The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Narongong232519, 2022-04-20 23:47:28

หน่วยที่1 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

รายละเอียดรายวชิ า

รหัสวิชา 20100-1003 ชอ่ื วิชา งานฝกฝมือ จาํ นวน 2 หนว ยกิต 6 ชั่วโมง/สัปดาห
หลักสตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) พุทธศักราช 2562 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม

จดุ ประสงคร ายวชิ า เพ่อื ให

1. รแู ละเขาใจเกี่ยวกบั การใช การบํารงุ รักษาเครอื่ งมอื และเครอ่ื งมือกลเบื้องตน
2. ปฏิบตั ิงานโดยใชเ ครอ่ื งมอื ไดอยางถูกตองและปลอดภัย
3. มีเจตคตแิ ละกิจนสิ ัยทดี่ ีในการทาํ งานดวยความอดทน ปลอดภยั ผลงานประณีต เรียบรอย

ละเอียด รอบคอบ เปนระเบยี บ สะอาด ตรงตอเวลามคี วามซื่อสัตย รับผดิ ชอบ และรักษา
สภาพแวดลอ ม

สมรรถนะรายวชิ า

1. เตรียมเครือ่ งมือและเครอื่ งมอื กลเบอื้ งตนตามคูมอื
2. วัดและรา งแบบชน้ิ งานโลหะ
3. แปรรูปและประกอบชน้ิ งานโลหะดว ยเครอื่ งมือกลทั่วไป
4. ลบั คมตดั เคร่ืองมือกลท่วั ไป

คาํ อธบิ ายรายวชิ า

ปฏิบตั ิเก่ยี วกบั การใช การบํารุงรักษาเครอื่ งมือและเครื่องมือกลเบ้ืองตน งานวดั และตรวจสอบ
งานรา งแบบ งานเล่ือย งานสกดั งานตะไบ งานเจาะ งานลับคมตดั งานทําเกลียว งานเครอ่ื งมือกล
เบ้อื งตน และการประกอบชน้ิ งาน สงิ่ แวดลอมและความปลอดภัยในการปฏบิ ัติงาน

ตารางที่ 1 วเิ คราะหหลักสูตร

รหัสวิชา 20100-1003 ชอ่ื วิชา งานฝกฝมอื จาํ นวน 2 หนวยกิต 6 ชว่ั โมง/สัปดาห
หลักสตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) พทุ ธศักราช 2562 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม

พทุ ธพิ สิ ยั (.....%)
ความจํา
พฤติกรรม ความเ ขาใจ
นําไปใ ช
ชอ่ื หนวย ิวเคราะ ห
ัสงเคราะ ห
ประเ ิมนคา
ัทกษะ ิพ ัสย (....%)

จิต ิพ ัสย (%)
รวม

ํลาดับความ ํสาคัญ
จํานวน ่ัชวโมง

10 10 10 10 10 10 60 108

1.ความปลอดภัยในการ

ปฏบิ ัติงาน 8 8 10 10 10 46 6 6
10 10 46 6 12
2.เครอ่ื งมือท่ัวไป 8 8 10 10 10 53 3 12
10 10 53 3 12
3.งานวดั และตรวจสอบช้ินงาน 8 10 10 5 10 10 56 1 18
10 10 54 2 6
4.งานรา งแบบ 8 10 10 5 10 10 44 8 6
10 10 44 8 6
5.งานตะไบ 8 10 10 8 10 10 49 5 6
10 10 44 8 12
6.งานเลื่อย 8 8 10 8

7.งานสกัด 888

8.งานลบั คมตัด 888

9.งานเจาะ 8885

10.งานทําเกลียว 888

11.งานเครื่องมือกลเบื้องตน

และการประกอบช้ินงาน 8885 10 10 49 5 12

รวม 80 86 92 31 100 100 489 108
ลาํ ดบั ความสาํ คญั 3214

กําหนดนา้ํ หนักคะแนนความสาํ คญั ของแตล ะหนว ยการเรยี น ในแตละพฤตกิ รรม ชอ งละ 10

คะแนนโดยยึดเกณฑนา้ํ หนักคะแนน

1. สําคญั ที่สุด 9-10 คะแนน

2. สาํ คัญมาก 7-8 คะแนน

3. สาํ คัญปานกลาง 4-6 คะแนน

4. สําคัญนอ ย 2-3 คะแนน

5. สําคญั นอ ยมาก หรอื ไมสาํ คัญเลย 0-1 คะแนน

ตารางที่ 2 วเิ คราะหหนวยการเรยี นรแู ละช่ัวโมงเรียน

รหัสวชิ า 20100-1003 ชอ่ื วิชา งานฝกฝมอื จาํ นวน 2 หนวยกติ 6 ช่วั โมง/สปั ดาห
หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี (ปวช.) พทุ ธศักราช 2562 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม

ลําดับ ชอื่ หนวยการเรียนรู จํานวนคาบ สัปดาหท ่ี
ท่ี (ชม.)
6 1
1 ความปลอดภัยในการปฏบิ ตั งิ าน 6 2
12 3-4
2 เครื่องมือทวั่ ไป 12 5
18 6-8
3 งานวัดและตรวจสอบชน้ิ งาน 6 9-10
6 11
4 งานรา งแบบ 6 12
6 13-14
5 งานตะไบ 12 15
12 16-17
6 งานเลื่อย 18
108
7 งานสกัด

