หนังสอื
ความร้เู ก่ียวกบั
ประวัติศาสตรช์ ุมชน
เทศบาลตำบลปากตะโก
อำเภอทุ่งตะโก จังหวดั ชมุ พร
โครงการยกระดบั เศรษฐกจิ และสังคมรายตำบลแบบบรู ณาการ
มหาวทิ ยาลัยส่ตู ำบล สรา้ งรากแก้วใหป้ ระเทศ ตำบลปากตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวดั ชุมพร มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสุราษฎรธ์ านี
คำนำ
หนังสือเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ
มหาวทิ ยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแกว้ ใหป้ ระเทศ ซึ่งโครงการนี้เกิดการแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรน่า 2019
(COVID-19) ทำให้เกิดปญั หาทางเศรษฐกิจของประเทศ ประชาชนวา่ งงานและบณั ฑิตจบใหม่ไม่สามารถ
หางานทำได้ รวมถึงนักศึกษาที่ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง ประชาชนที่ว่างงานย้ายกลับถิ่นฐานจำนวน
มาก ส่งผลให้เกดิ ปญั หาทางสังคมตามมา
โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างราก
แก้วให้ประเทศโดยมีจุดประสงค์เพื่อยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ โดยมี
มหาวิทยาลัยในพื้นที่เป็น System Integrator เพื่อให้เกิดการจ้างงานประชาชนทั่วไป บัณฑิตจบใหม่
และนักศึกษา ให้มีงานทำและฟื้นฟูเศรษฐกิจชุมชน เพื่อให้เกิดการพัฒนาตามปัญหาและความต้องการ
ของชมุ ชน ไดแ้ ก่ การพฒั นาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ (การยกระดบั สินค้า OTOP/อาชพี อน่ื ๆ) การ
สร้างและพัฒนา Creative Economy (การยกระดับการท่องเที่ยว) การนำองค์ความรู้ไปช่วยบริการ
ชุมชน (Health Care/เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ) และการส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อม/Circular Economy
(การเพิ่มรายได้หมุนเวยี นให้แกช่ มุ ชน) และเพือ่ ให้เกิดการจัดทำข้อมูลขนาดใหญ่ของชุมชน (Community
Big Data) เพื่อเป็นข้อมูลในการวิเคราะห์และตัดสินใจในการแก้ไขปัญหาความยากจนแบบมีเป้าหมาย
ชดั เจน
คณะผู้จัดทำได้ทำการเก็บข้อมูลของตำบลปากตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร โดยมี
วัตถุประสงค์จัดทำหนังสือเล่มน้ีเพื่อสร้างความรู้เกี่ยวกับข้อมูลพื้นฐานของตำบลปากตะโก
ประวัติศาสตร์ชุมชนของเทศบาลตำบลปากตะโก ความเชื่อ ประเพณี และพิธีกรรม การเปลี่ยนแปลง
ทางสังคม และวัฒนธรรม เส้นทางเชื่อมโยงการท่องเที่ยว ผลิตภัณฑ์ภายในชุมชน ที่พัก/โฮมสเตย์ใน
ชุมชนปากตะโก และการดำเนินงานโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ
มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สรา้ งรากแก้วใหป้ ระเทศ
ชาญณรงค์ วงศอ์ ุดมโชค
26 พฤศจกิ ายน 2564
ก
กติ ตกิ รรมประกาศ
ทางคณะผู้จัดทำขอขอบพระคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัฒนา รัตนพรหม รักษาราชการแทน
อธกิ ารบดี มหาวิทยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี
ขอขอบพระคุณ ดร.พลกฤต แสงอาวุธ รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี Project Manager โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล
แบบบรู ณาการ ผูจ้ ดั การโครงการ
ขอขอบพระคุณ คุณสุรสิทธิ์ เปรมชัยปราการ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 คุณประวิทย์ วงษ์สกุล
ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 คุณสารัช เกิดกุลรัตน์ กำนันผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 คุณสุพจน์ ช่วยอุดม ผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ที่ 4 คุณประดษิ ฐ แท่นศิลา ผใู้ หญบ่ ้านหมูท่ ี่ 5 ผ้ใู หข้ อ้ มลู เก่ียวกับตำบลปากตะโก
และขอขอบพระคุณอาจารย์ ดร.มิติ เจียรพันธุ์ อาจารย์ที่ปรึกษาประจำตำบลปากตะโก
ผูใ้ หค้ วามรู้ และแนวทางในการจัดทำหนงั สอื ในครัง้ นี้ คณะผู้จดั ทำหวงั เปน็ อย่างย่ิงว่าหนังสือเล่มนี้จะให้
ความร้แู ละเปน็ ประโยชนต์ ่อผอู้ ่านทุก ๆ ท่าน
ชาญณรงค์ วงศอ์ ุดมโชค
26 พฤศจกิ ายน 2564
ข
สารบญั
เรอื่ ง หนา้
คำนำ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบญั ค
ขอ้ มูลพ้ืนฐานของตำบลปากตะโก 1
1
ขนาดและท่ตี ั้ง 2
ลกั ษณะภูมิประเทศ 3
แม่นำ้ สำคัญ 3
ภมู อิ ากาศ 4
ทรัพยากรธรรมชาติ 5
การคมนาคม 6
โครงสร้างของชุมชน 12
โครงสร้างด้านเศรษฐกิจและอาชีพ 14
สถานท่ีสำคญั 17
เสน้ ทางเช่อื มโยงการท่องเที่ยว 20
ผลิตภัณฑภ์ ายในชุมชน 23
ทีพ่ ัก/โฮมสเตย์ในชุมชนปากตะโก 25
ประวัติศาสตร์ความเปน็ มาของชมุ ชน 26
ความเช่ือ ประเพณี และพธิ ีกรรม 27
การเปล่ียนแปลงทางสงั คม และวัฒนธรรม 32
การดำเนินงานโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบรู ณาการ 32
การพัฒนาสัมมาชีพ และสร้างอาชีพใหม่ (การยกระดับสินค้า OTOP/อาชีพอื่น ๆ) 32
การสร้างและพฒั นา Creative Economy (การยกระดับการทอ่ งเท่ียว) 33
การนำองคค์ วามรูไ้ ปชว่ ยบริการชุมชน (Health Care/เทคโนโลยดี ้านต่าง ๆ) 33
การส่งเสรมิ ด้านส่ิงแวดลอ้ ม/ Circular Economy (การเพิ่มรายได้ หมนุ เวียน
ให้แกช่ ุมชน) 34
อา้ งองิ 35
เครดติ ภาพกราฟกิ ทใี่ ช้
ค
ยนิ ดีต้อนรบั สู่ตำบลปากตะโก
“Welcome to Pak Tako”
ปากตะโก ตำบลทอี่ ยใู่ นพืน้ ทขี่ องอำเภอท่งุ ตะโก จังหวัดชมุ พร เป็นอกี หนง่ึ ตำบลท่อี ยู่ติด
กับทะเลอ่าวไทย และมีแม่น้ำที่อุดมสมบูรณ์เต็มไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่งดงาม ประชาชนใน
พื้นที่ส่วนใหญ่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดอาชีพในครัวเรือน อาทิเช่น การทำประมง การประกอบ
ธุรกิจท่องเที่ยวและที่พักโฮมสเตย์ การนำวัตถุดิบที่ได้จากการทำประมงมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์
เพอ่ื ให้เกิดรายได้แก่ครัวเรือน
ตำบลปากตะโก ยังมีสิ่งต่าง ๆ ที่มีความน่าสนใจเกี่ยวกับตำบลอกี หลากหลายอย่าง แนะนำ
ใหผ้ ูท้ ่สี นใจได้ศึกษาไปพร้อม ๆ กนั หนังสอื เล่มน้ีจะนำพาทุกคนได้ผจญภยั กบั ตำบลปากตะโก และได้
รู้จกั ตำบลปากตะโกมากยง่ิ ข้ึน
ขอ้ มลู พืน้ ฐานของตำบลปากตะโก
จากการศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลของตำบลปากตะโกในปี 2564 ตำบลปากตะโกเป็น
ตำบลท่ีมีความน่าสนใจเปน็ อยา่ งมาก โดยมีข้อมูลพ้ืนฐานของตำบลปากตะโก ดงั นี้
ขนาดและที่ตง้ั
เทศบาลตำบลปากตะโก (เทศบาลตำบลปากตะโก, 2559) ตั้งอยู่ทางตอนล่างของจังหวัด
