumB1 FumB2

N 433 433 433 433 433 433 433 433

Min 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.64 0.00 0.00

Max 592.60 54.20 24.67 8.71 623.79 8,259.41 3,132.37 431.70

Mean 13.44 1.06 0.09 0.13 14.73 629.44 192.54 37.28

SD 57.14 4.80 1.30 0.80 62.85 1,009.69 348.68 65.97

เม่ือศึกษาแยกตามชนดิ ของวัตถดุ บิ อาหารสตั ว์ท่ีส่มุ ตรวจ ปรากฏวา่ รอ้ ยละ 54.73 ตรวจไมพ่ บ
การปนเปื้อนของสารพิษจากเช้ือรา และร้อยละ 45.27 ตรวจพบว่ามีการปนเปื้อนของสารพิษจาก
เช้ือราในตัวอย่างวัตถุดิบอาหารสัตว์ โดยร้อยละของตัวอย่างท่ีตรวจพบการปนเปื้อนสารพิษจากเชื้อรา
มากที่สุดคือ ข้าวโพดป่น (81.20) รองลงมาคอื ข้าวโพดเมล็ด (42.99) กลูเทนขา้ วโพด (31.58) และ
กากดดี จี เี อส (3.62) ตามลำ� ดบั ซง่ึ ไมม่ คี วามแตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทางสถติ ิ (p>0.05) ดงั แสดง
ในตารางท่ี 2

กรณีท่ีข้าวโพดป่นตรวจพบจ�ำนวนตัวอย่างที่ปนเปื้อนสารพิษจากเช้ือรามากที่สุด เน่ืองจากมี
ลักษณะทางกายภาพเป็นผงละเอียด ซ่ึงเหมาะต่อการเจริญเติบโตของเช้ือรา เน่ืองจากสภาพความ
สมบูรณ์ของเมล็ดเป็นปัจจัยหน่ึงในการเจริญเติบโตของเช้ือรา และถ้าวัตถุดิบอาหารสัตว์นั้นมีเช้ือรา
อยู่แล้ว และเก็บรักษาที่อุณหภูมิ หรือความช้ืนสูง ก็จะส่งเสริมให้เช้ือราเจริญเติบโตได้ดี และมีการ
สร้างสารพิษในปริมาณมาก (Piotrowska และคณะ, 2013) ส่วนกากดีดีจีเอส (DDGS: Distillers
Dried Grains with Solubles) ที่พบจ�ำนวนตัวอย่างท่ีปนเปื้อนสารพิษจากเช้ือราน้อยที่สุด เนื่องจาก
กากดีดีจีเอส เป็นส่วนท่ีเหลือจากการผลิตเอทิลแอลกอฮอล์โดยการหมักเมล็ดธัญพืช ได้แก่ ข้าวโพด
ข้าวไรซ์ ขา้ วฟา่ ง ขา้ วสาลี ขา้ วบาร์เลย์ ด้วยวิธีการกล่ันแยกเอาเอทิลแอลกอฮอล์ออกไป แล้วนำ� กาก
ทเี่ หลอื ไปทำ� ใหแ้ หง้ ทอ่ี ณุ หภมู ปิ ระมาณ 90 องศาเซลเซยี ส หรอื นำ� กากรวมกบั ของเหลวทเ่ี หลอื ไปทำ� ให้
แห้ง (ธรี าภรณ,์ 2554) จึงทำ� ใหเ้ ชือ้ ราเจริญเตบิ โตไดน้ ้อย

57 ธุรกจิ อาหารสัตว์ ปที ี่ 37 เล่มที่ 191 มนี าคม - เมษายน 2563

A

Around the World

ตารางท่ี 2 แสดงจ�ำนวนตัวอยา่ งวตั ถดุ ิบอาหารสัตวแ์ ต่ละชนิดที่พบสารพษิ จากเช้อื รา

ประเภท ขา้ วโพดเมล็ด ขา้ วโพดปน่ วัตถดุ ิบอาหารสัตว์ กากดดี ีจีเอส รวม
214 117 กลเู ทนขา้ วโพด 83 433
จำ� นวนตัวอย่าง 237 (54.73)
ไม่พบ (รอ้ ยละ) 122 (57.01) 22 (18.80) 19 80 (96.38) 196 (45.27)
พบ (ร้อยละ) 92 (42.99) 95 (81.20) 13 (68.42) 3 (3.62)
6 (31.58)

ตารางที่ 3 แสดงจ�ำนวนตัวอยา่ งวัตถุดิบอาหารสตั ว์ที่ตรวจพบสารพษิ จากเช้อื ราแต่ละชนิด

ชนิดสารพิษจากเช้อื รา

ประเภท อะฟลาทอกซิน AfG2 ฟูโมนซิ นิ ซรี าลีโนน
จ�ำนวนตัวอยา่ ง Total Af AfB1 AfB2 AfG1 FB1 FB2
ไม่พบ (ร้อยละ)
พบ (รอ้ ยละ) 433 433 433 433 433 433 433 433

237 237 337 428 413 0 5 288

(54.73) (54.73) (77.83) (98.85) (95.38) (0.00) (1.15) (66.51)

196 196 96 5 20 433 428 145

(45.27) (45.27) (22.17) (1.15) (4.62) (100) (98.85) (33.49)

จากตารางท่ี 3 วัตถุดิบอาหารสัตว์มีการปนเปื้อนสารพิษจากเชื้อราชนิดอะฟลาทอกซินรวม
ร้อยละ 45.27 เมอื่ วเิ คราะหแ์ ยกเปน็ อะฟลาทอกซนิ ชนิด บี1 บ2ี จ1ี และ จ2ี พบรอ้ ยละ 45.27 22.17
1.15 และ 4.62 ตามล�ำดับ ส่วนฟูโมนิซิน บี1 และฟูโมนิซิน บี2 พบร้อยละ 100 และ 98.85
ตามล�ำดบั และซรี าลีโนน พบรอ้ ยละ 33.49

เนื่องจากสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยท่ีร้อนชื้นซ่ึงเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเช้ือรา
ทำ� ใหม้ โี อกาสพบสารพษิ จากเช้อื ราไดม้ าก (Charoenpornsook and Kavisarasai, 2006) ซ่ึงระดับของ
สารพษิ จากเชื้อราในแต่ละชนิดก็แตกต่างกัน โดยระดบั ของสารพษิ จากเช้ือราท่ีพบนัน้ ควรอยู่ในระดบั
ท่ีไมก่ อ่ ให้เกดิ อันตรายตอ่ สุขภาพของสัตว์ หรือเกินค่ามาตรฐานทีก่ �ำหนดไว้

ธรุ กจิ อาหารสัตว์ ปที ี่ 37 เลม่ ที่ 191 มีนาคม - เมษายน 2563 58

A

Around the World

ตารางที่ 4 แสดงค่าเฉลี่ยของปรมิ าณการปนเป้ ือนของสารพิษจากเช้อื รา
ในตัวอย่างวตั ถดุ ิบอาหารสัตว์แต่ละชนิด

คา่ เฉล่ียของปรมิ าณสารพษิ จากเช้ือรา (ppb)

ชนดิ วตั ถุดิบ Total Af อะฟลาทอกซิน ฟูโมนิซนิ ซีราลีโนน
45.11 AfB1 AfB2 AfG1 AfG2 FB1 FB2
ขา้ วโพดเมลด็ 23.23
ข้าวโพดปน่ 2.89 41.81 5.97 0.00 3.37 487.80b 151.0b 122.33ab
กากดีดีจีเอส 2.36
กลเู ทนข้าวโพด 20.57 3.72 8.54 2.55 1,072.20a 327.26a 91.65b

2.52 1.00 0.00 0.00 537.10b 82.77b 111.85ab

2.29 0.00 0.00 0.00 688.90b 392.25a 146.40a

a, b ค่าเฉลี่ยท่อี ยู่ในแนวตั้งเดียวกนั มีอักษรท่ีแตกต่างกนั มคี วามแตกต่างกันทางสถติ ิ (p<0.05)

จากตารางท่ี 4 ค่าเฉลี่ยของปริมาณการปนเปื้อนของสารพิษจากเช้ือราในวัตถุดิบอาหารสัตว์
แตล่ ะชนดิ พบวา่ คา่ เฉลยี่ ของปรมิ าณการปนเปอ้ื นสารพษิ จากเชอื้ ราชนดิ อะฟลาทอกซนิ รวม ในตวั อยา่ ง
ขา้ วโพดเมลด็ ขา้ วโพดปน่ กากดดี จี ีเอส และกลูเทนขา้ วโพด มีปริมาณ 45.11 23.23 2.89 และ 2.36
ppb ตามล�ำดับ ซง่ึ ไม่แตกต่างกนั อย่างมีนยั สำ� คญั ทางสถิติ (p>0.05) ในวตั ถดุ ิบอาหารสตั วแ์ ต่ละชนดิ
โดยขา้ วโพดเมลด็ พบวา่ มคี า่ เฉลย่ี ของปริมาณสารพิษจากเชอ้ื ราชนิดอะฟลาทอกซนิ รวมสงู สดุ

การท่ีพบค่าเฉลี่ยของปริมาณอะฟลาทอกซินรวมในข้าวโพดเมล็ดสูงที่สุดน้ัน เนื่องจากข้าวโพด
เมล็ด เป็นวัตถุดบิ ทใี่ ช้เปน็ สว่ นประกอบหลักของอาหารสัตว์ ซึง่ จ�ำเปน็ ต้องใช้ข้าวโพดเมลด็ ในการผลิต
เป็นจ�ำนวนมาก แต่บางช่วงเกิดภาวะขาดแคลนท�ำให้มีการเก็บส�ำรองข้าวโพดเมล็ดเป็นระยะเวลานาน
เพอ่ื ใหเ้ พยี งพอตอ่ การผลติ อาหารสตั ว์ ประกอบกบั การเกบ็ รกั ษาทไ่ี มเ่ หมาะสม กอ่ ใหเ้ กดิ ความชน้ื สงู กวา่
รอ้ ยละ 15 จงึ เปน็ สาเหตหุ นง่ึ ทที่ ำ� ใหเ้ กดิ ปญั หาการปนเปอ้ื นสารพษิ อะฟลาทอกซนิ (กรมปศสุ ตั ว,์ 2544)

การวเิ คราะห์ปริมาณสารพิษจากเชอื้ ราชนิดฟูโมนซิ นิ บี 1 พบขา้ วโพดป่นมีค่าเฉลีย่ ของปรมิ าณ
การปนเปอื้ นสงู ท่ีสุด 1,072.20 ppb ซ่งึ มีความแตกตา่ งอย่างมีนัยส�ำคญั ทางสถิติ (p<0.05) เม่ือเทยี บ
กับค่าเฉล่ียของปริมาณการปนเปื้อนของข้าวโพดเมล็ด กากดีดีจีเอส และกลูเทนข้าวโพด ปริมาณ
487.80 537.10 และ 688.90 ppb ตามล�ำดับ ค่าเฉล่ียของปริมาณฟูโมนิซิน บี2 พบว่ากลูเทน
ข้าวโพด และข้าวโพดป่นมีปริมาณ 392.25 และ 327.26 ppb ซึ่งมีความแตกต่างอย่างมีนัยส�ำคัญ
ทางสถิติ (p<0.05) กับขา้ วโพดเมล็ด และกากดีดีจเี อส ปรมิ าณ 151 และ 82.77 ppb ตามลำ� ดบั
ปริมาณของฟูโมนิซนิ สว่ นใหญจ่ ะพบชนิด บ1ี สงู กวา่ ชนิด บี2

การทพี่ บคา่ เฉลย่ี ของปรมิ าณสารพษิ จากเชอ้ื ราฟโู มนซิ นิ ดงั กลา่ วในขา้ วโพดปน่ สงู ทส่ี ดุ เนอื่ งจาก
ลักษณะทางกายภาพของขา้ วโพดป่นเหมาะกับการเจรญิ เตบิ โตของเชอ้ื รา ซง่ึ สอดคล้องกับการวิจัยเพอ่ื
ส�ำรวจปริมาณสารพิษจากเชื้อราในวัตถุดิบอาหารสัตว์ชนิดต่างๆ ท่ีใช้เลี้ยงโคนมท่ีผลตรวจวิเคราะห์
พบปริมาณสารพษิ จากเชอื้ ราในขา้ วโพดปน่ สูงกวา่ ขา้ วโพดเมล็ด (กรมปศสุ ัตว์, 2544)

59 ธุรกิจอาหารสตั ว์ ปที ่ี 37 เลม่ ที่ 191 มีนาคม - เมษายน 2563

A

Around the World

สว่ นสารพษิ จากเชอื้ ราชนดิ ซรี าลโี นนทตี่ รวจพบในวตั ถดุ บิ อาหารสตั ว์ พบวา่ คา่ เฉลีย่ ของปรมิ าณ
การปนเปื้อนในกลูเทนข้าวโพดมีปริมาณสูงสุด 146.40 ppb แต่ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานสหภาพยุโรป
ก�ำหนด (European, 2003) รองลงมาคือ ข้าวโพดเมล็ดปรมิ าณ 122.33 ppb มีความแตกต่างอยา่ ง
มีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p<0.05) แต่พบว่าไม่แตกต่างอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติกับกากดีดีจีเอส และ
ขา้ วโพดป่น ปริมาณ 111.85 และ 91.65 ppb ตามล�ำดับ