8 งานลบั คมตดั

9 งานเจาะ

10 งานทําเกลยี ว

11 งานเครอื่ งมือกลเบ้ืองตน และการประกอบชิ้นงาน

สอบปลายภาค

รวม

ตารางที่ 3 วเิ คราะหร ายละเอยี ดหนว ยการเรยี นรแู ละช่วั โมงเรยี น

รหสั วิชา 20100-1003 ชอ่ื วิชา งานฝก ฝม อื จาํ นวน 2 หนว ยกิต 6 ช่วั โมง/สปั ดาห
หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) พทุ ธศกั ราช 2562 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม

สัปดาหที่ หนว ยที่ ชอื่ หนวย/ หัวขอการสอน จํานวนคาบ
ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม
1 1 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
1.1 สง่ิ แวดลอ มในการปฏบิ ตั งิ าน 2 46
1.2 ความหมายของความปลอดภัยและอุบตั ิเหตุ
1.3 สาเหตุของการเกิดอบุ ัตเิ หตุ 2 46
1.4 ผลกระทบท่ีเกดิ จากอุบัตเิ หตุ
1.5 การปอ งกนั อุบัติเหตุ 4 8 12
1.6 เคร่อื งหมายและสัญลักษณความปลอดภยั
1.7 ความปลอดภยั ในโรงงาน
1.8 ความปลอดภยั ในการใชเ ครื่องจักร

2 2 เคร่ืองมือท่วั ไป
2.1 เครอ่ื งมอื ทัว่ ไป
-ประแจ
-คมี
-คอ น
-ไขควง
2.2 ความปลอดภยั ในการใชเคร่ืองมอื
2.3 การบาํ รุงรกั ษาเคร่ืองมือ

3-4 3 งานวดั และงานตรวจสอบชิ้นงาน
3.1 ความหมายของงานวัด
3.2 หนวยการวดั
3.3 เครอื่ งมือวดั
3.4 ความหมายของงานตรวจสอบ
3.5 เคร่อื งมอื ตรวจสอบ
3.6 การบํารุงรกั ษาเครื่องมือวัด

ตารางที่ 3 (ตอ )วิเคราะหรายละเอยี ดหนว ยการเรียนรแู ละชวั่ โมงเรียน

รหสั วชิ า 20100-1003 ชอ่ื วิชา งานฝกฝมือ จาํ นวน 2 หนวยกิต 6 ช่ัวโมง/สปั ดาห
หลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวช.) พุทธศกั ราช 2562 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม

สัปดาหท ี่ หนว ยที่ ช่อื หนวย/ หวั ขอ การสอน จํานวนคาบ
ทฤษฎี ปฏบิ ัติ รวม
5 4 งานรางแบบ
4.1 ความหมายของการรางแบบ 246
4.2 ประเภทของเคร่ืองมือรา งแบบและการใชง าน
4.3 การรา งแบบดวยบรรทัดเหลก็ และวงเวยี น 4 14 18
4.4 เหล็กตอกรางแบบและเทคนิคการตอกรา งแบบ
4.5 การตอกหมายเลขและการบาํ รุงรักษา 4 8 12
4.6 การตอกช่ือและหมายเลขชิ้นงาน 246

6-8 5 งานตะไบ 246
5.1 ความหมายของงานตะไบ
5.2 สวนประกอบและมุมคมตัดของตะไบ
5.3 ประเภทของตะไบ
5.4 เทคนิคการใชตะไบและการตะไบช้นิ งาน
5.5 ขอ ควรระวงั ในการตะไบและการบํารุงรักษา

9-10 6 งานเลอ่ื ย
6.1 ใบเล่ือยและคลองเลือ่ ยมือ
6.2 การจับยึดช้นิ งานและเทคนิคการตดั ดวยเลอื่ ยมือ
6.3 การใชงานและบํารุงรกั ษาเลอื่ ยมอื

11 7 งานสกดั
7.1 คุณสมบตั แิ ละมมุ ของสกดั
7.2 ประเภทของสกดั ในงานชา ง
7.3 เทคนคิ การใชงานและการบํารงุ รกั ษาสกัด
7.4 การลบั คมสกัด

12 8 งานลับคมตัด
8.1 ความหมายและชนดิ ของเคร่ืองเจียระไนลบั คมตัด
8.2 การลบั ดอกสวาน
8.3 การลบั มดี กลงึ
8.4 การบํารงุ รักษาเคร่ืองเจียระไนลับคมตดั

ตารางที่ 3 (ตอ )วเิ คราะหร ายละเอยี ดหนวยการเรียนรูแ ละชว่ั โมงเรียน

รหสั วิชา 20100-1003 ชอ่ื วิชา งานฝกฝมอื จาํ นวน 2 หนวยกิต 6 ช่ัวโมง/สัปดาห
หลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) พุทธศักราช 2562 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม

สัปดาหท ี่ หนวยท่ี ชือ่ หนวย/ หัวขอ การสอน จาํ นวนคาบ
ทฤษฎี ปฏบิ ัติ รวม
13-14 9 งานเจาะ
9.1 ความหมายและชนิดของเครื่องเจาะ 4 8 12
9.2 การจบั ชิน้ งานเจาะ
9.3 สวนประกอบดอกสวาน 246
9.4 การลบั คมดอกสวา น
9.5 งานเจาะและการผายปากรู 4 8 12
9.6 การบาํ รงุ รักษาเครื่องเจาะ
246
15 10 งานทําเกลยี ว
10.1 สวนประกอบของเกลียว
10.2 ระบบเกลียวและประเภทเกลียว
10.3 ชนดิ ของการตัดเกลียว
10.4 ชนิดของการทําเกลียว
10.5 การบํารุงรักษาเครื่องเจียระไนลบั คมตัด