ชุมพร ซึ่งอยู่ในเขตพื้นที่การปกครองของอำเภอทุ่งตะโก เป็นตำบลที่มีพื้นที่ติดกับทะเลอ่าวไทย
ตำบลปากตะโกอยู่ห่างจากที่ว่าอำเภอทุ่งตะโก ไปทางทิศตะวันออก ระยะทางประมาณ 14 กิโลเมตร
มอี าณาเขตติอต่อกับพ้ืนที่อื่น ๆ ดงั นี้
ทศิ เหนอื ตดิ ตอ่ ตำบลท่าหนิ อำเภอสวี จงั หวัดชมุ พร
ทศิ ตะวนั ออก ติดตอ่ ทะเลอ่าวไทย
ทิศใต้ ตดิ ต่อ ตำบลบางน้ำจืด อำเภอหลังสวน จังหวดั ชมุ พร
ทิศตะวันตก ติดตอ่ ตำบลตะโก และตำบลทุ่งตะไคร อำเภอท่งุ ตะโก
ทม่ี า : เวบ็ ไซตเ์ ทศบาลตำบลปากตะโก 1
เขตพื้นทเ่ี ทศบาลตำบลปากตะโก
ทีม่ า : เทศบาลตำบลปากตะโก, 2564
ลกั ษณะภมู ิประเทศ
พื้นที่ส่วนใหญ่ของเทศบาลตำบลปากตะโก (เทศบาลตำบลปากตะโก, 2559) เป็นพื้นที่ราบ
และอย่ตู ดิ กับทะเลอ่าวไทย ซึง่ มพี ้ืนที่ชายฝ่งั ทะเลยาวประมาณ 10 กโิ ลเมตร และเทศบาลตำบลปาก
ตะโกมเี กาะภายในพนื้ ท่ีจำนวน 10 เกาะ ได้แก่
1. เกาะคราม 6. เกาะมะพร้าว (สัมปทานรังนก)
2. เกาะกะทิ 7. เกาะรางบรรทัด (สัมปทานรังนก)
3. เกาะยอ 8. เกาะรงั ห้า (สมั ปทานรังนก)
4. เกาะมกุ 9. เกาะสบู
5. เกาะขนี้ ก 10. เกาะคางเสือ
ปากตะโกเปน็ หมูบ่ า้ นชาวประมงทอี่ ย่รู ิมทะเลมวี ัฒนธรรมท่ีผสมระหว่างไทย - จีน เนอื่ งจาก
เป็นพื้นท่ีท่ีอยู่ในบริเวณปากนํ้าซึ่งเป็นสถานที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ตามความเชื่อของชาวจีนที่ได้
ลอ่ งเรอื ขน้ึ ฝัง่ และตงั้ รกรากอยู่ท่ีหมูบ่ ้านแหง่ นี้ หมูบ่ า้ นปากตะโกเลยจงึ เป็นชุมชนเก่าแก่ที่มีความร่วม
สมัยนอกจากจะได้เที่ยวชมอารยธรรมเก่าแก่ของชุมชนแล้ว ที่นี้ยังมีชายหาดอรุโณทัยที่เป็นจุดชม
พระอาทิตยข์ น้ึ ทมี่ ีความสวยงามท่ีสุดอีกแห่งหนึง่ ภายในประเทศอกี ดว้ ย
2
แมน่ ้ำสำคัญ
เทศบาลตำบลปากตะโกมีแม่น้ำขนาดใหญ่ที่มีชื่อว่า " แม่น้ำปากตะโก " แม่น้ำปากตะโก
ได้เกิดจากเขาในอำเภอหลังสวนไหลผ่านทุ่งตะโก ทุ่งตะไคร ปากตะโก ลงสู่ทะเลที่ตำบลปากตะโก
ที่มีความยาวประมาณ 120 กิโลเมตร มีน้ำตลอดทั้งปี ปากน้ำตะโกเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สวยงามอกี
แหง่ หน่ึง เม่ือล่องเรอื ไปตามแมน่ ้ำจะพบวิถชี วี ิตชมุ ชนชาวประมงตามรมิ แมน่ ้ำตะโก
นอกจากน้ี แมน่ ำ้ ปากตะโก ยงั เปน็ แม่น้ำท่ี
เรือประมงใช้บรรทุกผลผลิตทางทะเลสัตว์
ทะเลต่าง ๆ เข้า - ออก เปน็ ประจำทุกวัน
ของช่วงฤดูการประมง
ภูมิอากาศ
ภูมอิ ากาศของเทศบาลตำบลปากตะโกเปน็ แบบมรสมุ (สำนักงานจังหวดั ชุมพร)
มี 2 ฤดู คือ
ฤดูร้อน เริ่มต้นจากเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี ถึงเดือนเมษายนของทุกปี ช่วงเดือนเมษายน
จะเป็นเดอื นท่ีแลง้ มากทีส่ ุด และสภาพอากาศจะร้อนมากกวา่ ทกุ เดอื น
ฤดูฝน เริ่มต้นจากเดือนมิถุนายนของทุกปี ถึงเดือนมกราคมของทุกปี เดือนที่มีโอกาสเกิด
อุทกภยั คอื เดอื นตุลาคมถึงเดือนพฤศจกิ ายน
3
ทรพั ยากรธรรมชาติ
ด้านน้ำ - แหล่งน้ำ มีคลองขนาดใหญ่ 1 แห่ง ชื่อ คลองปากตะโก
- แหล่งน้ำดิบ (นำ้ ประปา) มที แี่ หล่งนำ้ ธรรมชาติทไี่ หลลงมาจากภเู ขา
น้ำซบั มีใช้ในการประปาใหก้ ับประชาชนในเขตเทศบาลได้ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั
, ฝายไสข้าวแห้ง (หมู่ที่ 3) , ฝายรัตนโกสยั (หมทู่ ่ี 5)
ดา้ นป่าไม้ - มปี ่าไม้ พ้ืนท่ี หมู่ท่ี 1 หมู่ที่ 2 หมู่ท่ี 3 และหมู่ท่ี 5
- มปี ่าชายเลน พ้ืนที่ 4
ดา้ นภูเขา สว่ นใหญ่เป็นภเู ขาหนิ ปนทราย
เหมาะสำหรับทำการเกษตร
ด้านคุณภาพของ ปจั จบุ ันได้รับผลกระทบจากการกัดเซาะ
ทรัพยากรธรรมชาติ ปญั หาน้ำเสียทำให้ธรรมชาติเรมิ่ เสื่อมโทรม
ทีม่ า : แผนพฒั นาท้องถิน่ ส่ีปีเทศบาลตำบลปากตะโก, 2561-2564
4
การคมนาคม
เทศบาลตำบลปากตะโกมีเส้นทางคมนาคม มีถนนสายสำคัญดังน้ี (แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี
เทศบาลตำบลปากตะโก, 2561-2564)
- ถนนทางหลวงชนบทสาย 2063 เขาปีบ – ปากตะโก มีระยะทางจาก เขาปีบมาปาก
น้ำตะโก ประมาณ 10 กิโลเมตร
- ถนนทางหลวงจังหวัดสาย 4198 ปากตะโก – เขาสวนทุเรียน ระยะทางประมาณ
13 กิโลเมตร
- ถนนทางหลวงชนบทบ้านทา่ – หนองไม้แกน่ ระยะทางประมาณ 13 กโิ ลเมตร
- ถนนทางหลงชนบท สายปากตะโก – ถนนสายเอเชีย หรือไปที่ว่าการอำเภอทุ่งตะโก
มรี ะยะทางประมาณ 12 กิโลเมตร
- ถนนทางหลวงชนบท สาย 4012 ปากตะโก – ปากน้ำหลังสวน เป็นถนนที่เชื่อมเส้นทาง
ระหว่างบา้ นปากตะโกกบั บ้านเกาะแกว้ และอำเภอหลังสวน ระยะทางประมาณ 23 กิโลเมตร
นอกจากเส้นทางสายหลกั แลว้ นกั ทอ่ งเทย่ี วทต่ี ้องการเขา้ มาท่องเทย่ี ว ณ เทศบาลตำบลปาก
ตะโกยังสามารถเดนิ ทางได้จาก
ทางราง
เส้นทางรถไฟ - สามารถเดินทางมาลงที่สถานีรถไฟปากตะโก ระยะทางจากสถานีรถไฟ
มายังตำบลปากตะโกประมาณ 1.6 กิโลเมตร ซง่ึ สามารถโดยสารมอเตอร์ไซค์รับจ้างจากสถานีมายัง
ตำบลได้
ทางอากาศ
ภายในจังหวัดชุมพรจะมีสนามบินซึ่งตั้งอยู่ใน อำเภอประทิว ระยะทางจากสนามบินมายัง
ตำบลปากตะโกระยะทางประมาณ 42 กิโลเมตร สามารถต่อรถตู้โดยสารประจำทางมาลงที่อำเภอ
ท่งุ ตะโก และตอ่ มอเตอรไ์ ซค์รบั จ้างมายงั ตำบลได้
5
โครงสรา้ งของชมุ ชน
ข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างของชุมชนเทศบาลตำบลปากตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร
มีทง้ั หมด 4 ดา้ น ดงั น้ี
ดา้ นการปกครอง
ข้อมูล ณ ปี 2564 เทศบาลตำบลปากตะโก แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 5 หมู่บ้าน 8
ชุมชน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านปากน้ำตะโก หมู่ที่ 2 บ้านหนองไม้แก่น หมู่ที่ 3 บ้านอ่าวมะม่วง หมู่ที่ 4
บ้านเกาะแก้ว หมู่ที่ 5 บ้านรัตนโกสัย ชุมชน จำนวน 8 ชุมชน 1. ชุมชนบางรัก 2. ชุมชนกลางตลาด
3. ชุมชนยางนกออก 4. ชุมชนบางม่วง 5. ชุมชนหนองไม้แก่น 6. ชุมชนอ่าวมะม่วง 7. ชุมชนเกาะ
แกว้ 8. ชุมชนรตั นโกสัย
โดยมขี ้อมลู ทั่วไปของแตล่ ะชมุ ชน ได้แก่
1. ชุมชนบางรกั
ขอ้ มลู ท่ัวไปชุมชนบางรัก (แผนชุมชนบา้ นบางรัก, 2558-2560)
ชุมชนบางรักตั้งอยู่ใน หมู่ที่ 1 บ้านปากน้ำตะโก มีพื้นที่ 2.8 ตารางกิโลเมตร
จำนวนประชากรตามทะเบียนราษฎร 581 คน 223 ครัวเรือน มีจำนวนประชากรชาย
307 คน หญิง 278 คน ชุมชนมีอายุ 12 ปี
วิสยั ทศั น์ : ชุมชนเข้มแขง็ สังคมแหง่ ความสขุ สขุ ภาพดีถ้วนหน้า
ประธานกรรมการชมุ ชน
นายไพรชั เจย้ เปลี่ยน ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง 18 พฤศจิกายน 2556 ถึง ปัจจุบัน