การที่พบค่าเฉลี่ยของปริมาณการปนเปื้อนซีราลีโนนในกลูเทนข้าวโพดในปริมาณสูงที่สุดนั้น
เนื่องจากกลูเทนข้าวโพดเกือบท้ังหมดน�ำเข้าจากต่างประเทศ ซ่ึงสารพิษจากเชื้อราชนิดซีราลีโนน
เกิดจากเช้ือรากลุ่มฟูซาเรียมท่ีสามารถเจริญเติบโตได้ดีในสภาพแวดล้อมที่มีอุณหภูมิต่�ำ (Jimenez
และคณะ, 1999) ดังน้ันวัตถุดิบอาหารสัตว์ท่ีน�ำเข้าจากต่างประเทศท่ีมีสภาพภูมิอากาศเหมาะสมกับ
การเจรญิ เติบโตของสารพิษจากเชือ้ รา จงึ มีโอกาสพบสารพิษจากเชอ้ื ราซรี าลโี นนมากทีส่ ุด นอกจากน้ี
ระยะเวลาการขนส่งวัตถุดิบจากต่างประเทศยังเป็นอีกปัจจัยหน่ึงที่ท�ำให้เกิดการปนเปื้อนสารพิษจาก
เชอื้ รา (อำ� นาจ, 2562) หากการขนสง่ ทง้ั พาหนะ และตูข้ นส่งสินค้าไมม่ รี ะบบการปอ้ งกนั การปนเป้อื น
ท่ีดี รวมถึงการใช้พาหนะ หรือตู้ขนส่งสินค้าเดียวกันในการขนส่งสินค้าต่างชนิดกันที่มิใช่อาหารสัตว์
จ�ำเป็นต้องมีการท�ำความสะอาดอย่างมีประสิทธิภาพ และควรมีการฆ่าเชื้อระหว่างการขนส่งสินค้า
ในแต่ละคร้ังดว้ ย (กรมปศสุ ตั ว,์ 2544)

ตารางที่ 5 แสดงค่าเฉล่ียของปรมิ าณการปนเป้ ือนของสารพษิ จากเช้ือราแต่ละชนิด
ในตัวอย่างวตั ถดุ ิบอาหารสตั ว์แยกตามแหล่งท่ีเก็บตัวอย่าง

ค่าเฉล่ยี ของปรมิ าณสารพษิ จากเชื้อราทพ่ี บ (ppb)

สถานที่เกบ็ ตวั อย่าง อะฟลาทอกซิน ฟูโมนซิ นิ ซรี าลโี นน

Total Af AfB1 AfB2 AfG1 AfG2 FB1 FB2 124.31a

สถานทีเ่ กบ็ อาหารสตั ว์ 15.97 14.37 3.30 2.50 1.67 667.70bc 197.26b 45.87b
นำ� เขา้ 111.90ab
98.67ab
ศูนยร์ วบรวมวตั ถดุ บิ 58.41 53.30 10.46 0.00 1.57 751.10b 228.82b 138.79a
อาหารสัตว์ 111.30ข
24.41 3.97 9.96 3.76 495.00bc 147.92b
สถานที่ผลติ อาหารสัตว์ 26.73 43.16 5.16 10.34 2.36 1,428.70a 467.20a
0.00 0.00 0.00 0.00 172.20c 58.45b
ฟาร์มเลย้ี งสัตว์ 47.40 29.70ข 4.80ข 8.50ข 2.90ข 629.40ก 192.80ข

ดา่ นตรวจสอบอาหารสตั ว์ 0.00

รวม 32.60ข

a, b, c ค่าเฉลยี่ ทอี่ ยใู่ นแนวตั้งเดียวกนั มีอกั ษรท่ีแตกต่างกนั มคี วามแตกตา่ งกันทางสถติ ิ (p<0.05)
ก, ข คา่ เฉลย่ี ทอ่ี ยูใ่ นแนวนอนเดยี วกนั มีอักษรทีแ่ ตกตา่ งกนั มคี วามแตกต่างกันทางสถิติ (p<0.05)

ธรุ กจิ อาหารสตั ว์ ปีท่ี 37 เลม่ ที่ 191 มนี าคม - เมษายน 2563 60

A

Around the World

จากตารางที่ 5 คา่ เฉลี่ยของปริมาณสารพิษจากเช้อื ราชนิดอะฟลาทอกซินรวม อะฟลาทอกซนิ
บ1ี บ2ี จี1 และ จี2 ทป่ี นเปือ้ นในวัตถดุ บิ อาหารสัตว์ จากสถานทีเ่ กบ็ อาหารสัตว์น�ำเข้า ศนู ยร์ วบรวม
วัตถุดิบอาหารสัตว์ สถานที่ผลิตอาหารสัตว์ ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ พบว่าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญ
ทางสถิติ (p>0.05) ส่วนคา่ เฉลย่ี ของปรมิ าณฟูโมนิซิน บ1ี และ บี2 ท่ปี นเปื้อนในวัตถดุ ิบอาหารสัตว์
สูงทีส่ ุดมาจากฟาร์มเลย้ี งสตั ว์ เมือ่ เปรยี บเทยี บจากแหล่งเก็บอื่นๆ อย่างมนี ัยสำ� คัญทางสถิติ (p<0.05)

คา่ เฉลย่ี ของปรมิ าณซรี าลโี นนทป่ี นเปอ้ื นในวตั ถดุ บิ อาหารสตั วท์ เี่ กบ็ จากดา่ นตรวจสอบอาหารสตั ว์
และสถานท่เี ก็บอาหารสัตว์น�ำเขา้ ปรมิ าณ 138.79 และ 124.31 ppb ตามลำ� ดับ โดยตวั อย่างวัตถุดบิ
อาหารสัตว์ จากศูนย์รวบรวมวัตถุดิบอาหารสัตว์ ตรวจพบปริมาณการปนเปื้อนซีราลีโนนน้อยท่ีสุด
ปริมาณ 45.87 ppb ซึ่งมีความแตกต่างอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p<0.05) เน่ืองจากสารพิษ
จากเชื้อราชนิดซีราลีโนนเกิดจากเช้ือรากลุ่มฟูซาเรียม ที่สามารถเจริญเติบโตได้ดีในสภาพแวดล้อม
ท่ีมีอุณหภูมติ ำ่� (Jimenez และคณะ, 1999) ซึง่ สภาพภมู อิ ากาศของประเทศไทยไม่เหมาะสมตอ่ การ
เจริญเติบโตของเชอ้ื ราดังกลา่ ว

๏ สรุปและข้อเสนอแนะ ๏

1. วัตถุดิบอาหารสัตว์ท่ีศึกษาในครั้งนี้ ยังมีบางตัวอย่างตรวจพบการปนเปื้อนของสารพิษจาก
เชื้อราในระดับที่เกินมาตรฐานตามพระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ. 2558 ซึ่งได้แก่
อะฟลาทอกซินรวม หรือเกินมาตรฐานของสหภาพยุโรป ได้แก่ ฟูโมนิซิน ส่วนซีราลีโนนไม่พบว่ามี
วตั ถดุ บิ อาหารสัตวใ์ ดที่มีการปนเป้อื นของสารพษิ จากเชือ้ ราดังกลา่ วเกนิ มาตรฐาน

2. วัตถุดิบอาหารสัตว์ท่ีตรวจพบการปนเปื้อนของสารพิษจากเช้ือรามากท่ีสุดคือ ข้าวโพดป่น
ตรวจพบร้อยละ 81.20 รองลงมาคือ ข้าวโพดเมล็ด กลูเทนข้าวโพด และกากดีดีจีเอส โดยคิดเป็น
ร้อยละ 42.99 31.58 และ 3.62 ตามล�ำดบั

3. ค่าเฉล่ียของปริมาณการปนเปื้อนสารพิษจากเชื้อราที่พบมากท่ีสุดคือชนิดฟูโมนิซิน บี1
โดยพบในขา้ วโพดปน่ ทรี่ ะดบั 1,072.20 ppb ซง่ึ มคี วามแตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทางสถติ ิ (p<0.05)
กับกลูเทนข้าวโพด กากดีดีจีเอส และข้าวโพดเมล็ด ท่ีระดับ 688.90 537.10 และ 487.80 ppb
ตามล�ำดบั

4. ค่าเฉล่ียของปริมาณการปนเปื้อนสารพิษจากเช้ือราชนิดอะฟลาทอกซินรวม ของวัตถุดิบ
อาหารสตั วพ์ บปรมิ าณสูงที่สุดคอื ข้าวโพดเมล็ด 45.11 ppb รองลงมาคอื ข้าวโพดปน่ กากดีดจี ีเอส และ
กลเู ทนขา้ วโพด โดยคดิ เปน็ 23.23 ppb 2.89 ppb และ 2.36 ppb ตามลำ� ดบั ซงึ่ สว่ นใหญอ่ ยใู่ นระดบั
ทีต่ �่ำกว่ามาตรฐานตามพระราชบัญญตั คิ วบคมุ คุณภาพอาหารสตั ว์ พ.ศ. 2558

61 ธุรกจิ อาหารสตั ว์ ปที ่ี 37 เล่มท่ี 191 มนี าคม - เมษายน 2563

A

Around the World

5. เนื่องจากผลของการเฝ้าระวังสารพิษจากเช้ือรา ตรวจพบสารพิษจากเช้ือราชนิดอะฟลา -
ทอกซินรวม ในทกุ ชนดิ ของวตั ถุดบิ อาหารสตั วท์ ง้ั ข้าวโพดเมล็ด ขา้ วโพดป่น กากดดี ีจเี อส และกลูเทน
ขา้ วโพด อยา่ งไรกต็ าม ปจั จบุ นั การกำ� หนดคา่ มาตรฐานระดบั สารพษิ จากเชอ้ื ราชนดิ อะฟลาทอกซนิ รวม
ตามพระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสตั ว์ พ.ศ. 2558 กำ� หนดไว้เพยี งวัตถุดบิ ชนิดขา้ วโพดเมล็ด
และข้าวโพดป่นเท่านั้น ซ่ึงมีระดับไม่เกิน 100 ppb ส่วนกากดีดีจีเอส และกลูเทนข้าวโพด ยังไม่ได้
ก�ำหนดระดับมาตรฐานไว้แต่อย่างใด ดังน้ัน จึงควรพิจารณาในการออกประกาศก�ำหนดมาตรฐาน
ให้ครอบคลุมถึงวัตถุดิบที่มีความเสี่ยง รวมถึงปรับปรุงค่ามาตรฐานให้มีความเหมาะสมในแต่ละชนิด
ของวัตถุดิบอาหารสัตวด์ ้วย

6. สารพษิ จากเช้อื ราชนิดฟูโมนซิ ิน (บ1ี และ บี2) ตรวจพบในวตั ถุดบิ อาหารสตั ว์ท้งั 4 ชนิด
ซึ่งบางตัวอย่างวัตถุดิบอาหารสัตว์ตรวจพบในปริมาณท่ีสูงพอสมควร แต่ยังไม่มีประกาศก�ำหนดระดับ
มาตรฐานสารพิษจากเชอ้ื ราชนดิ ฟโู มนซิ นิ ตามพระราชบัญญตั คิ วบคมุ คณุ ภาพอาหารสัตว์ พ.ศ. 2558
แต่อย่างใด จึงเห็นควรให้พิจารณาออกประกาศก�ำหนดระดับมาตรฐานระดับของสารพิษจากเช้ือรา
ดงั กลา่ วให้ครอบคลมุ วตั ถุดิบอาหารสตั ว์ทีม่ ีความเสยี่ ง

7. วตั ถดุ บิ อาหารสตั วท์ นี่ ำ� เขา้ มาจากตา่ งประเทศ ทงั้ กากดดี จี เี อส กลเู ทนขา้ วโพด ขา้ วโพดเมลด็
มคี วามเสยี่ งในการปนเป้อื นสารพิษจากเช้ือรา จึงจ�ำเป็นตอ้ งกำ� หนดมาตรการในการควบคุมการน�ำเข้า
วัตถุดิบอาหารสัตว์ดังกล่าวให้เข้มงวดต้ังแต่ต้นทาง ระหว่างการขนส่ง และการเก็บรักษาท่ีปลายทาง
เพ่อื ลดความเสย่ี งการปนเปื้อนสารพิษจากเช้ือราทก่ี อ่ อันตรายต่อสตั ว์ และผบู้ ริโภคภายในประเทศ

8. วัตถุดิบอาหารสัตว์ ชนิดข้าวโพดป่น มีความเสี่ยงสูงต่อการปนเปื้อนสารพิษจากเชื้อรา
เนอ่ื งจากลกั ษณะทางกายภาพของวตั ถดุ บิ ทมี่ คี วามเหมาะสมตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของเชอ้ื รา ประกอบกบั
คุณภาพของข้าวโพดท่ีน�ำมาบดเป็นข้าวโพดป่นอาจจะมีการปนเปื้อนสารพิษจากเชื้อรามาก่อน ดังนั้น
จงึ ควรมีมาตรการในการก�ำกับ ดูแล ควบคมุ ในการคดั เลอื กข้าวโพดทน่ี �ำมาใชเ้ ปน็ วตั ถดุ บิ ในการผลิต
ตลอดจนขบวนการผลติ และการเก็บรกั ษาที่เหมาะสม

9. มาตรการทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพเพอ่ื ใชล้ ดปญั หาสารพษิ จากเชอื้ รา โดยใชห้ ลกั การของระบบประกนั
คณุ ภาพ (GMP/HACCP) ซง่ึ การวเิ คราะหค์ วามเสย่ี งและจดุ วกิ ฤตทตี่ อ้ งควบคมุ สามารถลดการปนเปอ้ื น
ของสารพิษจากเชอ้ื ราไดต้ ลอดทกุ ขนั้ ตอนในหว่ งโซก่ ารผลิตอาหาร (Scudamore, 2004)

10. แนวทางการลดการปนเปอ้ื นของสารพษิ จากเชอ้ื ราในวตั ถดุ บิ อาหารสตั ว์ การควบคมุ คณุ ภาพ
วัตถุดิบอาหารสัตว์เป็นส่ิงส�ำคัญ ซ่ึงต้องเริ่มตั้งแต่การคัดเลือกสายพันธุ์ท่ีดีมีความต้านทานต่อเชื้อรา
การเพาะปลกู และการเกบ็ เกยี่ วทเี่ หมาะสม การลดความชน้ื หลงั การเกบ็ เกยี่ ว การเกบ็ รกั ษา การควบคมุ
คุณภาพระหว่างการจัดเกบ็ รวมถึงการจดั ล�ำดับการใชว้ ตั ถดุ ิบให้เหมาะสม (First In First Out) ซึ่งจะ
ส่งผลให้สามารถปอ้ งกันการเกิดเชื้อราทสี่ รา้ งสารพษิ ได้ (กรมปศสุ ตั ว์, 2544)

ธุรกจิ อาหารสตั ว์ ปที ่ี 37 เล่มที่ 191 มีนาคม - เมษายน 2563 62

A

Around the World

11. จากผลการศึกษาในคร้ังน้ี เห็นควรให้มีการต่อยอดศึกษาเพ่ิมเติมในประเด็นความเส่ียง
ของวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่น�ำเข้าที่มีโอกาสปนเปื้อนสารพิษจากเชื้อรา และการขยายการศึกษาออกไป
ในแต่ละช่วงฤดูกาล เน่ืองจากปัจจัยของภูมิอากาศตามธรรมชาติมีส่วนเก่ียวข้องกับการเจริญเติบโต
ของเช้ือรา (ประกรณ์ และคณะ, 2559) เพ่ือน�ำข้อมูลมาประกอบการพิจารณาหาระดับปริมาณท่ี
เหมาะสมในการกำ� หนดมาตรฐาน โดยใหค้ รอบคลมุ ถงึ ชนดิ ของสารพษิ จากเชอื้ รา และวตั ถดุ บิ อาหารสตั ว์
ท่ีมีความเสี่ยงในการปนเปื้อนสารพิษจากเชื้อราดังกล่าว เพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีทันสมัยส�ำหรับใช้ประกอบ
การวางแผนควบคมุ ปอ้ งกนั สารพษิ จากเชอ้ื ราทปี่ นเปอ้ื นในวตั ถดุ บิ อาหารสตั ว์ ซง่ึ จะสง่ ผลใหอ้ าหารสตั ว์
มีคณุ ภาพ และปลอดภัยตอ่ สัตว์ตลอดจนผู้บรโิ ภคสนิ ค้าปศสุ ตั ว์

๏ กิตติกรรมประกาศ ๏

ผวู้ จิ ยั ขอขอบคณุ เจา้ หนา้ ทหี่ อ้ งปฏบิ ตั กิ ารพษิ วทิ ยาและชวี เคม/ี สารพษิ จากเชอ้ื รา กลมุ่ ตรวจสอบ
คุณภาพอาหารสัตว์ ส�ำนักตรวจสอบคุณภาพสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์ ท่ีให้ความอนุเคราะห์ในการ
ตรวจวิเคราะห์ตวั อยา่ งวัตถุดิบอาหารสตั ว์ในการท�ำวจิ ยั ดร.เด่นพงษ์ สาฆ้อง สพ.ญ โสมศจี ศวิ ลิ ยั กุล
สพ.ญ วรศร ประเสริฐกุลชัย สพ.ญ วชิราพร แสนสม และนางสาวพัชรจราวรรณ สุขเทียบ ที่ช่วย
ประสาน และจัดรูปเล่ม และเจา้ หนา้ ท่กี องควบคมุ อาหารและยาสัตว์ ที่ใหก้ ารสนับสนนุ ในการท�ำงาน
วิจยั ในคร้ังนดี้ ้วย

๏ เอกสารอ้างอิง ๏

Association of Official Analytical Chemist. 2005. AOAC Official Method of Analysis. 18th Ed. Natural
Toxins. Chapter 49. 3 - 45.

Charoenpornsook and Kavisarasai. 2006. MYCOTOXINS IN ANIMAL FEEDSTUFFS OF THAILAND. KMITL
Sci. Tech. J. Vol. 6 No. 1 Jan - Jun 2006. 25-28.

Erwan Leroux. (2012). Management of mycotoxin contamination in raw materials and feeds. International
Poultry Production. 20(2). 13 - 17.

European Commission Regulation 1234/2003/EC(2003) OFF J. Eur. Commun. L173/6, 1 - 8.

Food and Agriculture Organization. (FAO) 2006. Safety evaluation of certain contaminants in food.
Prepared by the sixty - fourth meeting of the Joint FAO/WHO Expert Committee on Food Additives
(JECFA). FAO Nutr Paper 82: 1 - 778.

Piotrowska M, Slizewska K, Biernasiak J. 2013. Mycotoxins in cereal and soybean-based food and feed.
Intech open science: 185 - 230.

63 ธุรกจิ อาหารสตั ว์ ปที ่ี 37 เลม่ ที่ 191 มีนาคม - เมษายน 2563

A

Around the World

Jimenez M, Manez M, Hernandez E. 1999. Influence of water activity and temperature on the production
of zearalenone in corn by three Fusarium species. International journal of food microbiology.
29: 417 - 421

Scudamore, K.A. 2004. Control of mycotoxins : Secondary processing. 174 - 189. In N. Magan and
M. Olsen, eds. Mycotoxins in Food: Detection and Control. Woodhead Publishing Ltd., England

กองควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ กรมปศุสัตว์. 2544. การแก้ปัญหาอะฟลาทอกซินในอาหารโคนมตามโครงการ
แกป้ ญั หา อะฟลาทอกซนิ ในอาหารและอาหารสตั วแ์ บบครบวงจรในสว่ นรบั ผดิ ชอบของกรมปศสุ ตั วป์ งี บประมาณ
2539 - 2543. ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย, กรงุ เทพฯ.

กรมปศสุ ตั ว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2558. ตามพระราชบญั ญตั ิควบคุมคุณภาพอาหารสตั ว์ พ.ศ. 2558

กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2559. ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง ก�ำหนดลักษณะ
ของอาหารสตั วเ์ ส่ือมคณุ ภาพ พ.ศ. 2559.

คมกรชิ พิมพ์ภักดี. 2544. ฟูโมนิชิน สารพิษจากเชื้อราที่มีความส�ำคัญต่อคนและสัตว์. วารสารสัตวแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 11 ฉบบั ที่ 2 ก.ค. - ธ.ค. 2544

ธรี าภรณ์ ยนื สขุ . 2554. การใชส้ า่ ขา้ วโพดเปน็ สว่ นประกอบในสตู รอาหารขน้ เลย้ี งโคนม. (ออนไลน)์ .สบื คน้ จาก: http://
sutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/4030/1/fulltext.pdf (1/1/62).

นธิ ยิ า รัตนาปนนท์ และ วิบูลย์ รัตนาปนนท์. 2553. สารพิษในอาหาร. โรงพิมพโ์ อเดียนสโตร์.

บดนิ ทร์ บุตรอินทร์. 2555. สารพษิ จากเชื้อรา: อะฟลาทอกซนิ . วารสารเทคนคิ การแพทย์เชยี งใหม่. 45(2). 1 - 8.

ประกรณ์ จาละ, อาสูตร สงวนเกยี รต,ิ พิษณุ ตลุ ยกุล, สดุ ธษิ า เหล่าเป่ยี ม และ ณฐั วฒุ ิ รตั นวนิชยโ์ รจน์. 2559.
สถานการณ์สารพิษจากเชื้อราในวัตถุดิบอาหารสัตว์ในประเทศไทยรายงานผลห้องปฏิบัติการระหว่างปี พ.ศ.
2553 - 2557. สบื ค้นจาก http://www.lib.ku.ac.th/KUCONF/2560/KC5403014.pdf (17/7/2561)

สิทธิทัศน์ ทองค�ำใส. 2558. สารพิษจากเช้ือรา. มหาวิทยาลัยราชมงคลตะวันออก. สืบค้นจาก www.vet.rmutto.
ac.th/wp-content/uploads/2013/11/mycotoxin.pdf (1/2/62)

สุทธิพร พิริยายน. 2557. การตรวจสอบคุณภาพอาหารสัตว์ด้านสารพิษสารตกค้างและการปนเปื้อนในอาหารสัตว์
ตามมาตรฐาน ISO/IEC17025:2005. สืบค้นจาก http://qcontrol.dld.go.th/images/ejournal/ejournal%
201 - 2558/images/58-6.pdf (1/2/62)

อำ� นาจ พวั พลเทพ. 2562. สารพิษจากเชือ้ รา : ภยั เงียบในอาหาร. สืบค้นจาก https://thaimycotoxin.org/?p=1346
(15/8/62)

ธุรกจิ อาหารสตั ว์ ปที ี่ 37 เล่มที่ 191 มีนาคม - เมษายน 2563 64

A

Around the World

การศกึ ษาทางเลือกอื่นเพอ่ื ทดแทนการใชย้ าโคลสิ ตนิ
ผสมในอาหารสัตว์ในฟารม์ สกุ รเพ่อื รกั ษาอาการทอ้ งเสยี
เนือ่ งจากการตดิ เช้อื อี. โคไล (E. coli) ในลูกสกุ รอนบุ าล

(A Study investigating alternative regimens to replace
colistin mixed in feed for the treatment of E. coli infection

in nursery pigs)

รกั ไทย งามภักด์ิ1  สุนิตย์ มบี ำ� รุง2  ภานุมาศ คงปันนา2  เดชฤทธ์ิ นิลอุบล2

บทคัดย่อ

การใช้ยาโคลิสตินในลูกสุกรหย่านมเพ่ือลดปัญหาท้องเสีย รวมไปถึงการสูญเสียในช่วง 2
สัปดาห์แรก อาจเป็นสาเหตุให้เกิดเชื้อด้ือยาได้ วัตถุประสงค์งานวิจัย เพ่ือศึกษาสารเสริมทดแทน
ยาโคลสิ ตนิ ในลกู สกุ รหยา่ นม จำ� นวน 222 ตวั (n = 37) อายุ 24 วนั นำ้� หนกั เฉลยี่ 6.19 ± 0.63 kg
แผนการทดลองแบบ completely randomized design (CRD) อาหารงานวิจยั มี 6 กลมุ่ ได้แก่
อาหารงานวจิ ยั กลุ่มท่ี 1. อาหารพ้ืนฐาน เสรมิ ดว้ ย colistin 160 ppm กลุม่ ท่ี 2. อาหารพ้ืนฐาน
เสริมดว้ ย bromelain 12.5 mg/ton กล่มุ ท่ี 3. อาหารพื้นฐาน เสริมด้วย 1 kg apramycin และ
125 mg flavomycin กลมุ่ ที่ 4. อาหารพื้นฐาน เสริมดว้ ย CuSO4 3kg/ton กลุ่มที่ 5. อาหาร
พนื้ ฐาน เสริมด้วย butyric acid 1 kg/ton และ yeast (Saccharomyces cerevisiae) 1 kg/ton
กลุ่มท่ี 6. อาหารพืน้ ฐาน เสริมด้วย probiotic (Bacillus subtilis) 1.2 kg/ton ผลการทดลอง
ด้านสมรรถภาพการเจริญเติบโต พบว่า ค่า ADG (กรมั /ตวั /วัน) ในกลุม่ T4 T5 และ T6 มีคา่
สงู ทสี่ ดุ (p<0.01) นอกจากน้ี T4 และ T6 มคี า่ นำ้� หนกั สดุ ทา้ ยในวนั ท่ี 14 ทส่ี งู ทส่ี ดุ เชน่ กนั (p<0.01)
ผลดา้ นจำ� นวนเชอื้ E. coli ในมูล (log 10 cfu/g) พบว่าวันที่ 14 กลมุ่ T1 T2 และ T6 มคี า่
เช้ือ E. coli ในมูลน้อยที่สุด (p<0.01) และช่วงการเปล่ียนแปลงวันที่ 0 และ 14 ส่งผลต่อเช้ือ
E. coli ในมลู ทลี่ ดลงอย่างมีนัยส�ำคัญย่งิ ทางสถิติ (p<0.01) ผลด้านรอ้ ยละของสุกรทแี่ สดงอาการ