16-17 11 งานเครื่องมอื กลและการประกอบชิน้ งาน
11.1 ชนดิ ของเคร่ืองกลึง
11.2 สว นประกอบและกลไกควบคมุ เคร่ืองกลงึ
11.3 เครอ่ื งมือและอุปกรณที่ใชก ับเคร่อื งกลึง(ชะลอ)
11.4 การปรับความเร็วรอบ ความเรว็ ตัดและอตั ราปอ น
11.5 ขน้ั ตอนการทํางานของเคร่ืองกลงึ
11.6 การบํารุงรกั ษาเคร่ืองกลึง
11.7 เครอื่ งมือในการถอด ประกอบชน้ิ งาน
11.8 สกรู โบลต และนตั

18 สอบปลายภาค
รวม

ใบเนอื้ หา หนว ยท่ี : 1
(Information Sheet) แผนที่ : 1

วิชา งานฝก ฝมือ รหัสวิชา 20100-1003

วทิ ยาลยั เทคนคิ ทา หลวงซเิ มนตไทยอนสุ รณ เร่ือง : สง่ิ แวดลอ มและความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน

หนวยท่ี 1
สิง่ แวดลอมและความปลอดภยั ในการปฏบิ ัติงาน

(Environment and safety in operation)

การเรยี นการสอนในรายวิชางานฝกฝมือ รหสั วิชา 20100-1003 ใหประสบผลสําเรจ็ ทดี่ ี ผูเรียน

ควรทราบขอมลู เกยี่ วกับกระบวนการเรียนการสอน เชน จุดประสงครายวิชา หัวขอการเรียนรู คุณธรรมจริยธรรม

การวดั ประเมนิ ผล เปนตน ขอมลู ที่ผเู รียนควรรูม ีดังน้ี

เวลาเรยี น

รายวิชางานฝก ฝมือ รหสั วชิ า 20100-1003 ใชเ วลาเรยี นท้ังหมด 18 สปั ดาห ๆ ละ 6 ชวั่ โมง

รวมทง้ั หมด 108 ช่วั โมง ตอ ภาคเรยี น โดยเรยี นทง้ั ทฤษฎแี ละปฏิบัติ นกั เรียนจะตองมีเวลาเรียนไมน อยกวา 80

% ของเวลาเรยี นทงั้ หมด ถาเวลาเรยี นไมถ ึง 80% ของเวลาเรยี นทง้ั หมด นกั เรยี นจะไมมสี ิทธเิ์ ขาสอบปลาย

ภาคเรียน หรือมีระดับคะแนนเปน ข.ร ตอ งลงทะเบียนเรียนใหม

หนว ยการเรียน

ลาํ ดับที่ ช่อื หนวยการเรียนรู จํานวนคาบ
(ชม.)

1 สิง่ แวดลอมและความปลอดภัยในการปฏิบตั งิ าน 6

2 เคร่อื งมอื ท่วั ไป 12

3 งานวัดและตรวจสอบชิ้นงาน 12

4 งานรา งแบบ 12

5 งานตะไบ 18

6 งานเลอ่ื ย 6

7 งานสกัด 6

8 งานลบั คมตัด 6

9 งานเจาะ 6

10 งานทําเกลยี ว 12

11 งานเคร่อื งมอื กลเบื้องตนและการประกอบชน้ิ งาน 12

รวม 108

ใบเน้อื หา หนว ยท่ี : 1
(Information Sheet) แผน ท่ี : 2

วชิ า งานฝก ฝมือ รหสั วชิ า 20100-1003

วทิ ยาลยั เทคนิคทาหลวงซเิ มนตไทยอนุสรณ เร่ือง : ส่ิงแวดลอมและความปลอดภยั ในการปฏิบัตงิ าน

การวัดผลประเมินผล

เกณฑการใหค ะแนน ใหคะแนนคุณธรรมตอคะแนนความรู เปน 60 : 40 คะแนนโดย

ตลอดภาคเรียนใหคะแนนเตม็ เปน 100 คะแนน ซ่ึงมีการใหคะแนนแตล ะหนว ยการเรยี นรู ดังน้ี

1) คะแนนทกั ษะ 60 คะแนน ไดแ ก

(1) ใบงานภาคปฏิบตั ิ 40 คะแนน

(2) ประเมนิ ความรูปลายภาคเรยี น 20 คะแนน

2) คะแนนเกบ็ 40 คะแนน ไดแ ก

(1) แบบทดสอบระหวา งเรียน 20 คะแนน

(2) คุณธรรมจริยธรรม 20 คะแนน

การใหระดับคะแนน ทําการรวบรวบคะแนนจากแบบบันทึกการวัดและประเมินทักษะและคะแนน
เกบ็ ทกุ หนวยการเรยี นรู ทาํ ใหเหลือเปนคะแนนสทุ ธิ 100 คะแนน นําไปประเมินผลการใหระดับคะแนน 8

ระดับ โดยการอิงเกณฑม าตรฐาน ดังนี้

80 - 100 คะแนน ใหร ะดบั คะแนน 4.0
75 - 79 คะแนน ใหร ะดับคะแนน 3.5
70 - 74 คะแนน ใหร ะดับคะแนน 3.0
65 - 69 คะแนน ใหร ะดบั คะแนน 2.5
60 - 64 คะแนน ใหระดบั คะแนน 2.0
55 - 59 คะแนน ใหร ะดับคะแนน 1.5
50 - 54 คะแนน ใหร ะดบั คะแนน 1.0
0 - 49 คะแนน ใหระดับคะแนน 0