2. ชุมชนกลางตลาด
ข้อมูลทว่ั ไปชุมชนกลางตลาด (แผนชุมชนบา้ นกลางตลาด, 2558–2560)
ชุมชนกลางตลาดเป็นชุมชนที่มีความเจริญมากที่สุดในหมู่ที่ 1 บ้านปากน้ำตะโก
มีพื้นที่ 1.2 ตารางกิโลเมตร มีจำนวนประชากรตามทะเบียนราษฎร 434 คน 156
ครวั เรือน มีจำนวนประชากรชาย 221 คน หญิง 213 คน ชุมชนมอี ายุ 12 ปี
ประธานกรรมการชมุ ชน
นายดนุ แซห่ ลี ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง 18 พฤศจิกายน 2556 ถงึ ปัจจุบนั
6
3. ชุมชนยางนกออก
ข้อมูลทั่วไปชุมชนยางนกออก (แผนชมุ ชนบ้านยางนกออก, 2558–2560)
ชุมชนยางนกออก เดิมมีต้นยางใหญ่อยูใ่ นหมู่บ้าน มีนกมากมายบินมาเกาะต้นยาง
จึงเรียกกันว่า ยางนกเกาะ และเรียกกันเรื่อยมาจนเพี้ยนเป็นยางนกออก ตั้งอยู่ในหมู่ที่ 1
บ้านปากนำ้ ตะโก มีพื้นท่ี 2.4 ตารางกโิ ลเมตร มจี ำนวนประชากรตามทะเบียนราษฎร 501
คน 118 ครัวเรอื น มีจำนวนประชากรชาย 259 คน หญงิ 242 คน ชุมชนมีอายุ 12 ปี
คำขวญั : วดั สวย รวยสามัคคี มีเรอื หางยาว อาหารอรอ่ ย
วสิ ัยทศั น์ : ชุมชนเข้มแขง็ สังคมแหง่ ความสขุ สขุ ภาพดีถว้ นหนา้
ประธานกรรมการชุมชน
นางโสภี ปานโต ระยะเวลาดำรงตำแหนง่ 18 พฤศจิกายน 2556 ถึง ปัจจุบนั
4. ชมุ ชนบางม่วง
ข้อมูลทัว่ ไปชุมชนบางม่วง (แผนชมุ ชนบางม่วง, 2558–2560)
ชุมชนบางม่วง มีลักษณะพื้นท่ีเป็นทรายและชาวบ้านที่อยู่อาศัยเรียกกันว่า ในบาง
ปลูกพืชผลไม้อะไรก็ไม่เจริญเตบิ โต ชาวบา้ นจึงได้เรม่ิ ปลกู มะมว่ งหิมมะพานซ่งึ ได้รับผลมาก
เปน็ พชื ทเี่ จริญเตบิ โตและปลูกกนั มากยงิ่ ขนึ้ และเปน็ พื้นที่ร่องนำ้ ต่อมาจึงเรยี กวา่ บางมว่ ง
เป็นเรื่อยมา มีพื้นที่ 4.03 ตารางกิโลเมตร มีจำนวนประชากรตามทะเบียนราษฎร 602
คน 182 ครัวเรือน มจี ำนวนประชากรชาย 306 คน หญงิ 296 คน ชมุ ชนมอี ายุ 12 ปี
คำขวัญ : ประมงค่บู ้าน สวยงามป่าชายเลน กลองยาวกังวาน สมนามบา้ นบางม่วง
วสิ ยั ทัศน์ : ชมุ ชนเข้มแข็ง สังคมแห่งความสขุ สุขภาพดถี ้วนหนา้
ประธานกรรมการชมุ ชน
นายทวีศกั ดิ์ ศรตราสนิ ระยะเวลาดำรงตำแหนง่ 18 พฤศจิกายน 2556 ถงึ ปัจจบุ ัน
7
5. ชมุ ชนหนองไมแ้ กว้
ประวตั ิความเปน็ มาของชมุ ชนหนองไม้แก้ว (แผนชมุ ชนบ้านหนองไมแ้ กน่ , 2558–2560)
ในอดีตที่ผู้เฒ่าผู้แก่เล่าว่ามีคนมาในหมู่ท่ี 2 ตำบลปากตะโก เป็นทุ่งนาติดภูเขา
ในทุ่งนามีหนองน้ำขนาดใหญ่อยู่หลายหนอง แต่ละหนองมตี น้ ไม้ขนาดใหญ่อยู่รอบหนองน้ำ
ทุกหนอง และมีอยู่หนึ่งหนองที่มีต้นตะเคียนทองล้มลงอยู่ในหนองน้ำ ชาวบ้านเลยตั้งช่ือ
หมู่บา้ นวา่ “บ้านหนองไม้แกน่ ” ตั้งแตน่ ้นั เป็นตน้ มา
ข้อมูลทัว่ ไปของชุมชนหนองไมแ้ ก่น
บ้านหนองไม้แก้ว มีพื้นที่ 12.60 ตารางกิโลเมตร จำนวนประชากรตามทะเบียน
ราษฎร 706 คน 226 ครัวเรือน จำนวนประชากร เป็นเพศชาย 360 คน เพศหญิง 346
คน อายุชุมชน 15 ปี เริม่ มชี มุ ชนเมอื่ ปี 2549
คำขวญั : เด่นสวนปาล์ม อา่ วไทยสวย รวยน้ำใจ
ทีมผู้นำหมบู่ ้าน :
นายประวทิ ย์ วงษส์ กุล ผใู้ หญบ่ ้าน ประธานคณะกรรมการ
6. ชมุ ชนอา่ วมะมว่ ง
ประวตั คิ วามเปน็ มาของชุมชนอา่ วมะม่วง (แผนชุมชนบา้ นอา่ วมะมว่ ง, 2558–2560)
ในอดีตหมูบ่ า้ นนี้มชี ื่อว่า หม่บู า้ นทองตุ่มน้อย ตามประวัตศิ าสตร์เล่าว่า ในสมัยก่อนนี้มี
เรอื สำเภาขึ้นมามีต่มุ น้ำลอยมาอย่ใู นคลองเหนอื น้ำ มแี สงระยบิ ระยับสอ่ งแสงวูบวาบ แต่ไม่มีใคร
สามารถนำขน้ึ มาได้ ต่อมาทางราชการได้จัดต้ังโรงเรียนขึ้นมา โดยมีหม่ืนจงกจิ ราช ชื่อจริง นาย
ชม เหลาสุข มีบุตร 2 คน คือ นางเอียด นางหีด เป็นผู้ใหญ่บ้าน ที่ตั้งของโรงเรียนเดิมมีต้น
มะม่วงมาก และเป็นอ่าวของทะเล เลยตั้งชื่อโรงเรียนว่า โรงเรียนบ้านอ่าวมะม่วง จากนั้นชื่อ
หม่บู า้ น เลยได้เรยี กตามชอื่ ของโรงเรยี นคอื หมู่บา้ นอา่ วมะมว่ ง เปน็ ต้นมา
ข้อมูลทว่ั ไปของชมุ ชนอ่าวมะมว่ ง
บ้านอ่าวมะม่วงมีพื้นที่ 4.2 ตารางกิโลเมตร จำนวนประชากรตามทะเบียน
ราษฎร 522 คน 151 ครวั เรอื นจำนวนประชากร ชาย 262 คน หญิง 260 คน อายุชุมชน
12 ปี เรม่ิ มีชุมชนเม่อื ปี 2546
คำขวญั : หลวงปู่เลิบ เป็นสิริ กะปขิ ้ึนชอื่ เลอื งลือมะพร้าว ชมอา่ วแหลมหนิ ถนิ่ พ่อตาหินเสือ
วสิ ยั ทัศน์ : พฒั นาคน พัฒนางาน พฒั นาแหล่งท่องเทีย่ ว
ผ้นู ำหมู่บา้ น : นายสารัช เกิดกลุ รัตน์
ประธานกรรมการชุมชน :
นายเสกสรร แสงนคร ระยะเวลาดำรงตำแหนง่ 18 พฤศจกิ ายน 2556 ถงึ ปัจจุบนั
8
7. ชุมชนเกาะแกว้
ประวตั คิ วามเปน็ มาของชมุ ชนเกาะแก้ว (แผนชุมชนบา้ นเกาะแก้ว, 2558–2560)
ในสมัยก่อนจากตำนานตาม่องไล่ยายรำพึง ได้มีการแกงหอยขม และมีการ
ทะเลาะกันโดยตาม่องไล่ได้คว่ำกะทะแกงหอยขมกลายเป็นภูเขากะทะและน้ำได้ทำให้เกิด
เป็นเกาะกะทิ ส่วนหอยขมบางตัวยังไม่ตาย ได้อพยพลงในห้วยร่องแกรง ซึ่งปัจจุบันมีคน
พบหอยขมที่ไม่มีก้นหรือก้นขาด ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่ของหมู่บ้านมีน้ำล้อมรอบจึงกลายเป็น
เกาะ การติดต่อต้องเดินทางโดยเรือข้ามฟากและไปอำเภอหลังสวน และภูเขามีถ้ำ และมี
สัตว์ป่าหายากมากมาย และมีคนเคยพบเห็นลูกปัด ถ้วยแก้วของเก่ามากมาย แก้วแหวน
เงินทองในถำ้ มากมายจงึ ไดเ้ รยี กหมู่บ้านเกาะแก้ว เรื่อยมาจนถึงปจั จุบัน
ข้อมลู ทว่ั ไปของชมุ ชนเกาะแกว้
บา้ นเกาะแกว้ มพี น้ื ที่ 10.79 ตารางกโิ ลเมตร จำนวนประชากรตามทะเบยี นราษฎร 367
คน 144 ครวั เรอื น มจี ำนวนประชากร ชาย 182 คน หญิง 185 คน มีอายชุ ุมชน 9 ปี เริ่มก่อตงั้
เมื่อปี พ.ศ. 2549 เดิมบ้านเกาะแก้วอยู่ในการดูแลของหมู่ที่ 1 มาก่อน แล้วแยกออกมาเป็น
หมู่ท่ี 4 เม่ือ พ.ศ. 2503 มผี ู้ใหญ่บา้ นคนแรกชอ่ื นายประหยัด พรหมสวสั ด์ิ
วิสยั ทศั น์ : สถานทท่ี ่องเทย่ี วเชงิ ธรรมชาติ
ผู้นำหมู่บา้ น : นายสุพจน์ ชว่ ยอดุ ม
ประธานกรรมการชมุ ชน :
นายนริ นั ทร์ วเิ ชยี ร ระยะเวลาดำรงตำแหนง่ 18 พฤศจิกายน 2556 ถึง ปจั จุบัน
8. ชุมชนรัตนโกสัย
ประวัติความเปน็ มาของชมุ ชนรัตนโกสัย (แผนชมุ ชนบา้ นรัตนโกสัย, 2558–2560)
บ้านรัตนโกสัยเดิมชื่อบ้านเกาะสูบ แยกมาจากหมู่ที่ 3 ต.ปากตะโก อ.ทุ่งตะโก
และในเมือ่ ปี พ.ศ. 2500 มีผูใ้ หญ่บ้านคนแรกชื่อ นายไสว แกว้ มณี ตอ่ มาเปลี่ยนช่ือจาก
บ้านเกาะสูบ “เป็นบ้านรัตนโกสัย” ตามชื่อโรงเรียนรัตนโกสัย เพราะเกาะสูบอยู่กลาง
ทะเล ปัจจบุ นั โรงเรียนบ้านรัตนโกสยั ยุบเมือ่ ปี พ.ศ.2539 ตามหมายเหตุสมุดโรงเรียน
บ้านรัตนโกสัย กล่าวว่า รัชกาลที่ 5 ได้เสด็จประพาสภาคใต้และแวะประทับที่เกาะ