ทะเบยี นวชิ าการเลขที:่ 63 (2)-0322-033
1 กองควบคุมอาหารและยาสัตว์ กรมปศุสัตว์
2 ภาควชิ าจลุ ชวี วทิ ยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย กรุงเทพฯ 10330

65 ธรุ กิจอาหารสัตว์ ปีท่ี 37 เล่มที่ 191 มีนาคม - เมษายน 2563

A

Around the World

ท้องเสยี พบว่าทุกกลุม่ อาหารทดลองสามารถลดอาการท้องเสยี ได้จากวันที่ 0 ถงึ 14 นอกจากนี้
ในวันท่ี 7 พบว่า T2 และ T6 มีค่าร้อยละของสุกรที่แสดงอาการท้องเสียที่น้อยท่ีสุด (p<0.05)
สรุปงานทดลองอาหารท้งั 5 กลมุ่ (T2 - T6) สามารถน�ำมาใชเ้ ป็นสารเสริมทดแทนยาโคลิสตินได้
โดยมีคุณสมบัตทิ เี่ พ่มิ สมรรถภาพการผลิต ท้งั ด้านการเจรญิ เตบิ โต การเปล่ียนแปลงของประชากร
จลุ ชพี กอ่ อาการทอ้ งเสยี และอาการทอ้ งเสียท่ีแสดง

ค�ำส�ำคัญ: สารเสริมทดแทน ยาปฏชิ วี นะ สุกรหยา่ นม ประสทิ ธิภาพการผลิต อาการท้องเสยี

Abstract

Antibiotics, often supplemented in feed, used as treatment and prevention of
diarrhea disorders caused as well as mortality associated with this disease by post -
weaning diarrhea (PWD) and consequently increases antibiotic resistance. The objective
of this study was to evaluate the alternative feed additive in weaning pigs. Two - hundred
twenty two pigs ((Landrace × Large white) × Duroc) with an average body weight (BW)
of 6.19 ± 0.63 kg (24 days of age). A CRD design was conducted, composed of basal
diet with supplementation for six experimental diet: (T1) colistin 160 ppm, (T2) 12.5mg
of bromelain, (T3) 1kg of apramycin and 125 mg of flavomycin, (T4) 3 kg of CuSO4, (T5)
1 kg of butyric acid and 1 kg of yeast (Saccharomyces cerevisiae) and (T6) 1.2 kg of
probiotics (Bacillus subtilis). The results of growth performance indicated ADG (g/head/d)
were significantly higher in T4, T5 and T6 (p<0.01). Especially, T4 and T6 also had
significantly higher final BW (p<0.01). Fecal E. coli (log cfu/g) of T1, T2 and T6 were
significantly higher (p<0.01). Chronically, all of treatment effectively significantly decreased
the fecal E. coli (p<0.01) as well as % diarhea incident. There was effect of treatment
on % diarhea incident at day 14 of age (p<0.05). T2 and T6 revealed the lowest in %
diarhea incident (p<0.05). In summary, supplementation of antibiotics replacements and
probiotics to weaned pigs (T2-T6) showed their property such benefit on performance,
shift of gastro - pathogenic population and diarrhea incident.

Keywords: feed additive, antibiotics, weaning pig, growth performance, diarrhea

ธุรกจิ อาหารสตั ว์ ปที ่ี 37 เล่มที่ 191 มีนาคม - เมษายน 2563 66

A

Around the World

บทน�ำ

วงจรการผลิตสุกร (life cycle production) ของสุกรในประเทศไทยจะมีรูปแบบการผลิต
ท่ชี ัดเจน คือเริม่ ตน้ จากพ่อแมพ่ ันธ์ุ และมาถงึ ลกู สุกรตามสายพนั ธ์ุ ซึ่งเปน็ ทีท่ ราบกันว่า ลกู สุกรแรก
คลอด (piglet) ต้องได้รับการดูแลจากแม่ (nursery pig) เพ่ือได้รับนมน้�ำเหลือง และภูมิต้านทาน
อยา่ งเตม็ ทภี่ ายในเวลา 24 ชวั่ โมงหลงั คลอด จงึ ทำ� ใหล้ กู สกุ รเจรญิ เตบิ โตไดด้ ี และเพม่ิ โอกาสมชี วี ติ รอด
ในชว่ งหยา่ นม (survival rate) (Pigprogress, 2018) หลงั จากนน้ั เมอ่ื สกุ รเขา้ สชู่ ว่ งหยา่ นม (weaning
pig) จะมกี ารเปลีย่ นแปลงข้ันวิกฤต (critical period) เนอื่ งจากมีการเปล่ียนแปลงหลายๆ ด้าน เช่น
การเปลยี่ นแปลงสถานท่ี จากเลา้ คลอดไปสคู่ อกสุกรหย่านม หรืออาหารท่ไี ดร้ บั ก่อนหนา้ ได้รับอาหาร
เหลวเปน็ นำ้� นม อาหารเลยี ราง (creep feed) และเปลย่ี นมาเปน็ อาหารผง หรอื เมด็ ซงึ่ การเปลยี่ นแปลง
ข้างต้นเหน่ียวน�ำให้ลูกสุกรเกิดความเครียด ส่งผลโดยตรงต่อระบบภูมิคุ้มกันของสุกร ก่อให้เกิดการ
ตดิ เชอื้ แบคทเี รยี ในทางเดนิ อาหารแบบโฉบฉวย โดยเฉพาะเชอ้ื อ.ี โคไล (Escherichia coli หรอื E. coli)
สายพนั ธ์ุ Enterotoxigenic Escherichia coli (ETEC) ท่สี ามารถสรา้ งสารพษิ ประเภทเอนเทโรทอกซนิ
(enterotoxin) ท�ำให้เซลล์เยื่อบุผนังล�ำไส้ถูกท�ำลาย ส่งผลท�ำให้ประสิทธิภาพการท�ำงานของล�ำไส้
ลดลง การใช้ประโยชนไ์ ดจ้ ากสารอาหารลดลง และแสดงอาการทอ้ งเสีย (Campbell และคณะ, 2013)
จงึ เป็นอีกทางออกหนง่ึ ท่อี ุตสาหกรรมจะเลอื กใชย้ าปฏชิ ีวนะ (antibiotics) เช่น โคลสิ ติน (colistin) ใน
การปอ้ งกนั การตดิ เชอ้ื ในทางเดนิ อาหารจาก E. coli ในชว่ งอาการทอ้ งเสยี หลงั หยา่ นม (post - weaning
diarrhea: PWD) (Rhouma และคณะ, 2017) ซึ่งการใชย้ าอย่างต่อเนอ่ื ง ส่งผลถึงเรือ่ งการตรวจพบ
ยนี ดอ้ื ยา colistin (mobile colistin resistance genes, mcr) ในสกุ รและสามารถถา่ ยทอดไปยงั มนษุ ยไ์ ด้
(Liu และคณะ, 2016) ทำ� ใหเ้ กดิ การควบคมุ การใชใ้ นสตั ว์ อยา่ งไรกต็ าม การหลกี เลยี่ งการใชย้ าปฏชิ วี นะ
สามารถทำ� ไดโ้ ดยการใชส้ ารอาหารเสรมิ ทางเลอื ก (alternative treatment) ซงึ่ ปจั จบุ นั มมี ากมายหลาย
ประเภทท่ีสามารถทดแทนยาปฏิชีวนะได้อย่างดี ซึ่งสามารถติดตามผลได้จากการเจริญเติบโตของสุกร
ช่วงหยา่ นม อตั ราการรอดชวี ติ ปรมิ าณอาหารท่กี นิ ได้ และการส�ำรวจ และวิเคราะหอ์ าการท้องเสีย

ในการศึกษาน้ี จึงได้เลือกสารเสริมทดแทนชนิดอ่ืนที่มีการอ้างอิงว่าสามารถควบคุม และรักษา
อาการทอ้ งเสยี เนอื่ งจากการตดิ เชอื้ E. coli ในลกู สกุ รได้ มาใชผ้ สมอาหารสำ� หรบั ลกู สกุ รเพอื่ เปรยี บเทยี บ
ประสิทธิภาพในเชิงของการลดอัตราท้องเสีย จ�ำนวนเช้ือ E. coli ในมูล สมรรถนะการเจริญเติบโต
เพ่ิมอัตราการเจริญเติบโต (ADG) และลดอัตราแลกเนื้อ (FCR) โดยสารเสริมทดแทนในการศึกษา
มดี งั นี้ 1. apramycin sulfate รว่ มกบั flavomycin (antimicrobial drug) 2. bromelain (plant extracts)
3m.yCceusSOc4erceovmisipalee)x (mineral supplement) 4. butyric acid (acidifier) รว่ มกบั yeast (Saccharo -
และ 5. Direct Fed Microbial - Bacillus subtilis (probiotics)

การศกึ ษาในครงั้ นี้ สอดคลอ้ งกบั แนวนโยบายของกรมปศสุ ตั วท์ ใ่ี หม้ กี ารควบคมุ การใชย้ าโคลสิ ตนิ
ในฟารม์ โดยมหี นงั สอื ลงวนั ที่ 8 กมุ ภาพนั ธ์ 2560 ขอใหส้ ตั วแพทยผ์ คู้ วบคมุ ฟารม์ ทว่ั ประเทศ ตระหนกั
และใหใ้ ชย้ าดงั กลา่ วอยา่ งสมเหตสุ มผลตามหลกั วชิ าการสตั วแพทย์ ไมใ่ หใ้ ชใ้ นการปอ้ งกนั และจะใหใ้ ช้

67 ธรุ กจิ อาหารสัตว์ ปีที่ 37 เลม่ ท่ี 191 มนี าคม - เมษายน 2563

A

Around the World

ยาโคลิสตนิ ไดก้ ็ต่อเม่อื ไม่มียาปฏชิ ีวนะใดใชไ้ ด้ผลแลว้ ซงึ่ เป็นการปอ้ งกนั ไมใ่ หม้ ีเชือ้ ดื้อยาเกิดข้นึ เพื่อ
ยงั คงให้ยาโคลสิ ตนิ เป็นยาทใี่ ชใ้ นการรกั ษามนษุ ย์อย่างมีประสทิ ธิภาพตอ่ ไป นอกจากนี้ ยังเป็นไปตาม
แผนยทุ ธศาสตรก์ ารจดั การการดอ้ื ยาตา้ นจลุ ชพี ประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564 ในยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 การ
ปอ้ งกนั และควบคมุ เชอื้ ดอ้ื ยาและควบคมุ กำ� กบั ดแู ลการใชย้ าตา้ นจลุ ชพี อยา่ งเหมาะสมในภาคการเกษตร
และสตั วเ์ ล้ยี ง ตามยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4.1 ลดการใชย้ าตา้ นจลุ ชพี ในการทำ� ปศสุ ัตวแ์ ละประมงด้วย ดังนัน้
การท่ีมีทางเลือกอ่ืนที่ทดแทนยาปฏิชีวนะโคลิสตินผสมในอาหารสัตว์จะเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกร
ผู้ประกอบการฟาร์มและประชาชนผู้บริโภคท่ัวไปท่ีจะปลอดภัยต่อเช้ือดื้อยาและมียาท่ีใช้รักษาเม่ือ
เจบ็ ปว่ ย

อปุ กรณ์และวธิ กี าร

วสั ดุและอุปกรณ์

สถานท่ีปฏิบัติงานเจริญผลฟาร์ม ต�ำบลพิกุลทอง เทศบาลเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี ลูกสุกร
หย่านมพันธผุ์ สม 3 สายพันธ์ุ ((ลารจ์ ไวท ์ x แลนเรซ) x ดูรอค) จ�ำนวนรวมทัง้ หมด 222 ตัว อายุ 24
วนั และมีนำ�้ หนักเริม่ ตน้ เฉล่ยี 6.19 ± 0.63 kg สัตว์จะถูกจำ� แนกออกเป็น 6 กลมุ่ ทดลอง (n = 37)
ตามสูตรอาหารทดลอง แผนการทดลองแบบ completely randomized design (CRD) ในคอกท่ีมี
ขนาด 8 x 6 เมตร2 ตามเกณฑ์ก�ำหนดมาตรฐานฟาร์ม (สมาคมสัตวแพทย์ควบคุมฟาร์มสุกรไทย,
2019) และเลีย้ งในโรงเรอื นระบบปิด (evaporative cooling system) มีนำ้� และอาหารเตมิ ใหก้ นิ เต็มที่
โดยมีระยะเวลาท�ำการทดลองทั้งส้ิน 14 วัน เม่ือส้ินสุดการทดลองแล้วทางฟาร์มจะน�ำสุกรไปเลี้ยง
เป็นสุกรขุนต่อไป อาหารงานวิจัย (experimental diet) เป็นอาหารพื้นฐาน (basal diet) ประกอบ
ไปด้วยโภชนะตามความต้องการของสุกรตามมาตรฐาน NRC (2012) ดังแสดงในตารางท่ี 1 โดย
อาหารงานวจิ ัยแตล่ ะกลุ่มมรี ายละเอียดดังนี้