ใบเนอ้ื หา หนว ยท่ี : 1

(Information Sheet) แผน ท่ี : 3

วชิ า งานฝก ฝมอื รหสั วิชา 20100-1003

วทิ ยาลยั เทคนิคทาหลวงซเิ มนตไทยอนสุ รณ เรอื่ ง : สงิ่ แวดลอ มและความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั งิ าน

1. คุณลักษณะการปอ งกันอุบัตเิ หตใุ นงานชางอุตสาหกรรม
ประเทศไทยมพี ื้นฐานเดมิ เปนประเทศเกษตรกรรม ตอมาไดม กี ารพัฒนาเขาสูการเปน

ประเทศอุตสาหกรรมมากขึ้น การเกดิ อบุ ัตเิ หตจุ ากการทํางานจึงมีแนวโนมเพิม่ ข้ึนเปน เงาตามตัว จากสถติ ิการ
เกดิ อุบัติเหตุจากการทํางานพบวา มีจํานวนเพ่ิมข้นึ ทกุ ๆ ป ทําใหเ กิดภาระกับรัฐบาลในการจัดหาเงินงบประมาณ
มารองรับเปนอยางมาก นอกจากน้ีอบุ ตั ิเหตุยงั กอใหเกิดความสูญเสยี ทั้งดา นรางกายและจิตใจอีกดวย ในการลด
การเกิดอบุ ตั ิเหตุ วธิ ีการทีด่ ที ่สี ดุ คือการปอ งกันไมใหมีอุบัตเิ หตุเกดิ ข้นึ หรือเกิดนอ ยท่สี ุด ซงึ่ การทจี่ ะทาํ เชนนี้ได
จาํ เปนจะตอ งไดร บั ความรว มมือจากบคุ ลากรทุกระดบั ในองคก ร โดยเฉพาะอยา งยง่ิ การจดั ใหม อี งคค วามรูเ ก่ยี วกับ
การเกิดอบุ ตั ิเหตุและการปองกันใหก ับบุคลากร ดงั น้นั คุณลักษณะการปองกันอุบัตเิ หตุในงานชา งกลจึงเปน อีกแนว
ทางเลือกหนึ่งที่มีความสําคัญในการลดอุบตั เิ หตุ

1.1 สาเหตุของการเกดิ อุบตั ิเหตุ
การดาํ เนนิ การปองกนั การเกดิ อุบัติเหตุใหไดผลดี จาํ เปนตอ งรูและเขาใจสาเหตขุ อง

การเกิดอบุ ัตเิ หตุกอน ซึ่งพอจําแนกสาเหตุไดด งั น้ี

รูปที่ 1.1 สาเหตุการเกดิ อุบัตเิ หตุ 1.1.1 สาเหตจุ ากพฤตกิ รรมของผูปฏิบตั ิงาน
เชน
1. ความประมาทเลินเลอ
2. ขาดระเบียบวินยั เชน หยอกลอ หรือเลนในขณะปฏบิ ตั งิ าน
3. ขาดความรูความเขา ใจในการใชเ ครอ่ื งจักร เครื่องมือและ
อปุ กรณ
4. ขาดการดูแลรักษาเครื่องจักร เครื่องมอื และอุปกรณ
5. สภาพรา งกายไมป กตเิ ชน เจบ็ ไข ออนเพลียพกั ผอนไม
เพยี งพอ

ใบเนอื้ หา หนวยท่ี : 1

(Information Sheet) แผน ที่ : 4

วชิ า งานฝก ฝมือ รหสั วชิ า 20100-1003

วทิ ยาลยั เทคนคิ ทาหลวงซเิ มนตไ ทยอนสุ รณ เรื่อง : สงิ่ แวดลอมและความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงาน

รปู ท่ี 1.2 สภาพการทาํ งานที่คบั แคบ 1.1.2 สาเหตจุ ากสภาพแวดลอ มในการปฏบิ ตั ิงาน
ทม่ี า:http://envocc.ddc.moph.go.th/ เชน
1. สถานท่ีคับแคบแสงสวา งไมเ พยี งพอ
2. อณุ หภมู สิ งู หรอื ตา่ํ เกนิ ไป(รอนหรือเย็นเกินไป)
3. การระบายอากาศในโรงงานไมดี
4. มีวัตถุกีดขวางทางเดินและการปฏิบตั งิ าน
5. การวางผังโรงงานไมถกู ตอง

1.1.3 สาเหตจุ ากเคร่ืองมือ อุปกรณ และเคร่ืองจักรกล
เชน
1. เคร่อื งจกั รกลไมมฝี าครอบปอ งกนั สว นที่เปนอนั ตราย
2. สภาพเครอ่ื งจกั รชาํ รุดไมพรอ มในการใชงาน
3. ไมตรวจสภาพเคร่อื งจกั รกอนการใชงาน
4. ใชง านเคร่อื งมือ อุปกรณที่ขาดความระมัดระวงั