มะพร้าว 1 คืน พระองค์ให้มหาดเล็กไปหาน้ำมาเสวย มหาดเล็กได้น้ำในห้วยริมเชิงเขา
เป็นน้ำใสสะอาดบริสุทธิ์ เมื่อพระองค์ได้เสวยน้ำใสสะอาดและพระราชทานห้วยน้ำนี้ว่า
ห้วยรัตนโกสยั ซึง่ เป็นช่อื โรงเรียนทตี่ ้งั ข้นึ ปี พ.ศ.2512 เปน็ ช่อื มงคล
9
8. ชุมชนรตั นโกสัย (ต่อ)
ขอ้ มูลทั่วไปของชมุ ชนรตั นโกสยั (แผนชุมชนบา้ นรัตนโกสัย, 2558–2560)
บ้านรัตนโกสัย มีพื้นที่ 6.98 ตารางกิโลเมตร จำนวนประชาการตามราษฎร
520 คน 183 ครัวเรือน มีจำนวนประชากร ชาย 269 คน หญิง 252 คน ผู้สูงอายุ
62 คน มอี ายุชุมชน 9 ปี เริม่ ก่อตง้ั เม่อื ปี พ.ศ. 2549
คำขวัญ : มะพร้าวหาว อ่าวสวย รวยรังนก แหล่งตกปลา พัฒนารัตนโกสัยยั่งยืน
สดช่ืนแหล่งท่องเที่ยว
วิสยั ทศั น์ : แหล่งท่องเทยี่ วระดับจงั หวัด
ผู้นำหมบู่ ้าน : นายประดิษฐ์ แท่นศลิ า
ประธานกรรมการชมุ ชน :
นายวฒั นา บุญยก ระยะเวลาดำรงตำแหนง่ 18 พฤศจิกายน 2556 ถึง ปจั จบุ ัน
โครงสร้างผนู้ ำทอ้ งถ่นิ และสมาชกิ สภาเทศบาลตำบลปากตะโก
โครงสร้างฝ่ายบรหิ ารของเทศบาลตำบลปากตะโก
ท่ีมา : แผนพฒั นาท้องถนิ่ ส่ีปีเทศบาลตำบลปากตะโก, 2561-2564
10
โครงสร้างฝา่ ยสภาของเทศบาลตำบลปากตะโก
ทม่ี า : แผนพฒั นาท้องถน่ิ สี่ปีเทศบาลตำบลปากตะโก, 2561-2564
ดา้ นประชาชน
ประชากรภายในเขตเทศบาลตำบลปากตะโก ตามสถิติทะเบียนราษฎรข้อมูล ณ เดือนตุลาคม
2564 ดังนี้
หมูบ่ า้ น จำนวนบา้ น (ครัวเรอื น) จำนวนประชากร
ชาย หญิง รวม
หมทู่ ่ี 1 บา้ นปากน้ำตะโก 841 1,032 985 2,017
หมู่ที่ 2 บ้านหนองไมแ้ ก่น 260 356 348 704
หมทู่ ี่ 3 บา้ นอ่าวมะมว่ ง 169 224 253 477
หม่ทู ่ี 4 บ้านเกาะแก้ว 170 176 178 354
หมู่ท่ี 5 บ้านรตั นโกสัย 197 274 249 523
1,637 2,062 2,013 4,074
รวม
ทม่ี า : งานทะเบียนราษฎรทอ้ งถ่ินเทศบาลตำบลปากตะโก, 2564
11
ดา้ นการศึกษา
1. ศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ 1 แห่ง หมู่ที่ 2
2. โรงเรยี นระดบั ประถมศกึ ษา 1 แห่ง โรงเรียนบ้านอ่าวมะม่วง
3. โรงเรยี นขยายโอกาสการศึกษาถึงระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ 1 แห่ง
โรงเรยี นวัดชลธพี ฤกษาราม
4. สถานศึกษาระดับอาชวี ศึกษา 1 แหง่
วิทยาลยั ประมงเขตอุดมศกั ดิ์
ที่มา : แผนพัฒนาท้องถน่ิ ส่ีปีเทศบาลตำบลปากตะโก, 2561-2564
ด้านศาสนา
1. วัด จำนวน 2 แห่ง วัดชลธพี ฤกษาราม , วดั ทองตุ่มน้อย
2. ศาลเจา้ จำนวน 1 แหง่ ศาลเจา้ ปากน้ำตะโก
3. มลู นธิ ิ จำนวน 1 แหง่ ศาลกรมหลวงชมุ พรปากตะโก
ท่ีมา : แผนพฒั นาท้องถน่ิ ส่ีปีเทศบาลตำบลปากตะโก, 2561-2564
โครงสรา้ งดา้ นเศรษฐกจิ และอาชีพ
1. สภาพเศรษฐกิจโดยภาพรวม
ประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพ ทางการเกษตร รองลงมาทางการประมง ค้าขาย และมีอาชีพ
รับจา้ งท่ัวไป สังคมโดยภาพรวมมีลักษณะเป็นชมุ ชนท้องถน่ิ
ขอ้ มลู การปลกู พืชเศรษฐกจิ ในเขตตำบลปากตะโก ปีการผลิต 2559
หมทู่ ี่ จำนวนเกษตรกร (ราย) จำนวนพ้นื ท่ีเพาะปลกู (ไร่)
ปาล์มนำ้ มัน ยางพารา มะพร้าว ทุเรยี น ปาล์มน้ำมนั ยางพารา มะพร้าว ทเุ รยี น
1 25 - 19 - 610 - 70 -
2 110
3 35 25 60 - 2,070 362 1,500 30
4 50
5 18 29 29 2 602 682 1,200 44
รวม 238
24 22 5 1,074 418 340 84
60 18 6 242 1,301 162 113
138 148 13 4,555 2,763 3,272 271
ท่มี า : สำนักงานเกษตรอำเภอทงุ่ ตะโก, 2559
12
2. การพาณชิ ย์และกลุ่มอาชพี
- รสี อรท์ จำนวน 4 แห่ง - โฮมสเตย์ จำนวน 3 แหง่
- รา้ นอาหาร และเครื่องด่มื จำนวน 9 แหง่ - รา้ นบริการเสริมสวย จำนวน 5 แหง่
- ร้านอปุ กรณ์ซ่อมเครื่องยนต์ จำนวน 1 แห่ง - ร้านอปุ กรณ์ไฟฟา้ และวิทยุ จำนวน 3 แหง่
- รา้ นจำหน่ายแก๊สหุงต้ม จำนวน 13 แห่ง - ป๊มั น้ำมนั แบบหลอดแกว้ จำนวน 26 แหง่
- ป๊มั น้ำมนั หวั จ่าย จำนวน 1 แห่ง - ปมั๊ น้ำมนั หยอดเหรยี ญ จำนวน 6 แห่ง
- แพปลา จำนวน 12 แห่ง - ตลาดนัด (วนั เสาร์,วนั จำนวน 2 แห่ง
อาทิตย์)
3. การอุตสาหกรรม
- อตุ สาหกรรมแปรรปู ผลผลติ ทางทะเล ได้แก่ ปลาหมึกแหง้ ปลาเค็ม กะปิ ฯลฯ
4. การบริการ
- มีเรือใหเ้ ช่าเพื่อการทอ่ งเที่ยวทางทะเล
- มกี ารท่องเที่ยวเชงิ อนุรักษ์
5. การท่องเทย่ี ว
- มีเกาะบริเวณหน้าน้ำอา่ วปากตะโก ดงั น้ี
1. เกาะคราม
2. เกาะกะทิ
3. เกาะยอ
4. เกาะมุก
5. เกาะขน้ี ก
6. เกาะมะพร้าว (สมั ปทานรงั นก)
7. เกาะรางปะทัด เกาะคางเสอื (สัมปทานรงั นก)
8. เกาะหลังห้า (สมั ปทานรังนก)
9. เกาะสบู
- สถานทีท่ ่องเท่ียวถ้ำปลา หมู่ที่ 2
- สถานทีท่ ่องเที่ยวป่าชายเลนเกาะแก้ว หมู่ที่ 4
- สถานที่ท่องเที่ยวถำ้ ถ้วย หม่ทู ่ี 4
ทีม่ า : แผนพฒั นาท้องถนิ่ ส่ีปีเทศบาลตำบลปากตะโก, 2561-2564
13
สถานทสี่ ำคญั
เทศบาลตำบลปากตะโก ตำบลที่มีทั้งการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และมีทั้งสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ ในตำบลที่น่าสนใจ ได้แก่ ศาลกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักด์ิ ,
วัดชลธพี ฤกษาราม , วัดทองตุ่มนอ้ ย และศาลเจา้ ตงหว่ากงโต่ว
ศาลกรมหลวงชุมพรเขตอดุ มศกั ดิ์
ในปี พ.ศ. 2519 ได้มีการก่อตั้งศาลกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ณ หมู่ที่ 1 บ้านปากน้ำตะโก
ตำบลปากตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร ต่อมาในปี พ.ศ. 2522 ได้มีพระบรมโอรสาธิราชเปิด
ศาลกรมหลวงชุมพรฯ ใหป้ ระชาชนที่เคารพนับถอื ไดเ้ ขา้ มากราบไหวส้ ักการบชู า และเปน็ ทยี่ ึดเหนี่ยว
จติ ใจของชาวปากตะโก รวมถึงประชาชนทเี่ ขา้ มาทอ่ งเที่ยวในเทศบาลตำบลปากตะโก
เส้นทางการไปกราบขอพร
ศาลกรมหลวงชุมพรเขตอดุ มศักดิ์
ตำบลปากตะโก อำเภอทุ่งตะโก
จงั หวัดชมุ พร
หรอื กด link
shorturl.at/ryS37
14
วดั ชลธีพฤกษาราม
วัดชลธีพฤกษาราม ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 บ้านปากน้ำตะโก ตำบลปากตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัด
ชุมพร วัดได้ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2400 ต่อมาได้รับวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2558
วัดชลธพี ฤกษารามเป็นวัดเก่าแก่ที่อยคู่ ู่กับชาวตำบลปากตะโกอย่างช้านาน เปน็ วัดแหง่ หนง่ึ ท่ีน่าเข้าไป
สักการะบูชา อีกทั้งวดั ชลธพี ฤกษารามยังมีโบสถ์ที่สวยสดงดงามอีกด้วย
เส้นทางการไปทอ่ งเท่ยี ว
เย่ยี มชม วัดชลธพี ฤกษาราม
หรอื กด link
shorturl.at/tyzMS