อาหารงานวิจยั กลุ่มที่ 1. อาหารพ้ืนฐาน เสรมิ ด้วย colistin 160 ppm

อาหารงานวจิ ัยกลมุ่ ท่ี 2. อาหารพน้ื ฐาน เสรมิ ดว้ ย bromelain 12.5 mg/tonne

อาหารงานวิจยั กล่มุ ที่ 3. อาหารพน้ื ฐาน เสรมิ ดว้ ย apramycin 1 kg/tonne และ flavomycin
125 mg/tonne

อาหารงานวจิ ัยกลุ่มท่ี 4. อาหารพ้นื ฐาน เสริมด้วย CuSO4 3kg/tonne

อาหารงานวิจัยกลมุ่ ที่ 5. อาหารพื้นฐาน เสริมด้วย butyric acid 1 kg/tonne และ yeast
(Saccharomyces cerevisiae) 1 kg/tonne

อาหารงานวจิ ยั กลุ่มท่ี 6. อาหารพื้นฐาน เสรมิ ดว้ ย probiotic (Bacillus subtilis) 1.2 kg/tonne
(มปี รมิ าณ Bacillus subtilis 25 x 106 cfu/g)

ธุรกจิ อาหารสัตว์ ปที ่ี 37 เล่มท่ี 191 มนี าคม - เมษายน 2563 68

A

Around the World

ตารางท่ี 1 รายการวตั ถดุ ิบ และค่าโภชนะอาหารพ้นื ฐานในงานวจิ ัย (% วตั ถุแห้ง)

รายการวตั ถดุ บิ โภชนะอาหารพน้ื ฐาน จำ� นวน (%)
ปลายขา้ ว 57.5
รำ� น้�ำมนั สกัด 1.6
ถัว่ อบ (Biopro480) 10
กากถว่ั เหลือง 7
ถวั่ อบไขมันเตม็ 10
Peptide pro 4
L-lysine 0.3
DL-methionine 0.1
L-Threonine 0.2
Prelac (milk replacer) 5
Monodicalcium phosphate 2.5
Calcium carbonate 1.4
เกลอื 0.1
หวั อาหาร** 0.3
ปริมาตรรวม 100
วตั ถุแหง้ , % 86.2
โปรตนี , % 24
Soluble Protein (% โปรตีน) 16
แป้ง, % 50.3
ไขมัน, % 5.8
NDF, % 8.1
ADF, % 4.4
Digestible energy, DE (Mcal/kg) 4.01
Metabolizable energy, ME (mcal/kg) 3.6

**Supplied 2.40 IU of vitamin A,00.48 IU of vitamin D, 4000 IU of vitamin E, 0.72 g of vitamin K, 0.069 g of vitamin B1,
1.04 g of vitamin B2, 0.12 g of vitamin B6, 0.006 g of vitamin B12, 7.20 g of nicotinic acid, 2.72 g of pantothenic acid,
34.875 g of Cu as copper sulfate, 19.995 g of Fe as ferrous sulfate, 0.228 g of I as calcium iodate, 13.64 g of Mn as
manganese sulfate, 24 g of Zn as zinc sulfate and 0.02 g of Se as sodium selenite.

การบันทึกขอ้ มลู การเกบ็ ตัวอยา่ ง และการวเิ คราะห์ผล

ลกู สกุ ร และอาหาร จะถกู ชงั่ นำ้� หนกั ในวนั ท่ี 0 และ 14 ของงานทดลอง นำ� ขอ้ มลู ทไี่ ดม้ าคำ� นวณ
อตั ราการกนิ ได้ อตั ราการเจรญิ เตบิ โตตอ่ วนั อตั ราการแลกเนอ้ื และนำ� ขอ้ มลู ไปวเิ คราะหท์ างสถติ ติ อ่ ไป

อาหารพ้ืนฐานจะถูกสุ่มเก็บ เพ่ือวิเคราะห์หาพลังงาน และองค์ประกอบทางโภชนะ ด้วยวิธี
proximate analysis (AOAC, 2016) และ Near infrared spectroscopy (NIR)

69 ธรุ กจิ อาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 191 มีนาคม - เมษายน 2563

A

Around the World

มูลลูกสกุ รจะถูกเก็บในวนั ท่ี 0 และ 14 ของงานทดลอง โดยจะสมุ่ ลูกสกุ รอยา่ งน้อย 5 ตัว เพ่ือ
สุ่มเกบ็ มลู เพ่อื นำ� ไปวิเคราะห์ จ�ำนวนเชือ้ E. coli โดย BSC (Betagro Science Center, Bangkok,
Thailand) ดว้ ยวิธี 991.14 และ ISO 6579:2002/Amendment 1:2007 (AOAC, 2016) ขอ้ มลู ที่ได้
จะถกู แปลงด้วย Log argarlithm ฐาน 10

การประเมนิ รอ้ ยละของอาการทอ้ งเสยี ในลกู สกุ ร โดยทำ� การบนั ทกึ ผลในวนั ท่ี 0, 7 และ 14 ของ
งานทดลอง โดยมสี ัตวแพทย์ 1 คน เปน็ ผ้ปู ระเมนิ ตลอดการทดลอง และคำ� นวณจากสตู ร Diarrhoea
percentage = (No. of pigs in each treatment group has a clinical sign of diarrhoea in the
same day* 100) / Total number of pigs in treatment group (Kyriakis และคณะ, 2003)

คำ� นวณหา sample size ส�ำหรับการวเิ คราะหแ์ บบ one - way ANOVA ตามแผนการทดลอง
CRD โดยใชโ้ ปรแกรม Minitap 16® (Minitap, 2013)

ข้อมูลจะถูกน�ำเสนอเป็น ค่าเฉลี่ย+- ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแปรปรวนโดยวิธี
One - way analysis of variance และเปรยี บเทียบความแตกต่างของคา่ เฉลยี่ ระหวา่ งกลมุ่ ทดลองตาม
วธิ ขี อง Duncan’s Multiple Range Test ทร่ี ะดบั ความเชอ่ื มน่ั 95% และวเิ คราะหด์ ว้ ย paired samples
T - test ข้อมูลการเปลย่ี นแปลงระหวา่ งวนั ท่ี 0 และ 14 ด้วยโปรแกรม SAS® 9.0 (SAS, 2004)

ผลการทดลอง

จากงานทดลองใช้เวลาในการเลี้ยงลูกสุกรหย่านมท้ังหมด 14 วัน พบว่า ไม่มีลูกสุกรเสียชีวิต
ระหว่างงานทดลอง

ผลการทดลองดา้ นสมรรถนะการเจริญเตบิ โต ดงั แสดงในตารางที่ 2 อาหารกล่มุ T4 และ T6
มคี า่ ความแตกตา่ งทางสถติ ิอย่างมีนัยส�ำคญั ยิง่ ในด้านน้ำ� หนักเมอ่ื สิน้ สุดการทดลอง (วันท่ี 14) สูงท่สี ุด
เมอ่ื เทยี บกบั กลุม่ อื่นๆ (p<0.01) คา่ ADG ในกล่มุ T6 ที่สูงท่ีสุดเมอื่ เทียบกบั กลมุ่ อน่ื ๆ (p<0.01) และ
คา่ ADG ในกลมุ่ T4 และ T5 มีแนวโนม้ สงู กวา่ กลมุ่ T1 เชน่ กนั แตไ่ ม่พบคา่ ความแตกตา่ งทางสถิติ
ในดา้ น FCR ของลกู สุกรในงานทดลอง (p>0.05)

ธุรกิจอาหารสตั ว์ ปที ี่ 37 เลม่ ท่ี 191 มีนาคม - เมษายน 2563 70



สารชวยเพ่มิ กาํ ลงั การผลิต
และปรับปรุงคุณภาพเมด็ อาหาร

ุคณภาพ มาตรฐาน พ รอมบริการ ิวชาการ More pellets - More quality

Capacity T h or The solution for hard running feeds
Energy input kWh T
เพิ่มกําลังการผลิต Tonnes per hour tonnes of control tonnes
ชวยใหผลิตไดตอเนื่อง pellet binder

tonnes
.

เหมาะกับสูตรที่อัดเม็ดยาก :
:
:
:
:
:
:
:
:
:

Time

Nature's best binder

High performance natural pellet binder

.

. ชวยลดฝุนอาหาร

. Pellet durability

. เม็ดอาหารมีความคงทน

.

. ผลิตดวยวัตถุดิบธรรมชาติ

Control LignoBond DD .

FPQF

ทานสามารถคํานวณคา FPQF (Feed Pellet Quality Factor) ของสูตรอาหารไดดวยตนเอง

ผานทาง www.fpqfcalculator.com หรือติดตอสอบถามขอมูลเพ่ิมเติมตามรายละเอียดดานลาง

บรษิ ัท แลบ อนิ เตอร จาํ กดั 77/12 หมู 2 ถ.พระราม 2 ต.นาโคก อ.เมอื งสมทุ รสาคร จ.สมทุ รสาคร 74000
โทรศัพท 0 3488 6140-46 Ext.2311 แฟกซ 0 3488 6147 Website : www.inteqcgroup.com E-mail : [email protected]

A

Around the World

ตารางท่ี 2 ผลการทดลองด้านสมรรถนะการเจรญิ เติบโตของลกู สุกรหย่านม

จำ� นวนสกุ ร (ตัว) T1 T2 T3 T4 T5 T6 P-value
วันท่ี 1 37 37 37 37 37 37
วันท่ี 14 37 37 37 37 37 37
5.53 ± 5.86 ± 6.45 ± 6.91 ± 6.30 ± 6.62 ±
น้ำ� หนกั สุกร (kg) วันท่ี 1 0.99 0.94 0.99 1.23 1.27
1.43
7.38 ± 7.99 ± 8.84 ± 9.59 ± 8.91 ± 9.61 ±
น้ำ� หนักสกุ ร (kg) วันท่ี 14 1.31 D 1.08 C 1.16 B 1.17 A 1.23 B 1.46 A <0.0001

นำ้� หนกั เพมิ่ (kg) 1.85 ± 2.13 ± 2.39 ± 2.67 ± 2.62 ± 2.99 ± 0.01
1.23 C 0.36 BC 1.03 ABC 1.66 AB 1.95 AB 1.67 A
ปรมิ าณการกินไดร้ วม
(kg/pig) 4.12 3.71 3.79 4.07 4.20 4.15

% การสญู เสยี 0% 0% 0% 0% 0% 0%
130 ± 150 ± 170 ± 190 ± 190 ± 210 ±
ADG (grams/pig/day) 9C 3 BC 7 ABC 12 AB 14 AB 12 A 0.01

FCR 2.24 ± 1.78 ± 1.72 ± 1.70 ± 1.68 ± 1.72 ± 0.89
1.31 0.21 0.39 1.81 4.62 0.59

A, B, C อักษรทีแ่ ตกต่างกันของแตล่ ะคอลัมนแ์ สดงความแตกตา่ งกนั อย่างมนี ัยสำ� คัญยิ่งทางสถติ ิ (P<0.05)

ผลการทดลองด้านจ�ำนวนเช้อื E. coli ในมูล ดงั แสดงในตารางที่ 3 พบว่าท่ีเร่มิ ตน้ งานทดลอง
(วันท่ี 0) จำ� นวนเชื้อ E. coli ในมูลของแตล่ ะกลมุ่ ทดลองไม่มคี วามแตกต่างทางสถติ ิ (p>0.05) แต่
เมื่อสิ้นสุดงานทดลอง (วันท่ี 14) พบว่ากลุ่ม T1 T2 และ T6 มีค่าความแตกต่างทางสถิติด้านเชื้อ
E. coli ในมูลทต่ี �ำ่ ที่สุดเมื่อเทยี บกลุ่มอ่นื ๆ (p<0.01) ท�ำนองเดยี วกันกบั กลุ่ม T4 และ T5 ทมี่ แี นวโนม้
ของค่าเชื้อ E. coli ในมูลท่ีน้อยลงใกล้เคียงกับ 3 กลุ่มข้างต้น ทั้งนี้ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า
ช่วงเวลาท่ีเปล่ียนแปลงไปจากจุดเริ่มต้น และส้ินสุดงานทดลองนั้นส่งผลต่อเชื้อ E. coli ในมูลที่ลดลง
อย่างมีนัยส�ำคญั ยิ่งทางสถิติ (p<0.01)

ตารางที่ 3 แสดงจ�ำนวนเช้ือ E. coli ในมลู ของลูกสกุ รหย่านม (หน่วยเปน็ Log ฐาน 10)

E. coli (cfu/grams), T1 T2 T3 T4 T5 T6 P - value
Log 10 unit 0.51
8.03 ± 8.34 ± 8.18 ± 8.18 ± 7.52 ± 8.17 ± 0.002
วนั ที่ 1 0.55 0.61 0.48 0.44 0.78 0.80
5.03 ±
วนั ท่ี 14 4.76 ± 5.01 ± 6.39 ± 6.04 ± 5.26 ± 0.42 C
0.60 C 0.51 C 1.06 A 0.21 AB 0.74 BC <0.0001
Paired T - test <0.0001 <0.0001 <0.0001 <0.0001 <0.0001
A, B, C อักษรทีแ่ ตกตา่ งกนั ของแต่ละคอลัมนแ์ สดงความแตกต่างกนั อยา่ งมนี ัยสำ� คัญยง่ิ ทางสถิติ (P<0.05)

71 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปที ี่ 37 เลม่ ท่ี 191 มีนาคม - เมษายน 2563