รูปที่ 1.3 ตรวจสอบอุปกรณ เครื่องมือ กอนใช

1.2 ผลกระทบทีเ่ กดิ จากอุบตั ิเหตุ
1. ผลกระทบทางตรง เชน การเสียชีวติ หรือพกิ าร เสยี คารักษาพยาบาล เสยี เวลาการรักษาตัว
ในขณะท่ีไมส ามารถปฏิบัติงานได
2. ผลกระทบทางทางออม เชน เสียขวญั เสยี กาํ ลงั ใจ เครื่องจักร เครอื่ งมือ อปุ กรณ เกิดการเสียหาย
บุคลากรขาดความมั่นใจ
3. ผลกระทบตอองคกร เชน มีผลกระทบตอภาพพจนต อองคการ ขาดการยอมรับและไมผานมาตรฐาน
การผลติ ของสินคา รวมถึงมาตรฐานความปลอดภยั

ใบเนอื้ หา หนวยท่ี : 1

(Information Sheet) แผนที่ : 5

วชิ า งานฝก ฝมอื รหัสวิชา 20100-1003

วิทยาลยั เทคนิคทาหลวงซเิ มนตไ ทยอนุสรณ เรื่อง : ส่งิ แวดลอ มและความปลอดภยั ในการปฏิบตั งิ าน

1.3 อุปกรณป อ งกนั สวนบุคคล (Personal Protective Equipment )

รูปที่ 1.4 การสวมหมวกนริ ภัย 1.3.1 อปุ กรณปอ งกนั ศรีษะ (Head Protection
https://th.misumiec.com Devices)

ในการปฏบิ ัตงิ านท่ีมีความเสย่ี งท่จี ะเกดิ
อุบัติเหตตุ อศรีษะ ตองมีอุปกรณปองกนั เชน สวมหมวก
นิรภัย ฯลฯ

1.3.2 แวนนิรภัย (Eye protection)
เปน การปอ งกันอันตรายท่เี กิดกบั ดวงตาขณะ

ปฏิบัตงิ าน อปุ กรณป องกนั ไดแก แวน ตานริ ภยั เชน
งานกลงึ งานเจียระไน หนากากเช่ือม ฯลฯ

รปู ท่ี 1.5 การสวมแวน ตานิรภยั

1.3.3 ถงุ มือมอื นริ ภัย (Hand protection)
เปน การปองกันอนั ตราย หรอื อบุ ัตเิ หตุท่ีเกดิ กบั

มือขณะปฏบิ ัติงาน ปอ งกันงานทีม่ คี ม งานที่เปนกรด มี
ความรอน เชน ถุงมือหนงั ถุงมอื ผา ถงุ มือยาง ฯลฯ

รูปท่ี 1.6 การสวมถงุ มือนิรภยั

ใบเนื้อหา หนวยท่ี : 1

(Information Sheet) แผน ท่ี : 6

วิชา งานฝก ฝมอื รหสั วชิ า 20100-1003

วิทยาลยั เทคนิคทา หลวงซเิ มนตไ ทยอนสุ รณ เร่อื ง : สิ่งแวดลอ มและความปลอดภัยในการปฏบิ ัตงิ าน

1.3.4 อุปกรณปองกันหู (Ear protection)
ปองกนั เสยี งดังในขณะปฏบิ ตั ิงาน อุปกรณปองกัน

เชน ครอบหู หรอื ปลกั๊ อดุ หู ฯลฯ

รูปท่ี 1.7 การใสป ลั๊กอุดหู

1.3.5 อปุ กรณป องกนั จมกู (Respirator Protection )
ปองกันกลน่ิ ควัน สารพษิ ตางๆปองกนั ฝนุ ละออง ใน

พ้ืนทก่ี ารทํางานทม่ี ีฝนุ ละอองมากกวาปกตใิ นขณะปฏิบตั ิงาน

รปู ที่ 1.8 การสวมหนาการปองกันกลน่ิ

รปู ที่ 1.9 รองเทานิรภัย 1.3.6 รองเทานริ ภัย ( Foot Protection )
เปน รองเทาทีอ่ อกแบบมาเพ่ือปองกันอันตรายจากการทํางาน
ในพื้นท่ีท่มี ีความเส่ียงตอ การเกิดอนั ตรายกบั นิว้ เทาของ
ผูปฏิบัตงิ าน โดยหัวรองเทา จะมที ้ังแบบโลหะ และหวั พลาสตกิ
ทมี่ คี วามทนทานสูง เพอื่ ใชป องกนั การกระแทก หรือสิ่งของทมี่ ี
นํ้าหนกั มากตกใสเทา พื้นรองเทาบางรนุ มีแผนเหล็กดว ย เพื่อ
ปอ งกันของมคี มท่ีอาจแทงทะลุผานพ้นื รองเทา

ใบเนือ้ หา หนวยท่ี : 1

(Information Sheet) แผน ท่ี : 7

วชิ า งานฝกฝมือ รหัสวิชา 20100-1003

วทิ ยาลยั เทคนคิ ทาหลวงซเิ มนตไ ทยอนุสรณ เรอื่ ง : สิ่งแวดลอมและความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน

1.4 เครอื่ งหมายสัญลักษณความปลอดภัย (Safety Signs)
กําหนดรปู เครือ่ งหมายเพื่อความปลอดภัยเปน 3 แบบ ใหมคี วามหมาย สมั พันธกับการใชส ี คือ วงกลม