วัดทองตุ่มน้อย
ในปี พ.ศ. 2543 ได้มีการก่อตั้งวัดทองตุ่มน้อย ซึ่งตั้งอยู่ในหมู่ที่ 3 บ้านอ่าวมะม่วง ตำบลปาก
ตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร ซึ่งเป็นวัดที่ 2 ที่ก่อตั้งในตำบลปากตะโก ต่อมาในปี พ.ศ. 2593
วดั ทองตุ่มนอ้ ยได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา วัดทองตมุ่ นอ้ ยก็เป็นอกี หนง่ึ วัดท่ีน่าเขา้ ไปเยยี่ มชม
เสน้ ทางการไปเขา้ วัดทำบญุ
วัดทองตมุ่ น้อย
หรือกด link
shorturl.at/eCGM5
15
ศาลเจ้าตงหว่ากงโต่ว
ศาลเจา้ ตงหว่ากงโต่ว ต้ังอยู่ในพื้นทข่ี องหมู่ที่ 1 บ้านปากนำ้ ตะโก ตำบลปากตะโก อำเภอทุ่ง
ตะโก จงั หวัดชมุ พร เปน็ สถานทสี่ ำคัญอีกแห่งของเทศบาลตำบลปากตะโก และเป็นสถานที่ยึดเหน่ียว
จิตใจของชาวบ้านที่เข้ามาสักการบูชา ศาลเจ้าแห่งนี้ยังเป็นสถานที่ที่ใช้ในการประกอบพิธีกรรม
ต่าง ๆ อาทิเช่น พิธีถวายสักการบูชาเทพเจ้า พิธีอาบน้ำทิพย์ พิธีทักษิณาวรรตธูป พิธีสวดมนต์เย็น
พธิ ขี า้ มสะพานสะเดาะเคราะห์ ในเทศกาลถอื ศีลกนิ เจ
เส้นทางการไปสกั การบชู า
ศาลเจ้าหวา่ กงโตว่
หรอื กด link
shorturl.at/kxRW6
16
เส้นทางเช่อื มโยงการท่องเท่ียว
ปากตะโก ชุมชนแห่งการท่องเที่ยว ที่มีวัฒนธรรมประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น มีท้ัง
แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และสถานท่ีวัดวาอารามท่ีน่าเข้าไปสักการบูชา มีหาดทรายที่สวยงาม
เหมาะกับการพักผ่อน มีป่าชายเลนที่เป็นฐานทรัพยากรธรรมชาติที่มีความอุดมสมบูรณ์ และยังมี
กิจกรรมการท่องเที่ยวเรยี นรู้ สัมผสั วิถชี วี ติ ของคนในชมุ ชนปากตะโกอกี ดว้ ย
เมื่อแสงพระอาทิตย์กระทบกับน้ำทะเล หาดอรุโณทัย เริ่มต้นการเดินทางกับ
บริเวณชายหาดอรุโณทัยมีฉากหลังเป็น ชายหาดที่ยาวที่สุดของจังหวัดชุมพร
เกาะเล็กเกาะน้อย 13 เกาะ นอกจากการ ซึ่งมีเส้นทางประมาณ 6 กิโลเมตร
ชมวิวทิวทัศน์ของหาดอรโุ ณทยั แล้ว ท่ีนีย่ ังมี นกั ทอ่ งเที่ยวสามารถเดินเล่นชื่นชมความ
ศาลกรมหลวงชุมพร ซึ่งเป็นสถานท่ี สวยงามของชายหาดได้ และในยามเช้า
ศักดิ์สิทธิ์และเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของชาว สามารถรอชมพระอาทิตย์ขน้ึ แสงสีแดง
ปากตะโก
17
หาดอรุโณทัย เป็นอีกหาดหนึ่งของ
จังหวัดชุมพรที่มีความสงบร่มเย็น เป็น
ชายหาดท่มี ลี กั ษณะเป็นรูปโค้ง หาดทรายสี
ขาวสะอาดตลอดตลอดแนวชายฝั่ง มีพื้นท่ี
อยู่ติดกับแม่น้ำปากตะโก และเป็นชายหาด
ที่อยู่ใกล้กับชุมชนริมชายฝั่ง จึงสามารถ
มองเห็นทัศนียภาพวิถีชีวิตของในชุมชนปาก
ตะโกอีกด้วย
นั่งเรือชมป่าโกงกางชมวิถีชีวิตของชุมชนริมน้ำ ปากตะโกไม่ได้มีแค่ชายหาดที่สวยงาม
แต่ยังมีแม่น้ำที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ นักท่องเที่ยวจะได้พบกับวิถีชีวิตชุมชนริม
แม่น้ำ ความเป็นสีเขียวธรรมชาติของป่าโกงกางท่ีเต็มไปด้วยความรม่ รื่น สงบ รม่ เยน็ ปราศจากการ
ปรงุ แต่ง เป็นอกี แหล่งท่องเท่ียงหน่งึ ท่ีสามารถมาพักผอ่ นย่อนใจได้เป็นอยา่ งดี นอกจากนี้ยังสามารถ
แวะชมเกาะกะทิที่มีตำนานเรอื่ งเล่าสู่กันมาช้านาน นนั้ กค็ อื เรอื่ งเล่าตำนานเหล็กไหล ตำนานชะนีป่า
ตำนานจระเขเ้ พชฌฆาต และตำนานถำ้ ลอดน้ำวนใตป้ ากอา่ ว
นอกจาการนัง่ เรอื ชมป่าโกงกางชมวิถชี ีวติ ของชมุ ชนรมิ น้ำแล้ว ยงั มีการน่งั เรอื เทีย่ วคลอง
บางมดุ เพือ่ ชมพระอาทติ ย์ตกดินบรเิ วณสะพานขา้ มแม่น้ำปากตะโก ซึ่งจะเห็นววิ ของภูเขาท่าทอง
คลองบางมดุ ยงั มีห่ิงห้อย ธรรมชาติ และความเงยี บสงบใหน้ กั ท่องเทยี่ วไดไ้ ปเยยี่ มชม
ลอ่ งเรือเทีย่ วหมเู่ กาะกลางทะเล เทศบาลตำบลปากตะโกเปน็ ตำบลที่มีหม่เู กาะกลางทะเล
การล่องเรือเที่ยวกลางทะเล เป็นการเปิดประสบการณ์ของการดำนำ้ ลอดทะลชุ ่องหินใตเ้ กาะ
และดำน้ำตื้นชมระบบนิเวศ
ใต้ทะเล อาทิ หอยมือเสือ
ดอกไม้ทะเล หอยเม่น และ
อีกอย่างหนึ่งที่เป็นความโดด
เด่น นั่นก็คือ การนั่งเรือไป
ตกหมึกซึ่งเป็นที่นิยมอยู่ใน
ปจั จบุ ัน
18
เท่ียววดั ชลธีพฤกษาราม เปน็ วัดเก่าแก่ใน
ตำบลปากตะโก นักท่องเที่ยวสามารถแวะกราบ
สักการบูชาพระบรมสารีริกธาตุ และพระอรหันต
ธาตุที่ประดิษฐานในเจดีย์ชลธีพิมลธรรมมาภิรมย์
เจดียส์ ถาปตั ยกรรมรปู ทรงระฆังคว่ำสีขาว ยอดทำ
ด้วยอลูมิเนียมเรียวแหลมแปลกตาสง่างาม โดด
เดน่ และเปน็ เอกลักษณ์ของชุมชน นอกจากน้ี ภายใน
วัดยังมีพื้นที่ป่าโกงเกงกว่า 5 ไร่ ที่มีความอุดม
สมบูรณ์ จากเดิมที่เป็นพื้นที่รกร้าง เจ้าอาวาส
ผู้นำชุมชน และประชาชนในชุมชนได้ช่วยกันอนรุ ักษ์
และพัฒนาพื้นที่ป่าโกงเกงให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยว
เชิงอนุรักษ์ จนกลายมาเป็นป่าโกงเกงที่มีความ
หลากหลายในระบบนิเวศน์ มีพันธุ์ไม้และสัตว์ต่าง ๆ
ที่ชุกชุม จึงเกิดเป็นจุดเช็คอินแห่งใหม่ของตำบล
ปากตะโก
เดินเล่นตลาดนัดซาเล้ง ตลาดนัดที่ตั้งอยู่ในบริเวณหาดอรุโณทัย เป็นตลาดที่สะท้อนวิถี
ชีวิตของพ่อค้าแม่ค้าที่กำลังสร้างรายได้โดยการใช้ซาเล้งเป็นพาหนะ ภายในตลาดนัดซาเล้งมีสินค้า
หลากหลายให้ได้เลือกซื้อกัน อาทิเช่น อาหารทะเลสด ของทานเล่น ของใช้ หลากหลายอย่างล้วน
เปน็ สนิ ค้าในชุมชนปากตะโก ตลาดนัดซาเล้งเปิดใหบ้ ริการในทุกวนั ศุกร์ ตัง้ แตเ่ วลา 16.00 – 21.00 น.
19
ผลติ ภณั ฑ์ภายในชุมชน
ชุมชนปากตะโก ชุมชนที่มีความอุดมสมบูรณ์ในหลากหลายด้าน รวมถึงการนำทรัพยากรใน
ชุมชนมาแปรรูปให้เกิดประโยชน์ และเกิดรายได้ในครัวเรือน ชุมชน เกิดการสร้างอาชีพให้แก่คนใน
ชุมชน ไมว่ ่าจะเปน็ ผลิตภณั ฑ์ในรูปแบบอาหาร เครอ่ื งปรงุ และเคร่ืองใชใ้ นบ้าน
น้ำปลาเค่ียวโบราณ
น้ำปลาสมุนไพร แบบโบราณภูมิปัญญาดั้งเดิมของคนปากโก เป็นการสืบทอดภูมิปัญญา
ท้องถิ่นมาตั้งแต่รุ่นคุณยาย ซึ่งเป็นสูตรดั้งเดิมเฉพาะถิ่น มีสมุนไพรในครัวเป็นส่วนประกอบในการ
เคี่ยวน้ำปลา โดยเคี่ยวแบบโบราณในกระทะตั้งไฟแบบเดิม ผ่านความร้อน ใส่ตะไคร้หอม กระเทียม
มะขามเปี๊ยก น้ำตาลทรายแดง ซึ่งน้ำปลาจะหอมและมีกลิน่ หอมของสมุนไพร ทานกับขา้ วสวยรอ้ น ๆ
กอ็ ร่อยแล้ว
ช่อื ผลติ ภัณฑ์ : น้ำปลาเคย่ี วโบราณ
ชอ่ื ผปู้ ระกอบการ : คุณดาเรศ อินทรโยธา
สถานท่ผี ลิต : 18 หมู่ที่ 1 ตำบลปากตะโก
อำเภอท่งุ ตะโก จังหวัดชุมพร
เบอรต์ ิดตอ่ : 064 - 0244959
ที่มา : คณุ ดาเรศ อนิ ทรโยธา
ซาหรม่ิ กะทิหวานฉ่ำ
ซาหรมิ่ เปน็ ขนมไทยโบราณทส่ี ืบทอดกนั มาจากรนุ่ สู่รนุ่ มลี ักษณะเป็นเส้นยาวเหมาะสำหรับ