A

Around the World

ผลการทดลองดา้ นการประเมนิ รอ้ ยละของสกุ รทแี่ สดงอาการทอ้ งเสยี ในชว่ งหลงั หยา่ นม ดงั แสดง
ในตารางที่ 4 ทเ่ี รมิ่ ตน้ งานทดลอง (วนั ที่ 0) ลกู สกุ รกวา่ 80 เปอรเ์ ซน็ ตจ์ ากทกุ กลมุ่ ทดลองแสดงอาการ
ทอ้ งเสยี หลงั จากนน้ั เมอ่ื พจิ ารณาทว่ี นั ท่ี 7 จะพบวา่ รอ้ ยละของอตั ราทอ้ งเสยี ในลกู สกุ รนนั้ ลดลงทกุ กลมุ่
ทดลอง ท้ังน้ีพบว่ากลุ่ม T2 และ T6 มีค่าร้อยละของอัตราท้องเสียที่ลดลงมากท่ีสุดอย่างมีนัยส�ำคัญ
ทางสถิติ (p<0.05) เม่ือเทียบกับกลุ่มอ่ืนๆ ในทางกลับกัน กลุ่มทดลอง T1 มีค่าร้อยละของอัตรา
ท้องเสยี ท่ีสงู กวา่ กลุม่ อนื่ ๆ เมอื่ สิ้นสดุ งานทดลอง (วันที่ 14) พบวา่ ร้อยละของอัตราทอ้ งเสียในลกู สกุ ร
ลดลงในทุกกลมุ่ แตเ่ ม่อื เปรียบเทียบระหวา่ งกลุ่มพบวา่ ไม่มีค่าความแตกต่างทางสถติ ิ (p>0.05)

ตารางที่ 4 รอ้ ยละของการเกิดอาการท้องเสยี ในลูกสุกรหย่านม

ร้อยละอาการทอ้ งเสีย T1 T2 T3 T4 T5 T6 P - value
วนั ท่ี 1 0.12
วนั ที่ 7 83.80 ± 92.00 ± 85.20 ± 88.00 ± 79.60 ± 83.20 ± 0.03
วันท่ี 14 9.63 6.96 5.54 7.65 4.16 5.67 0.17

50.80 ± 38.80 ± 46.20 ± 41.60 ± 44.60 ± 37.00 ±
7.40 A 7.19 B 5.67 AB 6.88 AB 6.84 AB 5.43 B

4.00 ± 2.80 ± 1.80 ± 2.20 ± 2.00 ± 2.00 ±
2.24 1.10 0.84 1.30 1.22 1.41

A, B อักษรท่แี ตกตา่ งกันของแตล่ ะคอลมั น์แสดงความแตกตา่ งกนั อยา่ งมีนัยสำ� คัญย่งิ ทางสถติ ิ (P<0.05)

วิจารณ์ผลงานทดลอง

การศึกษาครั้งน้ีเป็นการเลือกประชากรสุกรในพ้ืนที่ที่มีการท�ำปศุสัตว์อย่างหนาแน่น เพื่อให้
สภาพแวดล้อม และปัจจัยควบคุมต่างๆ เป็นไปตามธรรมชาติ โดยไม่มีการก�ำหนดปัจจัยอื่นใดทั้งส้ิน
ซงึ่ พน้ื ทที่ ที่ ำ� งานวจิ ยั คอื จงั หวดั ราชบรุ ี ทซี่ งึ่ มกี ารเลยี้ งสกุ รมากทส่ี ดุ ในประเทศไทย (กรมปศสุ ตั ว,์ 2560)
ซงึ่ การเลย้ี งในพน้ื ทปี่ ศสุ ตั วอ์ ยา่ งหนาแนน่ อาจทำ� ใหม้ กี ารตดิ ตอ่ และระบาดของโรคอยา่ งชกุ ชมุ อยา่ งไร
ก็ตาม ระบบการเข้าถึงฟาร์ม (access to farm) ของพ้ืนที่ท�ำงานวิจัยได้มีระบบความปลอดภัยทาง
ชวี ภาพ (biosecurity) เขา้ มาปอ้ งกันปัจจยั แทรกซอ้ นจากเช้อื โรคภายนอกได้

สารเสรมิ ทดแทนในงานวิจัยสามารถจำ� แนกได้ดังน้ี

1. กลุม่ colistin จดั อยใู่ น polymyxin antibiotics ท่ใี ช้รักษาการตดิ เชอ้ื ในระบบทางเดนิ อาหาร
ในสกุ ร ซึ่งยาปฏชิ ีวนะชนิดน้อี อกฤทธ์ใิ นการทำ� ลายเชอ้ื แบคทเี รยี แกรมลบ เชน่ อ.ี โคไล ซลั โมเนลลา
และวบิ รโิ อ เปน็ ตน้ ออกฤทธโิ์ ดยการทำ� ลายเยอื่ หมุ้ เซลลช์ นั้ นอก (lipid A) ของเชอ้ื แบคทเี รยี ใหเ้ สยี สภาพ
เกดิ การรวั่ ไหลของสารในเซลล์ และทำ� ใหเ้ ซลลต์ าย ในทอ้ งตลาดมกี ารผลติ โคลสิ ตนิ สำ� หรบั ผสมอาหาร
ทงั้ ทม่ี ลี กั ษณะเป็นของแข็ง และของเหลว เรียกว่า solid and liquid medicated premixed นอกจากนี้

ธุรกจิ อาหารสัตว์ ปที ี่ 37 เลม่ ท่ี 191 มีนาคม - เมษายน 2563 72

A

Around the World

ยงั มโี คลสิ ตนิ รปู แบบ อาหารสตั วส์ ำ� เรจ็ รปู ผสมโคลสิ ตนิ หรอื medicated feed ซงึ่ การใชย้ าผสมอาหาร
เปน็ รปู แบบทเ่ี กษตรกรนยิ มใชเ้ พอ่ื ควบคมุ การตดิ เชอื้ และรกั ษาโรคเนอ่ื งจากการตดิ เชอ้ื  อ.ี โคไล ในสกุ ร
ระยะตง้ั แตแ่ รกเกดิ ถงึ สกุ รท่ีมีน�้ำหนกั ตัว 25 กิโลกรัม

2. กลุ่มสารสกัดจากพชื โดยสกดั bromelain ไดจ้ ากแกนสบั ปะรด เป็นเอนไซมก์ ล่มุ proteases
สว่ นประกอบหลกั ได้แก่ stem bromelain 80% fruit bromelain 10% และ ananain 5% นอกจากน้นั
5% คือ non - protease ได้แก่ phosphatases, glucosidases, peroxidases, cellulases และ
glycoproteins (Mondal และคณะ, 2011) และพบวา่ มคี ณุ สมบตั ใิ นการออกฤทธทิ์ างเภสชั วทิ ยาเชน่ กนั
(Maurer, 2001) ซง่ึ จากการรายงานของ Van Beckhoven และคณะ, 1995 ระบวุ า่ bromelain ทำ� หนา้ ที่
เชน่ เดยี วกบั เอนไซม์ subtilisins ทพี่ บไดจ้ าก Bacillus licheniformis และ Bacillus amyloliquifaceins
ท�ำหนา้ ท่หี ลักคือ เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการยอ่ ยโปรตีนในทางเดินอาหาร

3. กลุ่ม antimicrobial drug ยกตัวอย่างเช่น ampicillin gentamicin neomycin fosfomycin
tetracycline และ apramycin ซึ่งจากการรายงานของ Quesada และคณะ, 2014 พบว่า apramycin
มคี า่ colistin - susceptible isolates อยทู่ ี่ 4.5% และคา่ colistin - resistant isolates อย่ทู ี่ 12.40%
ซึ่งคา่ resistance ท่เี กดิ ข้ึนนอ้ ยกวา่ สารกลุ่ม antimicrobial drug อ่ืนๆ ไดแ้ ก่ tetracycline (93.8%),
ampicillin (79.5%), florfenicol (64.3%), cefotaxime (13.2%), neomycin (56.6%), gentamicin
(29.1%), ciprofloxacin (28.3%), fosfomycin (7.8%) และ amikacin (0.4%) (Huang และคณะ,
2017)

นอกจากน้ี ไดม้ กี ารเสรมิ ดว้ ยยาปฏิชวี นะกลุ่ม flavomycin ที่เปน็ สารเชิงซ้อนของยาปฏิชวี นะ
เกิดจากการจำ� แนก Streptomyces bambergiensis และ Streptomyces ghanaensis ทำ� หน้าที่ลด
การตดิ เชอ้ื ของเชอ้ื กอ่ โรคในทางเดนิ อาหารได้ และชว่ ยเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการใชอ้ าหาร (feed utilization)
ของสุกรได้ (Huvepharma, 2019)

4. กลุม่ สารแร่ธาตุ copper (Cu) เปน็ สารมปี ระโยชน์ และเป็นเอนไซมส์ ำ� คัญกลุ่ม metalloen -
zymes ในกระบวนการ cytochrome oxidase และ lysyl oxidase ซ่งึ จะชว่ ยลด และปอ้ งกันผลเสีย
ทเี่ กดิ จากความเครยี ดได้ (Hill, 2013) และปรมิ าณในการเสรมิ ใหก้ บั ลกู สกุ รมรี ะดบั ทแี่ นะนำ� ตาม NRC
(2012) อยู่ที่ 5 - 6 mg/kg ของ Cu ที่ใชใ้ นกระบวนการสนั ดาป

5. กลุ่มสาร acidifier คอื butyric acid หรือ butanoic acid เป็นกรดไขมันระเหยง่ายสายสั้น
(short chain fatty acid, SCFA) เกดิ จากกระบวนการหมกั ในทางเดนิ อาหารของสกุ ร โดยพบวา่ นอกจาก
butyric acid แล้วยงั มี propionic acid มบี ทบาทสำ� คัญอยา่ งมากต่อการตา้ นจลุ ชีพก่อโรคในทางเดนิ
อาหาร (Stecher และ Hardt, 2011) แตด่ ้วยความทม่ี ีคุณสมบตั ิเปน็ กรด มีฤทธ์ิในการกดั กรอ่ น และ
เปน็ สารระเหยงา่ ย ดังนน้ั ในอตุ สาหกรรมอาหารสตั วจ์ ึงมีการน�ำ butyric acid จับกบั แรธ่ าตุ เช่น Ca
และ Na (Machinsky และคณะ, 2015)

73 ธุรกจิ อาหารสัตว์ ปที ี่ 37 เลม่ ท่ี 191 มีนาคม - เมษายน 2563

A

Around the World

กลมุ่ yeast คอื Saccharomyces cerevisiae เปน็ จลุ นิ ทรยี ช์ นดิ หนง่ึ สามารถสรา้ งสารปฏชิ วี นะ
ธรรมชาติ ช่วยส่งเสริมสุขภาพ และการเจริญเติบโตของสัตว์ การเติมยีสต์ในอาหารลูกสุกร สามารถ
ชว่ ยปรบั ปรงุ การยอ่ ยไดข้ องโปรตนี และเยอ่ื ใยประเภทเฮมเิ ซลลโู ลส (Mathew และคณะ, 1998) และ
มหี นา้ ทหี่ ลกั ในการเพม่ิ ภมู คิ มุ้ กนั ประเภท sIgA (secretory immunoglobulin A) ทอ่ี ยใู่ นทางเดนิ อาหาร
(Ren และคณะ, 2016) ซงึ่ สง่ ผลโดยตรงในการลดปญั หาทอ้ งเสยี ในชว่ งหยา่ นม (Shen และคณะ, 2009;
Trckova และคณะ, 2014)

6. กลมุ่ probiotics คอื Bacillus subtilis คอื  จลุ นิ ทรยี เ์ ปน็ ประโยชน์ จลุ นิ ทรยี ป์ ระจำ� ถน่ิ (normal
flora) ในระบบทางเดนิ อาหาร ทำ� หนา้ ทป่ี รบั ปรงุ สมดลุ ของจลุ นิ ทรยี ใ์ นลำ� ไส้ ควบคมุ จลุ นิ ทรยี ท์ กี่ อ่ ใหเ้ กดิ
โรค ซงึ่ จลุ นิ ทรีย์ท่ดี ีในลำ� ไส้ จะทำ� หนา้ ทช่ี ่วยใหก้ ารยอ่ ยอาหารของสตั ว์มีประสทิ ธภิ าพดีขึน้ และพัฒนา
ระบบภมู คิ มุ้ กนั ในสตั วใ์ หด้ ขี น้ึ และคณุ สมบตั อิ นื่ ๆ ทสี่ ง่ ผลดตี อ่ สมรรถภาพสตั ว์ การสรา้ งความแขง็ แรง
ให้กับเซลล์ดูดซึมในล�ำไส้ ลดอาการท้องเสีย ช่วยเพ่ิมการย่อยได้ของโภชนะ และเพ่ิมประสิทธิภาพ
การเจรญิ เตบิ โต (Hu และคณะ, 2014; Lee และคณะ, 2014; Owusu-Asiedu และคณะ, 2014; Prieto
และคณะ, 2014)