หมายถึง การหามและขอบงั คบั 3 เหล่ียม หมายถงึ การเตือนสติ และ 4 เหล่ียม หมายถงึ ขอมลู หรอื ขอ แนะนํา
สําหรับผปู ฏิบัตงิ านเก่ยี วของกับการออกแบบแลอตุ สาหกรรมการผลติ สัญลักษณเ หลาน้เี พื่อใหเ ปน สากลและเปน ท่ี
ยอมรับรวมกันทั่วโลก เครื่องหมายเพื่อความปลอดภยั หรอื ปายเตอื นความปลอดภยั ( Safety Poster ) มีไวเ พื่อ
ปองกนั อุบัตเิ หตุ จาํ แนกเปนเครอ่ื งหมายเพื่อความปลอดภัย และเครอื่ งหมายเสรมิ ดงั ตอไปนี้

1. การใชเครอ่ื งหมายเพื่อความปลอดภัย
1) เพื่อเตือนใหระวงั อนั ตรายท่จี ะเกดิ ขน้ึ กบั สขุ ภาพรา งกาย
2) กาํ หนดใหใสอ ุปกรณป อ งกันอันตรายสว นบคุ คล
3) แนะนําใหพึงปฏิบตั หิ รือละเวนการปฏบิ ตั ิเพ่ือวามปลอดภัยเคร่ืองหมายเสรมิ ความปลอดภัย

2. เคร่อื งหมายเสริมความปลอดภัย
1) รูปแบบของเครื่องหมายเสรมิ เปน 4 เหล่ียมผืนผา หรอื 4 เหล่ียมจัตรุ สั
2) มีพื้นใหใ ชส ีเดียวกับสเี พื่อความปลอดภัย และสีขอ ความใหใ ชสตี ัด หรือสพี ื้นใหใชส ขี าวและสีของ

ขอความใหใ ชส ดี าํ
3) ตัวอักษรท่ีใชใ นขอความ
ก. ชอ งไฟระหวางตวั อกั ษรตองไมแ ตกตา งกนั มากกวารอ ยละ 10
ข. ลกั ษณะของตัวอกั ษรตองดูเรยี บงา ย ไมเ ขียนแรเงาหรือลวดลาย
ค. ความกวา งของตวั อกั ษรตองไมนอยกวา รอ ยละ 70 ของความสูงของตวั อักษร
4) ใหแสดงเคร่ืองหมายเสรมิ ไวใตเ ครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย
1.4.1 สเี พื่อความปลอดภัยและสตี ัด
1. สแี ดง หมายถึง เครอ่ื งหมายหาม เชน หยุด อันตราย ไฟ หรือลกั ษณะงานทเ่ี ก่ยี วกับบริเวณท่ี
อนั ตราย เชน หา มจอด ฯลฯ
2. สีน้าํ เงิน หมายถงึ เครื่องหมายบังคบั ขอบังคบั ใหปฏิบตั ิตามหรอื พึงระวังพิเศษ เชน ตองสวม
หมวกนิรภัย ฯลฯ
3. สเี ขียว หมายถึง เครอ่ื งหมายสารสนเทศเกี่ยวกบั สภาวะปลอดภัย เชน ปฐมพยาบาล ฯลฯ

สเี หลือง หมายถงึ เคร่ืองหมายเตอื น การเตือนระวังอันตราย เชน ระวังอันตรายไฟฟา 380 โวลทฯลฯ

ใบเนือ้ หา หนวยท่ี : 1

(Information Sheet) แผน ท่ี : 8

วิชา งานฝกฝม อื รหัสวิชา 20100-1003

วิทยาลยั เทคนิคทา หลวงซเิ มนตไทยอนุสรณ เรอื่ ง : ส่งิ แวดลอ มและความปลอดภัยในการปฏิบัตงิ าน

ตารางที่ 1 เครอ่ื งหมายสญั ลักษณค วามปลอดภัยตามมาตรฐานสากล

ประเภท รปู แบบ สที ใี่ ช ตวั อยาง

สพี ืน้ : สขี าว

สขี องแถบตามขอบ

เครอ่ื งหมายหา ม วงกลมและแถบขวาง

: สแี ดง

สัญญลกั ษณภาพ : สีดํา

เคร่อื งหมายบงั คบั สพี ้นื : สีฟา
สัญลกั ษณภ าพ

: สขี าว

เครอ่ื งหมายสารนิเทศ สีพ้ืน : สีเขียว
เก่ียวกับสภาวะ สญั ลักษณภ าพ
ปลอดภยั
: สีขาว

เครอื่ งหมายเตอื น สพี น้ื : สเี หลอื ง
สขี องแถบ
ตามขอบ : สีดํา
สญั ญลกั ษณภาพ : สดี าํ

ใบเน้ือหา หนว ยท่ี : 1

(Information Sheet) แผน ที่ : 9

วิชา งานฝก ฝมอื รหสั วชิ า 20100-1003

วิทยาลยั เทคนิคทาหลวงซเิ มนตไทยอนุสรณ เรอื่ ง : สง่ิ แวดลอมและความปลอดภัยในการปฏบิ ัติงาน

1.5 ประโยชนข องการปองกนั อุบัตภิ ยั
1.5.1 ประโยชนต อ สงั คม ตนเองเปน สวนหนง่ึ ของสงั คม การเกิดอบุ ัตเิ หตแุ กตวั เองยอ มเปน ภาระของสงั คม