ใชร้ บั ประทานในงานมงคล มีความหมายถงึ ความยดึ ยาว ยนื ยาว ซาหรม่ิ เส้นสดทำจากแป้ง ถ่ัวเขียว
ผ่านกรรมวิธีการกวนแป้งที่พิถีพิถัน ทำให้ได้เส้นซาหริ่มที่เหนียวนุ่ม รับประทานคู่กับน้ำกะทิผสม
น้ำเช่ือมหอมหวาน ช่ืนใจ
ชื่อผลิตภณั ฑ์ : ซาหร่ิม กะทิหวานฉ่ำ
ชือ่ ผ้ปู ระกอบการ : คณุ สภุ กาญจณ์ ฤทธิเดช
สถานท่ผี ลติ : 114 หมู่ท่ี 1 ตำบลปากตะโก
อำเภอท่งุ ตะโก จังหวัดชุมพร
เบอรต์ ิดต่อ : 086 - 6900521
20
ทอดมนั นนั ทา
ทอดมันนันทา ทำสืบทอดกันมาตั้งแต่รุ่นพ่อแม่เป็นสูตรโบราณ มีสีและรสชาติที่เป็น
เอกลกั ษณ์ รสชาติอร่อยเนอ้ื ปลาสดไม่ผสมแป้งเปน็ พเิ ศษท่ีมีเอกลักษณ์เปน็ ของตนเอง เพ่ือเหนียวนุ่ม
ฟูโดยไม่ต้องผสม ผงฟูไม่ใส่วัตถุกันเสีย ปัจจุบันมีการเปลี่ยนรูปแบบทอดมันให้เป็น “ทอดมันโด” ซ่ึง
ทอดมันที่มีรูปร่างเหมือนโดนัท เนื้อปลาคุณภาพดีผลิตจากปลาเข็มทอง ส่งตรงมาจากหมู่บ้าน
ชาวประมงปากน้ำตะโก จังหวัดชุมพร ทอดมันโดแตกต่างจากทอดมันทั่วไป คือ ขั้นตอนการผลิต
ปราศจากน้ำมัน เหมาะสำหรบั ทานเลน่ และเป็นอาหารกนิ กบั ข้าวอร่อยเข้ากนั เปน็ อย่างดี
ชอ่ื ผลิตภัณฑ์ : ทอดมนั นนั ทา
ช่อื ผูป้ ระกอบการ : คุณสุรสิทธ์ิ เปรมชยั ปราการ
สถานที่ผลิต : 16 หมู่ท่ี 1 ตำบลปากตะโก
อำเภอท่งุ ตะโก จังหวัดชุมพร
เบอร์ตดิ ตอ่ : 094 - 6409198
น้ำไผ่ 100% สวนลุงจิต
เป็นภูมิปัญญาของคนโบราณ เวลาเดินป่าขึ้น เขาแล้วหาน้ำดื่มไม่ได้ จึงมีการหาน้ำดื่มจาก
ต้นไผ่ ด้วยไผ่เป็นพืชที่สะสมน้ำไว้ในลำไผ่ ปัจจุบันทานเพื่อสุขภาพส่งผลต่อร่างกายดีขึ้นในเรื่อง
สขุ ภาพด้วยมี การวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ ว่ามจี ุลนิ ทรีย์ทเ่ี ป็นประโยชนต์ ่อร่างกาย
ชอ่ื ผลิตภณั ฑ์ : นำ้ ไผ่ 100% สวนลงุ จิต
ชื่อผปู้ ระกอบการ : คณุ วิจิตร จันทรน์ ิตย์
สถานที่ผลติ : 2 หมู่ที่ 1 ตำบลปากตะโก
อำเภอทุ่งตะโก จงั หวัดชุมพร
เบอรต์ ดิ ต่อ : 093 - 6837436
21
ย่งิ แกย่ ่ิงมนั ผลติ ภณั ฑ์จากกะลามะพร้าว
การนำกะลามะพร้าวมาประดิษฐ์เปน็ ผลิตภัณฑ์รูปแบบตา่ ง ๆ เป็นการนำสิ่งของท่ีเหลือใช้มา
ทำการประยุกต์เป็นเฟอร์นิเจอร์ตกแต่งบ้านสุดเก๋ เพิ่มคุณค่าและความน่าสนใจ ใช้ประโยชน์ได้จริง
ยังเป็นการลดปริมาณขยะและสร้างรายได้ใหก้ บั ชมุ ชนอีกดว้ ย
ช่อื ผลติ ภัณฑ์ : ย่ิงแก่ ย่ิงมนั
ชื่อผู้ประกอบการ : คุณเฉลมิ พล ปานทอง
สถานทผี่ ลติ : 289 หมู่ท่ี 1 ตำบลปากตะโก
อำเภอทุ่งตะโก จงั หวัดชุมพร
เบอร์ตดิ ตอ่ : 093 - 6137571
ผลติ ภณั ฑจ์ ากกะลามะพร้าว เชน่ โคมไฟ กระปกุ ออมสนิ กระถางตน้ ไม้ และอืน่ ๆ อีกมากมาย
ท่มี า : องค์การบริหารส่วนจงั หวดั ชมุ พร, 2562
22
ที่พกั / โฮมสเตยใ์ นชมุ ชนปากตะโก
ปากตะโก โฮมสเตย์
ปากตะโก โฮมสเตย์ ที่พัก อาหาร และกิจกรรมท่องเที่ยว กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ เช่น
ปลูกป่าชายเลน
ที่ตั้ง : หมทู่ ่ี 1 บา้ นปากนำ้ ตะโก ตำบลปากตะโก อำเภอทงุ่ ตะโก จังหวดั ชุมพร
เบอรต์ ดิ ตอ่ : 091 0433436
Facebook : ปากตะโกโฮมสเตย์
บา้ นลงุ มินโฮมสเตย์
บ้านลุงมินโฮมสเตย์ ที่พักติดแมน่ ้ำปากตะโก ชมบรรยากาศสดุ ธรรมชาติ พรอ้ มทง้ั กิจกรรม
ทางน้ำ เช่น นัง่ แพเปียก
ทีต่ งั้ : หมู่ท่ี 1 บ้านปากน้ำตะโก ตำบลปากตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร
เบอร์ติดตอ่ : 098 7197764
Facebook : บ้านลงุ มนิ โฮมสเตย์
23
ชาวประมงโฮมสเตย์
ชาวประมงโฮมสเตย์ ท่ีพัก พร้อมกบั เรอื นำเทย่ี ว ตกหมึก ตกปลา และยงั จำหน่ายอาหาร
ทะเล
ท่ตี ้งั : หมู่ท่ี 5 บ้านรัตนโกสัย ตำบลปากตะโก อำเภอทุง่ ตะโก จังหวัดชุมพร
เบอร์ติดต่อ : 098 7047829
Facebook : โฮมสเตยช์ มุ พร ชาวประมงโฮมสเตย์
เรอื นไมป้ ลายนำ้
ท่พี ักเชิงธรรมชาติ เรือนไม้ปลายน้ำ ท่ีสะดวกสบาย พร้อมชมธรรมชาติรมิ สองฝั่งของแมน่ ำ้
ปากตะโก
ท่ตี งั้ : หม่ทู ่ี 1 บ้านปากน้ำตะโก ตำบลปากตะโก อำเภอทุง่ ตะโก จังหวดั ชมุ พร
เบอร์ตดิ ตอ่ : 098 9296151
Facebook : เรือนไมป้ ลายน้ำ Cottage by the River
นอกจากนี้ยังมีที่พัก / โฮมสเตย์ อีกหลายแห่งที่ตั้งอยู่ในบริเวณชุมชนปาก เพื่อให้
นกั ท่องเทยี่ วที่สนใจ มาท่องเท่ยี ว มาเข้าพกั ได้เลือกตามต้องการ ไมว่ า่ จะเปน็ ทพ่ี ักติดชายทะเล ที่พัก
ติดทะเล ที่พักติดแม่น้ำปากตะโก และยังมีกิจกรรมทางธรรมชาติ อีกมากมายหลายกิจกรรม ให้ผู้ที่
เข้ามาท่องเที่ยวในตำบลปากตะโกได้ประทับใจในความเป็นธรรมชาติ และความอุดมสมบูรณ์ของ
ชมุ ชนปากตะโก
24
ประวตั ิศาสตรค์ วามเปน็ มาของชมุ ชน
ทุ่งตะโก (สำนักงานจังหวัดชุมพร) เป็นอำเภอหนึ่งที่ตั้งอยู่ทางตอนกลางของจังหวัดชุมพร
ลักษณะภูมิประเทศมีทั้งที่ราบ พื้นที่เนินเขา และที่ราบชายฝั่งทะเล ซึ่งอยู่ติดกับส่วนหนึ่งของทะเลอ่าว
ไทย จดุ กำเนดิ ของเมืองทุง่ ตะโก หรือเรียกอกี อย่างว่า ท่งุ ตาโก ต้งั แตป่ ี พ.ศ. 1199 เมอื งทงุ่ ตะโกได้เป็น
เมืองบริวารของเมืองชุมพร ซึ่งเป็นสมัยตอนปลายของสหราชอาณาจักรคีรีรัฐ กรุงเสียบ - อู่ทอง
หรือ ไชยา เมืองตาโกเกิดข้ึนจากการอพยพของชนชาติอ้ายไต ตาโก ที่มาจากเกาะไหหลำ มาตั้งรกราก
ทีบ่ า้ นปากกิง่ หรอื ตำบลวงั อำเภอ ทา่ ชนะ ในปจั จบุ นั และท่เี มอื งตากลบ ทำใหป้ ระชาชนชาวตาโกเกิด
ความหนาแนน่ มากเกินไป จึงมีการกระจายพลเมืองตาโกให้ไปรว่ มกันสร้างแปลงเมืองใหม่ท่เี มืองทุ่งตะโก
ซึง่ อยใู่ กลเ้ มืองชุมพร
ในพระราชประวัติของพระเจ้าตากสินมหาราช ขณะที่พระเจ้าตากสินฯ อายุ 16 ปี พระองค์ได้
เดินทางกลับจากมณฑลกวางตุ้ง ประเทศจีน มาลงเรือที่เกาะชวา และได้ขอโดยสารเรือสำเภาของนาย
บุญชู หรืออีกนามหนึ่งว่า เจ้าพระยาจักรีฯ บุญชู มาที่ท่าเรือกระจายเมืองท่าชนะ แต่พระองค์ได้เผลอ
หลับไปจึงทำให้เลยท่าเรือกระจายเมืองท่าชนะ นายบุญชูจึงต้องพาพระองค์ไปลงเรือที่ท่าเรือทุ่งตะโก
แลว้ ตอ่ จากนั้นพระเจา้ ตากสินฯ ต้องขอโดยสารเรอื สำเภาท่ีท่าเรอื ทุ่งตะโก กลับไปทท่ี ่าเรือกระจายเมือง
ทา่ ชนะอีกครั้งหนงึ่ ในพระราชประวัติดงั กล่าวของพระเจ้าตากสนิ มหาราช ทำใหท้ ราบว่า เมืองทุ่งตะโก
เป็นเมืองทีม่ ที ่าเรือค้าขายขนาดเล็กที่มียาวนานมาแล้ว อกี ทัง้ เมืองทงุ่ ตะโก ยังปรากฏหลักฐานในตำนาน
การสร้างเมืองนครศรีธรรมราช หลังจากสหราชอาณาจักรเสียบ กรุงศรีโพธิ์ ได้ล่มสลาย ซึ่งได้มีการ
สร้างเมืองสิบสองนักษตั รเป็นเมอื งบริวารของเมอื งนครศรธี รรมราช หนงึ่ ในน้ันคอื เมอื งชมุ พร มีศักดเิ์ ป็น