จากการทบทวนวรรณกรรมขา้ งต้น กลุ่มสารเสริมทดแทนยาปฏชิ ีวนะโคลสิ ติน ตา่ งมีคุณสมบตั ิ
ในการก�ำจัดเชื้อ E. coli ในทางเดินอาหาร และลดอัตราการเกิดท้องเสีย ท�ำให้ส่งผลดีต่อการเพ่ิม
สมรรถนะการผลิต ทั้งในด้านการเจรญิ เตบิ โตทอี่ า้ งถึงปริมาณอาหารทีก่ ินได้ ประสิทธภิ าพการยอ่ ยได้
ของสารอาหาร การใชป้ ระโยชนไ์ ดข้ องโภชนะ ซ่งึ จากงานวจิ ัยได้แสดงใหเ้ หน็ วา่ กลุม่ T1 นนั้ มคี า่ การ
เจริญท่ีต่�ำที่สุด เม่ือเทียบกับกลุ่มสารเสริมทดแทน ทีมผู้วิจัยสามารถสรุป 3 หลักการท่ีจะอธิบายผล
ข้างต้นได้ดงั น้ี

1. คุณสมบตั ขิ องสารเสริมทดแทนแตล่ ะกล่มุ มกี ลไกการออกฤทธ์ิ (mode of action) ท่ีซับซอ้ น
กว่าโคลสิ ติน เชน่ bromelain ที่จดั เปน็ เอนไซม์ protease ในทางเดินอาหาร ทม่ี ีคณุ สมบตั เิ ช่นเดียวกบั
subtilisins ที่ผลิตได้จากจุลินทรีย์ ท้ังยังมีคุณสมบัติในการออกฤทธิ์ในช่วงค่า pH ได้ตั้งแต่ 5.0 ถึง
10.0 (Engwerda และคณะ, 2001) ซง่ึ อธิบายตามหลักกายวิภาคได้คอื สามารถทำ� หนา้ ท่ไี ด้ตลอดช่วง
ทางเดินอาหารในสว่ นลำ� ไส้เล็ก นอกจากน้ีมีผลต่อ secretory signaling pathways สง่ ผลทำ� ให้มกี าร
เปล่ียนแปลงของ glycoprotein receptors ที่ intestinal mucosa มีคุณสมบัติเป็น anti - adhesion
ต่อจุลินทรียก์ อ่ โรคโดยเฉพาะ K88+ ETEC (Chandler และ Mynott, 1998)

2. การใชส้ ารเสรมิ ทดแทนแบบปจั จยั เดี่ยว เช่น Cu ในรปู CuSO4 อาจมีคณุ สมบัติต่อการยบั ยั้ง
อาการท้องเสียหลังหย่านมท่ีแคบ โดย Cu ในกระบวนการสันดาปสามารถปรับสภาพทางเดินอาหาร
ส่วนต้น และส่วนกลางให้มีความเป็นกรด ซึ่งเหมาะสมต่อจุลินทรีย์มีประโยชน์ ซ่ึงข้อจ�ำกัดคือ การ
ลดจ�ำนวนของ lactic acid bacteria, lactobacilli และ streptococci ท่ีส่วนท้ายของทางเดินอาหาร
(ileal and colonic microbiota) โดยพบว่าการเสริม Cu จะส่งผลต่อการเปล่ียนแปลง cecal VFA
(volatile fatty acid) โดยทำ� ให้ A: P ratio (acetic:propionic ratio) เปลยี่ นแปลงไป อกี ทงั้ ยงั เหนยี่ วนำ�

ธรุ กจิ อาหารสัตว์ ปีท่ี 37 เล่มท่ี 191 มนี าคม - เมษายน 2563 74

A

Around the World

การแสดงออกของ MDA (malondialdehyde) ที่เป็น lipid peroxidation ของทางเดนิ อาหารในกรณี
ท่ีมีการเสรมิ ที่สกุ รหย่านมอายุ 0 - 14 วนั (Hojberg และคณะ, 2005)

3. คุณสมบัติของสารเสริมทดแทนบางกลุ่มต้องการปัจจัยร่วม โดยพบการรายงานของ Rekiel
และคณะ, 2007 กลา่ ววา่ การเสรมิ flavomycin ที่ระดับ 100 mg ในอาหาร 1 kg เทยี บกบั probiotic
(Saccharomyces cerevisiae, yeasts) ในสุกรขนุ ต้ังแต่ 26 kg ขึ้นไปจนถงึ 100 kg พบวา่ การเสรมิ
flavomycin ให้ผลการทดลองไม่แตกต่างกันกับ probiotic ในด้านการเจริญเติบโต คุณภาพซาก
โลหติ วทิ ยา และสณั ฐานวทิ ยาลำ� ไสน้ นั้ อาจแสดงใหเ้ หน็ วา่ การเสรมิ flavomycin ทมี่ กี ารสกดั และจำ� แนก
มาจาก Streptomyces bambergiensis และ Streptomyces ghanaensis สามารถเพิ่มประสิทธิภาพ
การเจรญิ เตบิ โตได้ และส่งผลเชิงบวกต่อคุณภาพซาก รวมทัง้ ปรับปรุงการทำ� งานของระบบย่อยอาหาร
กอ่ นหนา้ นไี้ ม่มีการรายงานการใช้ flavomycin ในลูกสุกรหยา่ นม อย่างไรก็ดี จากงานวิจยั น้ี ชใ้ี หเ้ ห็น
ว่าการใช้ apramycin ร่วมกับ flavomycin (ปัจจัยร่วม) ให้ผลการทดลองที่ไม่แตกต่างจากสารเสริม
ทดแทนกลุ่มอืน่ ๆ

Ma และคณะ, 2015 รายงานคุณสมบัตเิ บือ้ งตน้ ทางเภสัชวิทยาของ Cu น้นั สามารถช่วยเพิม่
การเจรญิ เติบโตของสุกรได้ สอดคล้องกับการรายงานของ Perez และคณะ, 2011 ท่พี บว่าการเสรมิ Cu
ทร่ี ะดบั 100 - 250 mg/kg ของอาหาร จะชว่ ยเพม่ิ การเจรญิ เตบิ โต ปรมิ าณอาหารทก่ี นิ ได้ และลดอตั รา
สูญเสียของสุกรได้ นอกจากนี้ ยังสามารถเพิ่มพื้นท่ีสัณฐานวิทยาของล�ำไส้ และสุขภาพของล�ำไส้
ใหด้ ขี ้นึ ได้ในสกุ รหย่านม (Zhao และคณะ, 2007) อย่างไรก็ตาม ฟอร์ม (form) ของการเสรมิ Cu มี
ลหกะาลรลาใากชยห้ปไลดราะด้ ยโที ยรง้ัูปชในแนบ์ไนดบำ้� ้ขแอเลชงะ่นใCนsuสuภlนfาaน้ั พteไกมร(แ่ CดตuกSตO่า4ง)กหนั รอื(Ctrroibmawsiesllcแopลpะeคrณcะh,l o19ri9de8)(TแBตC่ CC)uSซOงึ่ ป4 รจะะสสทิ าธมภิ าารพถ

การเสรมิ butyric acid มผี ลโดยตรงตอ่ การพฒั นาระบบทางเดนิ อาหาร เชน่ cell proliferation
เพิ่มพนื้ ท่กี ารดูดซึมอาหาร และเปน็ บาเรยี ป้องกนั การเข้าท�ำลายผนงั ล�ำไส้จาก E. coli (Lu และคณะ,
2008; Hanczakowska และคณะ, 2014; Huang และคณะ, 2015) รวมไปถงึ การเพม่ิ gene expression
ของยีนสร้างกล้ามเนื้อ และเน้ือเย่ือไขมันท่ีเพ่ิมมากข้ึนเช่นกัน โดยการวิเคราะห์การแสดงออกของยีน
ด้วยเคร่ือง RT - PCR (real - time polymerase chain reaction) (Le Gall และคณะ, 2009; Lu และ
คณะ 2012) และ yeast ท่ีมีคุณสมบัติชัดเจนในการเพ่ิมประสิทธิภาพการท�ำงานของทางเดินอาหาร
เชน่ เดยี วกับ probiotics และยงั มคี ุณสมบตั ทิ น่ี า่ สนใจคือ การใชอ้ อกซเิ จนในการเมทาโบลซิ ึม เพราะ
ทำ� ใหจ้ ลุ นิ ทรยี ก์ ลมุ่ anaerobic bacteria มปี ระสทิ ธภิ าพการทำ� งานดขี น้ึ โดยหนา้ ทหี่ ลกั ของ anaerobic
อbaาcหtาeรrมiaคี วคาือมกเหารมลาดะกสามรตผอ่ ลกิตารเCมHท4าโแบลละซิ เมึพิม่ VกFาAรผสลง่ ผิตลทlaำ� cใtหicจ้ ลุ aนิ cทidรยี โก์ดลยมุ่เรpมิ่ rจoาteกoกlyาtรicที่ pH ในทางเดิน
bacteria เพม่ิ ขนึ้
(Ogbuewu และคณะ, 2018) และการทำ� งานรว่ มกนั ของ butyric acid และ yeast (ปจั จยั รว่ ม) สง่ ผล
โดยรวมครบทกุ ดา้ น โดยกรดจะสนบั สนนุ ดา้ นการดดู ซมึ อาหาร เพม่ิ การใชป้ ระโยชนไ์ ดข้ องสารอาหาร

และ yeast จะเพม่ิ จุลินทรยี ์มีประโยชนต์ ่อระบบ และเพิ่มประสิทธภิ าพการยอ่ ยได้จากเอนไซม์

75 ธุรกจิ อาหารสัตว์ ปีท่ี 37 เล่มที่ 191 มนี าคม - เมษายน 2563

A

Around the World

กลุม่ สดุ ทา้ ยคือ probiotics (Bacillus subtilis) กลไกการท�ำงานของ probiotics ต่ออาการ
ทอ้ งเสยี หลงั หยา่ นม โดย Bacillus subtilis เมอ่ื เดนิ ทางเขา้ สทู่ างเดนิ อาหารสว่ นลำ� ไสเ้ ลก็ จะมกี ารเขา้ เกาะ
กับผนังล�ำไส้ และมกี ารผลิต organic acid, hydrogen peroxide, lactoferrin และ bacteriocin ซ่งึ
จัดเปน็ antimicrobial substances ต่อจุลนิ ทรีย์ก่อโรค และดว้ ยเอนไซมท์ ่ีสำ� คญั จาก probiotics เชน่
b - galactosidase, superoxide dismutase (SOD) และกลุ่ม proteolytic enzyme ท�ำให้กิจกรรม
ของทางเดินอาหารมีประสิทธิภาพเพิ่มสูงข้ึน (Stecchini และคณะ, 2001) และพัฒนาระบบ gut
associated lymphoid tissue (GALT) สง่ ผลพัฒนาระบบภมู คิ ุม้ กัน ยิ่งไปกวา่ นัน้ Bacillus subtilis
แสดงผลโดดเด่นในดา้ นสมรรถนะการผลติ ตอ่ ทอ้ งเสียหลงั หยา่ นม

บทสรปุ

การใช้สารเสริมทดแทนยาปฏิชีวนะโคลิสตินต่ออาการท้องเสียหลังหย่านม (post - weaning
diarrhea: PWD) ที่มีคุณสมบัติการป้องกัน รักษาอาการท้องเสีย ยับยั้งจุลินทรีย์ก่อโรค และพัฒนา
ระบบทางเดนิ อาหาร จากผลการทดลองพบวา่ อาหารทดลองทงั้ 5 กลมุ่ (T2 - T6) มคี ณุ สมบตั สิ ามารถ
ใชท้ ดแทนยาปฏชิ วี นะ (ABO replacer) โดยสารเสรมิ กลมุ่ (T2) bromelain และกลมุ่ (T3) apramycin
รว่ มกบั flavomycin ใหผ้ ลการทดลองใกลเ้ คยี งกบั (T1) โคลสิ ตนิ อาหารกลมุ่ metabolic intermediate
คือ (T4) CuSO4 และกลมุ่ (T5) butyric acid รว่ มกบั yeast ใหผ้ ลการทดลองดา้ นประสทิ ธิภาพ
การเจรญิ เตบิ โตทดี่ กี วา่ 3 กลมุ่ ขา้ งตน้ และกลมุ่ (T6) probiotics นอกจากใหผ้ ลใกลเ้ คยี งกบั กลมุ่ (T1)
โคลิสตนิ แล้ว ยังให้ผลการทดลองดา้ นสมรรถนะการผลิตทีโ่ ดดเดน่ กว่าทกุ กลมุ่ งานวจิ ยั น้ี ช้ีให้เห็นวา่
กลไกการออกฤทธข์ิ องสารเสรมิ ตอ้ งใหผ้ ลเปน็ วงกวา้ งตอ่ ระบบทางเดนิ อาหาร ซงึ่ เปน็ การพฒั นาระบบ
ภูมิค้มุ กัน นอกจากนี้ คณุ สมบัติของสารเสรมิ ต่ออาการท้องเสียหลังหย่านม ต้องมกี ารศึกษาเพม่ิ เติม
ส�ำหรับการใชป้ ัจจัยร่วม หรือปัจจยั กลุม่ (2 กล่มุ ขน้ึ ไป) เพือ่ ศกึ ษาอิทธิพลรว่ มของสารเสรมิ (inter -
action effect)

กิตติกรรมประกาศ

ผู้วิจัยขอขอบคุณ เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการประจ�ำภาควิชาจุลชีววิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์
จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ทใี่ หค้ วามอนเุ คราะหก์ ารเกบ็ ตวั อยา่ งและตรวจวเิ คราะหต์ วั อยา่ งในการทำ� งาน
วิจัย และสัตวแพทย์หญิงวนิดา แจ้งประจักษ์, สัตวแพทย์หญิงวชิราพร แสนสม, สัตวแพทย์หญิง
ณฐั วณี า ชนิ รตั นลาภ ทชี่ ว่ ยประสานงาน เรยี บเรยี งขอ้ มลู ออกพน้ื ทรี่ ว่ มงาน และเจา้ หนา้ ทกี่ องควบคมุ
อาหารและยาสตั ว์ กรมปศุสตั ว์ ทใ่ี ห้การสนับสนุนในการทำ� งานวจิ ัยในครั้งนด้ี ว้ ย

ธรุ กิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เลม่ ท่ี 191 มีนาคม - เมษายน 2563 76

A

Around the World

เอกสารอ้างอิง

กรมปศุสัตว์, 2560. จาก http://ict.dld.go.th/th2/index.php/th/report/529-report-thailand-livestock/
reportservey2560/1243-2560-prov.