เชน การรกั ษาพยาบาล าการเปล่ียนแปลงอาชีพใหม หรือการวา งงานรายรับไมพอกับรายจา ย
1.5.2 ประโยชนตอบุคคลอื่น ตองไมทาํ ใหบุคคลอ่นื เดือดรอน อาจเกดิ ความเสียหายไดเหมือนกับตวั เองก็ได
1.5.3 ประโยชนตอตนเอง ไมทาํ ใหร า งกายบาดเจบ็ พกิ าร เสยี ชีวิต เสียทรพั ยสิน สุขภาพจติ เสอื่ ม
เม่ือเรารสู าเหตขุ องการเกดิ อบุ ัติเหตุ การปองกันการเกดิ อุบัติเหตุ จึงเปนสง่ิ ที่ไม

ยากนัก กลาวคือ ในการปฏิบัติงานเราควรหลกี เลย่ี งจากสาเหตุเสีย่ งดงั กลาว ซ่งึ มวี ิธีการ ดังนี้

รูปที่ 1.10 การปองกนั อบุ ตั ิเหตขุ ณะปฏิบตั ิงาน 1) ปฏิบตั ิงานดวยความรอบคอบ ระมัดระวัง
http://bit.ly/2Oe9epi 2) ปฏบิ ตั ติ ามกฎความปลอดภยั ของโรงงานอยาง
เครง ครดั
3) ศกึ ษาการทาํ งานของเคร่อื งจกั ร เครื่องมือและอปุ กรณ
ใหเขาใจกอนปฏบิ ัตงิ าน
4) ดูแล บาํ รุงรักษาเคร่ืองจักร เครือ่ งมือและอปุ กรณ ใหอยู
ในสภาพที่ใชงานไดอ ยางปลอดภัย
5) ดแู ลสุขภาพรา งกาย ใหสมบรู ณแ ข็งแรง ละเวนอบายมขุ
ตา ง ๆ พกั ผอนใหเพยี งพอ
6) จัดพื้นท่ีใหพอเพียงในการปฏบิ ตั ิงาน ไมใ หคบั แคบ
จนเกินไป
7) ทําความสะอาด เกบ็ เครื่องมอื อุปกรณและวัสดตุ าง ๆ ให
เปนระเบียบ
8) จดั ใหม ีแสงสวางที่เพยี งพอ
9) จดั ใหม ีการระบายอากาศที่ดี
10) ลดความดังของเสยี ง เชน ใชเ ครื่องจกั รที่มีเสียงเบากวา
หรอื ใชห ลักการวิศวกรรม เพ่ือลดระดับเสียง

ใบเนือ้ หา หนวยท่ี : 1

(Information Sheet) แผน ท่ี : 10

วชิ า งานฝกฝม อื รหสั วชิ า 20100-1003

วทิ ยาลยั เทคนคิ ทา หลวงซเิ มนตไทยอนุสรณ เร่อื ง : ส่ิงแวดลอ มและความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงาน

1.6 ความปลอดภัยในการใชเครื่องมอื ( Tool Safety)
อบุ ัติเหตุจากการใชเ ครื่องมือ ท่ีเกิดข้นึ ในงานอตุ สาหกรรม สว นใหญ ประมาณ รอยละ 80 จะมสี าเหตมุ าจาก
การใชเครือ่ งมือไมถูกวธิ ี และเคร่อื งมือทีช่ ํารุด ดังน้นั เพ่ือเปน การปองกันอบุ ตั เิ หตุท่ีอาจจะเกิดจากการใช

เคร่ืองมอื จงึ ตองทราบสาเหตุของอบุ ัตเิ หตจุ ากการใชเคร่ืองมือ ดังน้ี

1.6.1 ใชเครอื่ งมือท่ีผิดประเภท
ในงานจะพบวาการใชเครอ่ื งมือผิดประเภทกนั มาก ซึ่งลวนเกิด
ผลเสียและอันตรายกับผปู ฏิบตั งิ าน ลดอายกุ ารใชงานเคร่ืองมอื
เครอื่ งมอื ชาํ รดุ ชน้ิ งานเกิดการเสยี หาย ดงั หวั ขอท่ีพบมากคือ

1) ใชส กดั ตอกเหลก็
2) ใชไ ขควงแทนสกัด
3) ใชป ระแจไปตอกแทนคอ น
4) ใชตะไบตอก เคาะชิ้นงาน
5) ใชไ ขควงเจาะรไู ม
6) ใชคอ นขนั แนน ปากกาแทนมือ
7) ใชปลายคตั เตอรขันสกรูแทนไขควง
8) ใชค มี ตอกแทนคอน
9) ใชคมี ลอ็ คตแี ทนคอน

ใบเน้อื หา หนวยท่ี : 1

(Information Sheet) แผน ที่ : 11

วิชา งานฝกฝมือ รหัสวชิ า 20100-1003

วทิ ยาลยั เทคนิคทาหลวงซเิ มนตไ ทยอนุสรณ เรอื่ ง : ส่ิงแวดลอ มและความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน

1.7 ผลจากการจัดการความปลอดภัยในการปฏบิ ัตงิ านในงานอตุ สาหกรรม
1.7.1 ดา นการบรหิ ารจัดการ
1) ชว ยเพมิ่ ผลผลติ การปฏิบัตงิ านท่มี ีประสทิ ธภิ าพและปลอดภัย สภาพแวดลอ มที่ดี กอใหเกดิ ความ

มั่นใจ ตง้ั ใจทาํ งาน รบั ผดิ ชอบงานอยางเต็มที่ ผลผลติ โดยรวมจงึ เพม่ิ สูงขึน้ ทัง้ เชิงปริมาณและคุณภาพ
2) ชวยลดคาใชจ า ยลง เมือ่ โรงงานมีความสะอาด การทํางานทป่ี ลอดภยั ไรอ ุบัติเหตุยอมสง ผลให