เมืองตรี และมีเมืองขึ้นขนาดเล็กอีก 7 เมือง คือ เมืองปะทิว เมืองท่าแซะ เมืองเมลิวัน เมืองกระ
ปัจจุบันคือ อำเภอกระบุรี เมืองระนอง เมืองหลังสวน และเมืองตะโก ต่อมาภายหลังได้นำเอาเมืองนพ
คณุ (หรอื อำเภอบางสะพานน้อย) รวมเข้ามาดว้ ย เมอื งตะโก จึงได้มีช่ือในประวตั ิศาสตรต์ ้ังแต่น้ันเป็นต้น
มา และได้ถูกตั้งให้เป็นหัวเมืองจัตวา มีความสำคัญเนื่องจากเป็นทางผ่านของกองทัพที่ยกมาจากเมือง
หลวง ไม่ว่าจะเป็น สมัยกรุงศรอี ยธุ ยา สมยั กรงุ ธนบรุ ี และสมัยกรงุ รตั นโกสินทร์
ต่อมาในสมัยสงคราม 9 ทัพ เมืองทุ่งตะโกถูกพม่าตีพร้อมกับเมืองชุมพร จึงทำให้เมืองทุง่ ตะโก
เป็นเมืองสิ้นชื่อตลอดมา ซึ่งจากหลักฐานที่ปรากฏ “หมื่นรามราชรักษา” เป็นผู้รักษาเมืองทุ่งตะโก
คนสุดท้าย จนมาในปี พ.ศ. 2440 เมืองทุ่งตะโกถูกลดฐานะจากเมืองทุ่งตะโกเป็นตำบลขึ้นกับเมืองสวี
ในปี พ.ศ. 2518 นายประมวล กุลมาตย์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเมืองชุมพร ได้เสนอเรื่องต่อ
กระทรวงมหาดไทย เพื่อขอยก ตำบลทุ่งตะโก ตำบลปากตะโก และตำบลทุ่งตะไคร้ ยกฐานขึ้นเป็นก่ิง
อำเภอทุ่งตะโก จึงได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เล่มที่ 93 ตอนท่ี 106 เรื่องแบ่งท้องท่ี
อำเภอสวี จังหวัดชุมพร และตั้งเป็นกิ่งอำเภอทุ่งตะโก ตั้งแต่วันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2519 ในสมัยที่
ม.ร.ว. เสนีย์ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรีและเป็นรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทย เมืองทุ่งตะโ ก
และได้ยกฐานะเป็นอำเภอทุง่ ตะโก เมอ่ื วันท่ี 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 จนถึงปจั จบุ ัน
25
ความเชื่อ ประเพณี และพิธกี รรม
ตำบลปากตะโก (แผนพฒั นาท้องถน่ิ สป่ี ีเทศบาลตำบลปากตะโก, 2561-2564) มีการนับถือ
ศาสนา ประเพณีและวฒั นธรรม และพิธกี รรมต่าง ๆ ซงึ่ ล้วนแต่เปน็ การปฏบิ ตั ิสืบทอดต่อกันมาตั้งแต่
โบราณ เช่น พิธีกรรมศาสนา ประเพณีประจำท้องถิ่น สิ่งเหล่านี้ก่อให้เกิดความรักสามัคคี การ
เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ช่วยเหลือซึ่งกันและกันของคนในชุมชน โดยชาวตำบลปากตะโกมีความเชื่อ ประเพณี
และพธิ ีกรรม ดงั น้ี
1. การนับถือศาสนา
ประชาชนสว่ นใหญ่ในตำบลประมาณร้อยละ 99 นับถือศาสนาพุทธและร้อยละ 1 นับถือ
ศาสนาอื่น โดยมีศาสนสถาน และสถานท่สี ักการบูชาในตำบล 4 แห่ง ได้แก่
1. วดั ชลธพี ฤกษาราม
2. วัดทองตมุ่ นอ้ ย
3. ศาลเจ้าตงหว่ากงโตว่
4. ศาลกรมหลวงชมุ พร เขตอดุ มศักด์ิ
2. ประเพณแี ละวัฒนธรรม
ประเพณีท้องถ่ินทสี่ ำคญั ได้แก่
- ประเพณวี นั ขึ้นปใี หม่
- ประเพณวี นั สงกรานต์
- ประเพณีลอยกระทง
- ประเพณวี นั เข้าพรรษา
- ประเพณีวนั ออกพรรษา
- ประเพณงี านเทิดพระเกยี รติกรมหลวงชมุ พรเขตรอุดมศกั ดิ์ ซ่ึงจัดขนึ้ เปน็ ประจำทุกปี
ในวันท่ี 19 – 20 กมุ ภาพนั ธ์ ของทุกปี
3. พิธกี รรม
พธิ ีกรรมสว่ นใหญ่ของชาวตำบลปากตะโก จะเกิดขน้ึ ในเทศกาลถือศลี กนิ เจ ซ่งึ จะมีพิธกี รรม
ต่าง ๆ ได้แก่
- พธิ ีถวายสักการบชู าเทพเจ้า
- พิธอี าบน้ำทิพย์
- พิธีทกั ษิณาวรรตธปู
- พธิ ีสวดมนต์เยน็
26
การเปล่ยี นแปลงทางสังคม และวฒั นธรรม
เทศบาลตำบลปากตะโก มีการเปลี่ยนแปลงแบบของโครงสร้างทางสังคม พฤติกรรมทาง
สังคม และวัฒนธรรมทั้งในรูปแบบของวัตถุและไม่ใช่วัตถุ ซึ่งศึกษาได้จากการลงพื้นที่เก็บรวบรวม
ข้อมูลในรูปแบบของ Timeline “พัฒนาการตำบลปากตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร” โดยมี
ขอ้ มลู ดงั น้ี
พ.ศ. เหตกุ ารณ์สำคัญ และอน่ื ๆ
2400 สร้างวัดชลธีพฤกษาราม
2454 - กอ่ ต้ังหมู่บา้ นปากตะโก
- มีกำนันคนแรก ชื่อนายเจริญ มณพี ันธ์ุ
2455 พอ่ ท่านเลิบเกิด
2456 ก่อต้งั โรงเรียนชลธีพฤกษาราม
2464 มีเรอื ใบเขา้ มาซ้ือถ่านเพื่อนำไปขายท่ีจงั หวัดกรุงเทพฯ
2472 ขณะทีพ่ อ่ ท่านเลิบอายุ 17 ปไี ด้บวชเป็นสามเณร
2477 คร้นั พ่อท่านเลิบอายุ 21 ปี ทา่ นไดเ้ ข้าพธิ ีอปุ สมบท
2482 โรงเรียนบา้ นอ่าวมะม่วงเปดิ สอนคร้ังแรกต้งั แตป่ ระถมศึกษาปีท่ี 1 – 4 โดยหมน่ื จงกิจ
ราษฎรผ์ ใู้ หญบ่ ้านเป็นผู้จดั ต้ังให้ นายคล่อง ขนุ แพง่ ชู เปน็ ครคู นแรก
2483 ก่อตั้งวัดทองตุม่ น้อย
2500 มตี ำนานจระเขย้ ักษ์ ชอ่ื ไอ้ด่างบางมุด มากนิ คนบรเิ วณคลองปากน้ำตะโก
2503 กอ่ ตั้งโรงเรียนบ้านเกาะแกว้
2504 ก่อตั้งหมบู่ ้านเกาะแก้ว หม่ทู ี่ 4
2505 - ได้รับผลกระทบจากพายุ แหลมตะลุมพุก ทำให้บา้ นเรอื นเสยี หาย
- กอ่ ตัง้ สถานอี นามัยปากตะโก
2506 ขณะทพี่ ่อท่านเลบิ อายุ 50 ปี ท่านได้ออกบวชอีกครัง้
2507 อาคารเรยี นโรงเรยี นบา้ นอ่าวมะม่วงถูกพายพุ ัดพัง
2508 กอ่ ตั้งปอ้ มตำรวจปากตะโก
2512 หลวงพอ่ ทอง สอนคาถากำกับและพธิ ีทำตะกรุดให้กบั พอ่ ทา่ นเลบิ
2519 ก่อตง้ั ศาลกรมหลวงชุมพร เขตอดุ มศักด์ิ
2521 - โรงเรยี นบ้านอ่าวมะมว่ งเปดิ การสอนถงึ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6
- สร้างอาคารเรียนแบบ ป.1ก
- สรา้ งบ้านพักครู
- ทำหนงั สอื เสนอนายอำเภอ เพอื่ ใหพ้ ระมหากษัตริยม์ าทำพิธีเปิดศาลกรมหลวงฯ
27
พ.ศ. เหตุการณส์ ำคัญ และอื่นๆ
2522 - พระบรมโอรสาธริ าชเปดิ ศาลกรมหลวงชมุ พรฯ
- ตง้ั ชอ่ื ถนน สรุ ยิ ราช (ถนนพระอาทติ ย์เดิน)
- ตง้ั ช่ือหาดอรโุ ณทัย
- กอ่ สร้างส้วมของโรงเรียนบ้านอ่าวมะม่วง
- นายธรี ะชาติ ปวงวริ ฬุ รักษ์ ส.ส.จังหวัดชมุ พร ได้ประสานงานใหม้ ีครปู ระจำการครบ
ช้ันเรียน
2523 - พลเอกเปรม ตณิ สลู านนท์ ยกเลิกระบอบคอมมวิ นิสต์
- สร้างโรงอาหารแบบกรมสามญั ศึกษา ของโรงเรยี นบ้านอ่าวมะมว่ ง
2524 โรงเรียนบ้านอ่าวมะม่วงได้งบประมาณซ่อมแซมอาคารเรียน ป.1ก หลังแรก โดย
เปลีย่ นจากไมเ้ ป็นก่ออฐิ
2530 มกี ารกอ่ สรา้ งทา่ เรอื บางทับกวั
2534 - สถานอี นามัยบ้านอ่าวมะม่วงเปิดให้บริการครัง้ แรก
- มีเหรียญรุน่ แรกหลวงพ่อเลิบวัดทองตุ่มนอ้ ย
- กอ่ ต้งั วิทยาลยั ประมงชุมพร
2537 มีการต่อเตมิ อาคารชั้นล่างของสถานอี นามยั บา้ นอา่ วมะมว่ ง
โดยได้รับความอนุเคราะห์จากประชาชน
2538 เปล่ยี นช่ือหาดจากหาดทรายงามมาเป็นหาดอรุโณทยั
2539 วัดทองตุ่มนอ้ ยไดร้ ับพระราชทานวิสงุ คามสีมา
2540 - โรงเรียนบ้านอ่าวมะม่วงได้รับงบพัฒนาจังหวัด โดย ส.ส. สุวโรช พะลัง ก่อสร้างโรง
อาหารหลงั ใหม่
- บ้านเกาะแก้วไดร้ บั ผลกระทบจากพายุลนิ ดา
2541 สร้างประตทู างเข้าวัดชลธีพฤกษาราม