สมาคมสตั วแพทย์ควบคมุ ฟารม์ สกุ รไทย. 2560. เกณฑก์ �ำหนดมาตรฐานฟาร์ม. จาก https://tsva.or.th/standard-
of-pig-farm-criteria.

AOAC, Methods of Analysis of AOAC International. 2016. 20th Method 991.14.
Campbell JM, Crenshaw JD and Javier P 2013. The biological stress of early weaned piglets. J Anim Sci Biot.

4(1):19.
Chandler DS and Mynott TL 1998. Bromelain protects piglets from diarrhea caused By oral challenge with

K88 positive Enterotoxigenic Escherichiacoli. Gut. 43:196-202.
Cromwell GL, Lindemann MD, Monegue HJ, Hall DD and Orr Jr DE 1998. Tribasic copper chloride and

copper sulfate as copper sources for weanling pigs. J Anim Sci. 76:118-123.
Engwerda C, Randrew D, Ladhams A and Mynott TL 2001.Bromelain modulates T cell and B cell immune

responses in vitro and in vivo. Cell Immunol. 210:66-75.
Hanczakowska E, Niwinska B, Grela ER, We˛glarzy K and Okon K 2014. Effect of dietary glutamine,

glucose and/or sodium butyrate on piglet growth, intestinal environment, subsequent fattener
performance, and meat quality. Czech J Anim Sci. 59:460-470.
Hojberg O, Canibe N, Poulsen HD, Hedemann MS and Jensen BB 2005. Influence of dietary zinc oxide
and copper sulfate on the gastrointestinal ecosystem in newly weaned piglets. Appl Environ
Microbiol 71:2267-2277.
Hill GM 2013. Minerals and mineral utilization in swine. In: Chiba LI, editor. Sustainable swine nutrition.
Oxford, U.K.: Blackwell Publishing Ltd. p.186-189.
Hu Y, Dun Y, Li S, Zhao S, Peng N and Liang Y 2014. Effects of Bacillus subtilis KN-42 on growth
performance, diarrhea and faecal bacterial flora of weaned piglets. Asian Australas J Anim Sci.
27:1131-40.
Huang C, Song P, Fan P, Hou C, Thacker P and Ma X 2015. Dietary sodium butyrate decreases post
weaning diarrhea by modulating intestinal permeability and changing the bacterial communities in
weaned piglets. J Nutr. 145:2774-2780.
Huang X, Yu L, Chen X, Zhi C, Yao X, Liu Y, Wu S, Guo Z, Yi L and Zeng Z 2017. High prevalence of
colistin resistance and mcr-1 gene in Escherichia coli isolated from food animals in China. Front
Microbial. 8:562.
Huvephamrma. 2019. จาก https://www.huvepharma.com/products/flavomycinr-40
Kyriakis SCI, Georgoulakis A, Spais C, Alexopoulos CC and Kritas SK 2003. Evaluation of toyocerin, a
probiotic containing Bacillus toyoi spores, on health status and productivity of weaned, growing
and finishing pigs. Asian-Australasian J Anim Sci. 16(9):1326-1331

77 ธรุ กิจอาหารสัตว์ ปที ี่ 37 เลม่ ที่ 191 มนี าคม - เมษายน 2563

A

Around the World

Lee SH, Ingalev SL, Kim JS, Kim KH, Lokhande A and Kwon IK 2014. Effects of supplementation of
Bacillus subtilis LS 1-2 grown on citrus-juice waste and corn-soybean meal substrate on performance
and gut health of weaning pigs. Anim Nutr Feed Technol. 14:225.

Lu R, Wang X, Sun DF, Tian XQ, Zhao SL and Chen YX 2008. Folic acid and sodium butyrate prevent
tumorigenesis in a mouse model of colorectal cancer. Epigenetics. 3:330-335..

Le Gall M, Gallois M, Seve B, Louveau I, Holst JJ and Oswald IP 2009. Comparative effect of orally
administered sodium butyrate before or after weaning on growth and several indices of gastrointestinal
biology of piglets. Br J Nutr. 102:1285-1296.

Liu YY, Wang Y, Walsh TR, Yi LX, Zhang R and Spencer J. 2016. Emergence of plasmid-mediated
colistin resistance mechanism MCR-1 in animals and human beings in China: a microbiological
and molecular biological study. Lancet infect Dis. 16:161–168.

Lu H, Su S and Ajuwon KM 2012. Butyrate supplementation to gestating sows and piglets induces muscle
and adipose tissue oxidative genes and improves growth performance. J Anim Sci. 90(4):430-432.

Ma YL, Zanton GI, Zhao J, Wedekind K, Escobar J and Vazquez-Anon M 2015. Multitrial analysis of the
effects of copper level and source on performance in nursery pigs. J Anim Sci. 93:606-614.

Machinsky TG, Kessler M, Ribeiro AML, Moraes L, Mello da Silva IC and Mayorga-Cortes ME 2015.
Nutrient digestibility and Ca and P balance in pigs receiving butyric acid, phytase and different
calcium levels. Ciencia Rural. 40:2350-2355.

Mathew AG, Chattin SE, Robbins CM and Golden DA 1998. Effects of a direct-fed yeast culture on
enteric microbial populations, fermentation acids, and performance of weanling pigs. J Anim Sci.
76:2138-2145.

Maurer HR 2001. Bromelain: biochemistry, pharmacology and medical use. Cell Mol Life Sci. 58:1234–1245.
Minitab (Version 16) [Software] 2013. [Last accessed on 2013 Aug 28]. Available from: http://www.

minitab.com/en-US/products/minitab/default.aspx
Mondal S, Bhattacharya S, Pandey JN and Biswas M 2011. Evaluation of acute anti-inflammatory effect

of Ananas comosus leaf extract in Rats. Pharmacology Online 3:1312-1315.
NRC. In: Nutrient requirements of swine. 11th rev. Washington, DC: Natl. Acad. Press; 2012.
Ogbuewu IP, Okoro VM, Mbajiorgu EF and Mbajiorgu CA 2018. Yeast (Saccharomyces cerevisiae) and its

effect on production indices of livestock and poultry — a review. Comp Clin Pathol. 28:669-677
Owusu-Asiedu A, Jaworski NW, Awati AA and Stein HH 2014. Effect of Bacillus spp. direct-fed microbial

supplementation on the nutrient digestibility by weanling pigs. J Anim Sci. 92(2):143.
Perez VG, Waguespack AM, Bidner TD, Southern LL, Fakler TM and Ward TL 2011. Additivity of effects

from dietary copper and zinc on growth performance and fecal microbiota of pigs after weaning.
J Anim Sci. 89:414-425.

ธรุ กจิ อาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 191 มนี าคม - เมษายน 2563 78

A

Around the World

Pigprogress, A balanced approach in sow and piglet diets. 2018. [Online] Available: https://www.pigprogress.
net/Nutrition/Articles/2018/9/A-balanced-approach-in-sow-and-piglet-diets-327524E. Accessed June 1,
2018.

Prieto ML, Laurie OS, Shiau PT, McLoughlin P, O’Donovan RMC, Kent RM, Cassidy JP, Hughes H, Gardiner
GE and Lawlor PG 2014. Evaluation of the efficacy and safety of a marine-derived bacillus strain
for use as an in-feed probiotic for newly weaned pigs. PLoS One 9(2):88599.

Quesada A, Porrero MC, Tellez S, Palomo G, Garcia M and Dominguez L 2014. Polymorphism of genes
encoding PmrAB in colistin-resistant strains of Escherichia coli and Salmonella enterica isolated
from poultry and swine. J Antimicrob Chemother. 70:71-74.

Rekiel A, Wiecek J, Bielecki W, Gajewska J, Cichowicz M, Kulisiewicz J, Batorska M, Roszkowski T and
Beyga K 2007. Effect of addition of feed antibiotic flavomycin or prebiotic BIO-MOS on production
results of fatteners, blood biochemical parameters, morphometric indices of intestine and composition
of microflora. Arch Tierz Dummerstorf. 50:172–180.

Ren W, Wang K, Yin J, Chen S, Liu G, Tan B, Wu G, Bazer FW, Peng Y and Yin Y 2016. Glutamine-
induced secretion of intestinal secretory immunoglobulin A: A mechanistic perspective. Front Immunol.
7:503.

Rhouma M, Fairbrother JM, Beaudry FF and Letellier A 2017. Post weaning diarrhea in pigs: risk factors
and non colistin based control strategies. Acta Vet Scand. 59:31.

Shen Y B, Piao X S, Kim S W, Wang L, Liu P, Yoon I and Zhen YG 2009. Effects of yeast culture
supplementation on growth performance, intestinal health, and immune response of nursery pigs.
J Anim Sci. 87:2614-2624.

Statistical Analysis System (SAS). 2004. SAS Online. Doc, Version 9.0. SAS Institute Inc., Cary, NC: USA
Stecchini ML Torre MD and Munari M 2001. Determination of peroxy radical scavenging of lactic acid bacteria.

Int J Food Microbiol.64:183.
Stecher B and Hardt WD 2011. Mechanisms controlling pathogen colonization of the gut. Curr Opin Microbiol.

14:82-91.
Trckova M, Faldyna M, Alexa P, Sramkova Zajacova Z, Gopfert E, Kumprechtova D, Auclair E and D’Inca

R 2014. The effects of live yeast Saccharomyces cerevisiae on postweaning diarrhea, immune
response, and growth performance in weaned piglets. J Anim Sci. 92:767-774.
Van Beckhoven RF, Zenting HM, Maurer KH, Van Solingen P and Weiss A 1995. Bacillus cellulases and
its application for detergents and textile treatment. EPOff. 739:982-988.
Zhao J, Harper AF, Estienne MJ, Webb Jr KE, McElroy AP and Denbow DM 2007. Growth performance
and intestinal morphology responses in early weaned pigs to supplementation of antibiotic-free
diets with an organic copper complex and spray-dried plasma protein in sanitary and non-sanitary
environments. J Anim Sci. 85:1302-1310.

79 ธุรกจิ อาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มท่ี 191 มนี าคม - เมษายน 2563

ขอขอบคุณบรษิ ัทท่ใี หค้ วามสนับสนนุ

และความร่วมมอื ในการจดั ทำ� วารสารธุรกจิ อาหารสัตว์

1 บรษิ ัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน) โทร. 0-2833-8000

2 บรษิ ัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) สมทุ รปราการ โทร. 0-2680-4580

3 บรษิ ัท กรุงไทยอาหาร จ�ำกัด (มหาชน) โทร. 0-2473-8000

4 บรษิ ัท ทีเอฟเอ็มเอส จ�ำกัด โทร. 0-2814-3480

5 บรษิ ัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จ�ำกัด (มหาชน) โทร. 0-2632-7232

6 บรษิ ัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) สระบุร ี โทร. 0-2680-4500

7 บรษิ ัท ทอ็ ป ฟดี มลิ ล์ จ�ำกัด โทร. 0-2194-5678-96

8 บรษิ ัท แลบอินเตอร์ จ�ำกัด โทร. 0-3488-6140-48

9 บรษิ ัท ฮูเวฟารม์ า (ประเทศไทย) จ�ำกัด โทร. 0-2937-4355

10 บรษิ ัท เออรเ์ บอร์ ไบโอเทค (ประเทศไทย) จ�ำกัด โทร. 0-2993-7500

11 บรษิ ัท ยูนีโกรอินเตอรเ์ นช่นั แนล จ�ำกัด โทร. 0-3430-5101-3

12 บรษิ ัท อดิสสโิ อ เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด โทร. 0-2681-1329

13 บรษิ ัท วเี อ็นยู เอ็กซบิ ชิ น่ั ส์ เอเซยี แปซฟิ คิ จ�ำกัด โทร. 0-2670-0900 # 113

14 บรษิ ัท ไฟโตไบโอติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด โทร. 0-2694-2498

15 ลา เมคคานิค่า เอส.อาร.์ ดิเรฟโฟ โทร. 0-9824-9771




Click to View FlipBook Version