พนักงานปฏิบตั ิงานดว ยความมัน่ ใจไดผ ลผลิตมากข้นึ คาใชจายในการผลิตสินคา ลดลง เพราะสามารถประหยดั เงนิ
คา รักษาพยาบาล คาเงนิ เขากองทนุ ทดแทน คา ซอมแซมเครอ่ื งจักร คา เสียเวลา

3) ผลกาํ ไรเพ่ิมมากขน้ึ การทํางานอยางปลอดภัยปราศจากภัยอันตรายตา ง ๆ จะสง ผลใหต น ทนุ การ
ผลติ ต่าํ และเพ่ิมผลผลิตสูงขน้ึ ผลกําไรมากย่ิงขนึ้

1.7.2 ดา นบคุ ลลากร
1) คณุ ภาพชวี ติ ของพนกั งานดีขึ้น มีความม่ันใจในการทาํ งาน มคี วามมัน่ คงในชวี ติ อุบัตเิ หตุจากการ

ทํางานสว นใหญกอใหเกดิ อาการบาดเจบ็ พกิ ารหรือเสียชีวิตจนไมส ามารถประกอบอาชีพหารายไดเลีย้ งตนเองและ
ครอบครัว สงผลใหค ณุ ภาพชีวติ ต่าํ ลงในทศิ ทางตรงขามหากปราศจากอุบตั ภิ ยั ในการทํางาน คณุ ภาพชีวิตของ
พนักงานและครอบครวั ยอมดีข้ึน

2) ลดการเกดิ อบุ ตั เิ หตทุ ่ีสูญเสยี ทรพั ยากรมนุษยของชาติ การทํางานที่ไมป ลอดภัย สง ผลใหเ กดิ
อุบัตเิ หตุบางครั้งอาจกอใหเ กิดการสญู เสียชวี ิตหรือพิการทุพพลภาพ ถือเปน การสูญเสียแรงงานที่สาํ คัญของ
ประเทศชาติ

1.7.3 ดานโรงงาน
1) ภาพพจนขององคก ารดีขึ้น อุบตั ิเหตหุ รืออันตรายตาง ๆ ที่เกิดจากการทํางานสงผลใหเ กดิ ความเสื่อม

เสยี ชื่อเสยี งตอ ภาพพจนข ององคการ ตอ วชิ าชพี ตอสังคมและประเทศชาติ ลดความเชอ่ื มั่นในผลผลิตของ
องคกร

2) เม่ือผลผลติ สงู คณุ ภาพดี มีราคาตํ่า ยอดขายสงู ขน้ึ ทําใหเศรษฐกิจของประเทศชาติโดยรวมดขี ้ึน
ชื่อเสียง ภาพพจน และนักลงทนุ ตา งชาตมิ ีความเชอื่ มนั่ สง ผลใหมกี ารลงทนุ การจางแรงงานเพ่มิ มากข้นึ

ใบเน้ือหา หนว ยท่ี : 1

(Information Sheet) แผน ที่ : 11

วชิ า งานฝก ฝม ือ รหสั วิชา 20100-1003

วทิ ยาลยั เทคนิคทา หลวงซเิ มนตไ ทยอนสุ รณ เรื่อง : ส่งิ แวดลอมและความปลอดภัยในการปฏบิ ัตงิ าน

1.8 การใชเ ครื่องมอื ที่ถกู วธิ ี
ในโรงงานอตุ สาหกรรมมีเครื่องมอื อยหู ลายชนดิ ทีต่ องใชใหถูก
วิธี และใหเ หมาะสมกับงานเพราะอาจทําใหเกดิ อบุ ัติเหตุได
เครอ่ื งมือตา งๆเหลาน้นั ไดแก คอ น ไขควง คีม ตะใบ เลื่อย
อปุ กรณรางแบบ ตา งๆ เชน เหล็กขดี วงเวียน เปนตน
การใชเคร่ืองมือใหปลอดภยั ควรปฏบิ ตั ิตามขอบงั คับท่จี ะกลา ว
ตอไปนี้

1) ใหสวมแวน นริ ภัย เม่อื ตอ งใชเ คร่ืองมือ เชน สกัด การ
เจียระไนดวยมือ ตอ งสวมแวนตาเสมอ เพื่อปองกนั
เศษโลหะกระเดน็ เขา ตา

2) การใชประแจใหอ ยใู นลักษณะดงึ เขาหาตวั
3) ฝกอบรมวิธกี ารใชอยา งปลอดภัยกอนใหท ํางาน
4) ใชเ ครอ่ื งมือคุณภาพดี ไมช ํารุด
5) เลือกใชอุปกรณเคร่อื งมือใหถ ูกกับชนิดของงาน
6) หลีกเลยี่ งการใชเ ครื่องมือท่ีตอง งอ ขอ มือทํางาน
7) บาํ รุงรกั ษาเคร่อื งมอื อยา งสม่ําเสมอ เช็ค หรือชโลม

นา้ํ มนั และเก็บเขา ท่ี หลังเลกิ ใชงาน
8) ตรวจสอบเครอื่ งมือทกุ ครั้งกอนที่จะใชงาน
9) จดั สภาพแวดลอมในการทํางานใหสะอาดและเปนการ

จัดระเบียบเพ่ือหลกี เลย่ี งการเกิดอบุ ตั เิ หตุ


Click to View FlipBook Version