2542 - โรงอาหารหลังเก่าของโรงเรียนบา้ นอา่ วมะม่วงถูกพายุพดั พงั เสียหาย
- เปดิ อทุ ยานแห่งชาติหมูเ่ กาะชมุ พรในเขตปา่ ชมุ ชนบ้านเกาะแก้ว
2543 ได้รับงบประมาณจากคณะผ้าป่า นำโดย นายวัชระ สุรโคตร ก่อสร้างถนนคอนกรีต
และจัดทำระบบปะปาและระบบไฟฟ้าในโรงเรียนบ้านอ่าวมะมว่ ง
2544 ก่อต้งั เทศบาลตำบลปากตะโก และแยกเปน็ 4 ชมุ ชน
2546 - สร้างสะพานขา้ มแม่น้ำปากตะโก
- คณะผ้าป่านำโดย นายวชั ระ สุรโคตร ไดใ้ ห้งบประมาณเพ่ือจัดซ้ือคอมพิวเตอร์ให้กับ
โรงเรยี นบ้านอา่ วมะมว่ ง
2547 - น้ำมนั แพง ทำให้ชาวบา้ นไมไ่ ด้ออกประมง
- มรี สี อรท์ แห่งแรกของบ้านปากตะโก ช่อื ธูษฏิ า รสี อร์ท
2548 ได้ก่อสร้างป้ายชื่อโรงเรยี นบา้ นอา่ วมะม่วงและก่อสร้างร้ัวทดแทนร้ัวเก่าที่ถกู เวยี นคนื
2550 - กอ่ ตัง้ เปน็ สถานีตำรวจภูธรปากตะโก
- เปิดตลาดนัดหาดอรโุ ณทัย
2552 มีการกอ่ สรา้ งสะพานไม้ เพอื่ ขา้ มไปยังหาดแหลมหิน
2553 มกี ารสร้างพระปิดตารุ่นแรก สรา้ งโดยพ่อทา่ นเลบิ
28
พ.ศ. เหตุการณ์สำคัญ และอน่ื ๆ
2554 - พ่อท่านเลิบมรณภาพ
- ได้รับการยกระดับจากสถานีอนามัยบ้านอ่าวมะม่วงเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตำบลบ้านอา่ วมะมว่ ง
- โรงเรียนบา้ นอา่ วมะมว่ งไดร้ บั งบประมาณจาก ก.ส.ท.ช. จดั สร้างหอ้ ง USO NET
- ก่อตงั้ กลุ่มเพาะเลี้ยงปลากระพง
2555 - รพ.สต.บ้านอ่าวมะม่วง ได้รับงบประมาณค่าเสื่อมฯ จำนวน 900,000 บาทในการ
ปรับปรุงหอ้ งบริการ ห้องรกั ษา
- มีโครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรน้ำบาดาลท่ีได้รบั ความเสียหาย จากอุทกภัยในฤดู
ร้อนพ้นื ที่ภาคใต้ หมทู่ ี่ 3 บา้ นอ่าวมะม่วง
2556 - ก่อตง้ั ธนาคารปู
- สถานอี นามยั ตำบลปากตะโกเปลย่ี นชือ่ เปน็ โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบลปากตะโก
- โครงการ SML หมทู่ ่ี 3 บา้ นอา่ วมะมว่ ง
2557 - มกี ารคน้ พบลกู ปัดโบราณ ทองคำ ต่างหู ถว้ ย และจาน ทีถ่ ำ้ ถ้วยในเขตป่าชุมชน
- รพ.สต.บ้านอ่าวมะม่วง ได้รับงบประมาณทอดผ้าป่าสามัคคี จำนวน 100,000 บาท
ในการปรับปรุงหอ้ งบริการกน้ั กระจกและอลูมเิ นียม
2558 - รพ.สต.บ้านอ่าวมะม่วง ได้รับรางวัลนวัตกรรมทางการบริหารจัดการ กรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสุขจากการใช้ “ท่งุ ตะโกโมเดล”
- ตง้ั กลุ่มจักรสานของหม่ทู ี่ 2
- เปดิ สถานทที่ อ่ งเทย่ี วปา่ ชมุ ชนบ้านเกาะแก้ว
- กอ่ สรา้ งบา้ นพักผสู้ ูงอายุและบา้ นเออ้ื อาทร
- ก่อสรา้ งห้องสมดุ ประชาชน
- ก่อสรา้ งจุดชมวิวและทางเดนิ ชมววิ เรือนไม้
- ก่อสร้างสะพานสริงข้ามคลองปากตะโก
- ก่อสร้างถนนทางเข้าเทศบาล
- สรา้ งถนนเช่ือมเทศบาล-ชพ 4012 ทางหลวง 4096 ม.1
- ซอ่ มแซมปรับปรุงศูนยห์ มู่บ้าน บ้านบางม่วง
- ตั้งกล่มุ จักรสาน
- กอ่ สร้างสนามกฬี าระดบั ตำบล
- รพ.สต.บ้านอ่าวมะม่วง ได้รับรางวัลนวัตกรรมทางการบริหารจัดการ กรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสุขจากการใช้ “ทุ่งตะโกโมเดล”
- ส่งเสรมิ ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน/จัดหาอปุ กรณ์การออกกำลังกาย
- จัดต้ังโครงการผักสวนครัวรวั่ กินได้
- จดั ต้งั จุดตรวจหมบู่ า้ น
- สง่ เสริมอาชีพในหมูบ่ ้าน
- จดั สวัสดิการชุมชน
- สรา้ งแหลงทอ่ งเทย่ี วชายทะเล (แหลมหิน)
- สรา้ งศาลาฐานแปดเหล่ยี มวดั ทองตุ่มน้อย
- เปิดสถานท่ีท่องเท่ยี วปา่ ชุมชนบ้านเกาะแก้ว
29
พ.ศ. เหตุการณ์สำคัญ และอนื่ ๆ
- ปรบั ภมู ิทศั น์บ้านเกาะแก้ว
- ปรับปรุงถนนรอบเขากระทะ
- สร้างหอกระจ่ายข่าวหม่บู ้านเกาะแก้ว
- สรา้ งถนนลกู รังสายเขาครก
- สร้างไฟฟ้าแสงสว่างทท่ี ่าเทยี บเรือ
- ปรับภูมทิ ศั นบ์ า้ นเกาะแก้ว
- ปรบั ปรงุ ถนนรอบเขากระทะ
- สรา้ งหอกระจา่ ยขา่ วหมู่บ้านเกาะแก้ว
- สรา้ งถนนลูกรังสายเขาครก
- เปลีย่ นท่อประปาตลอดสาย
- ซอ่ มแซม ปรับปรงุ ฝายน้ำลน้
- ซ่อมแซม ปรับปรงุ อาคารธนาคารปู
- ก่อสร้างเกาะเทยี มกัน้ คล่นื หมู่บา้ นชาวประมง
- ขุดลอก ฝาย หว้ ย
2559 - ก่อสรา้ งบา้ นพกั ผสู้ งู อายแุ ละบ้านเอ้ืออาทร
- ก่อสร้างหอ้ งสมุดประชาชน
- กอ่ สรา้ งจุดชมวิวและทางเดนิ ชมววิ เรอื นไม้
- กอ่ สร้างสะพานสรงิ ข้ามคลองปากตะโก
- ก่อสร้างถนนทางเขา้ เทสบาล
- สร้างถนนเชือ่ มเทศบาล-ชพ 4012 ทางหลวง 4096 ม.1
- ซ่อมแซมปรบั ปรุงศนู ย์หมบู่ า้ น บ้านบางมว่ ง
- ปรบั ปรงุ ศาลาหม่บู า้ นหนองไม้แก่นที่ทรุดโทรม
- สรา้ งประตูกนั้ นำ้ เค็ม
- กอ่ สร้างป้อมยามหม่บู า้ น
- กองทุนประชารฐั สร้างปัม๊ น้ำมนั หยอดเหรยี ญ หมู่ที่ 3 บ้านอ่าวมะม่วง
- ก่อสร้างถังเกบ็ นำ้ ถังแชมเปญ หมู่ท่ี 3 (พ่อตาหินเสอื )
- จัดต้งั หอ้ งสมุดชมุ ชน
- ปรบั ปรุงถนนทุกสาย
- ขดุ ลอกลำหว้ ยทกุ สาย
- ขดุ ลอกคลองเพอ่ื ทำการประมง
- ปรับปรุงและขดุ ลองฝายไสข้าวแหง้
- ป้ายบอกระยะทางและปา้ ยต่าง ๆ ในชมุ ชน
- ซ่องแซมหรือบูรณะทรพั ย์สนิ ทีเ่ ป็นประโยชน์
- ปรับปรุงถนนให้เปน็ ถนนไร้ฝุน่
- จดั เวรยามประจำหมบู่ ้าน
- ขยายเขตไฟฟา้ ตลอดสายสระนำ้ รัตนโกสัย
- ขุดเจาะบอ่ บาดาล
- ขุดลอกรอ่ งนำ้ การเดินเรือเข้า
30
พ.ศ. เหตุการณ์สำคญั และอนื่ ๆ
2560 กอ่ ตัง้ กลุ่มประมงพื้นบ้าน
- จดั ตั้งกลมุ่ รักษ์สง่ิ แวดลอ้ ม
- สรา้ งและจัดตั้งปะการังน้ำตืน้
- จัดทำการบำบดั นำ้ เสยี ก่อนลงในคลองและทะเลปากตะโก
- จดั ทำป้ายประชาสมั พันธ์ป้ายแนะนำแหล่งทอ่ งเที่ยว
- ปรบั ปรุงไหลท่ างพร้อมสร้างหอนาฬิกา
- ก่อสรา้ งสวนสขุ ภาพ
- ปรบั ภมู ทิ ัศน์ถำ้ ปลา
- เริม่ มกี ารทำโรงเพาะเห็ดฟาง
- โครงการกอ่ สร้างคูระบายน้ำ คสล. รปู ตัวดี
- มีการก่อสรา้ งถนนลกู รงั เขา้ ไปยังหาดแหลมหิน หมู่ท่ี 3
- ปรับปรุงท่อประปาเก่าทีช่ ำรดุ
- จดั ทัศนศึกษาดงู านของชมุ ชนและกลมุ่ อาชพี
- สร้างถนนพรอ้ มครู ะบายนำ้ ซอยปา่ หนิ สวรรค์
- ขดุ เจาแหล่งนำ้ บาดาล
- นายประดษิ ฐ์ แท่นศิลา รบั ตำแหนง่ ผู้ใหญบ่ ้าน
- ก่อสรา้ งท่าเทยี บเรอื พร้อมปรับภูมิทัศน์
2561 - มีโครงการการทอ่ งเทยี่ วเชงิ นวัตวิถบี า้ นปากตะโก
- เปดิ ตลาดนัดซาเล้ง
- หยุดทำจกั รสานของหมู่ท่ี 2
- สร้างศาลากลางน้ำถ้ำปลา
- ก่อสรา้ งศาลาจุดชมววิ
- เริ่มรอื้ ฟื้นประเพณสี วดหาด บ้านเกาะแกว้
- กอ่ ตงั้ การเล้ยี งผึ้งโพรง
2562 - นายประวทิ วงษ์สกลุ รบั ตำแหนง่ ผูใ้ หญบ่ า้ น หมทู่ ่ี 2
- สร้างเข่ือนกันทรายและคลื่นปากร่องนำ้ ตะโก
- มกี ารซ่อมแซมสะพานไม้ หมู่ท่ี 3
- สรา้ งถนนหัวสะท้อน 1 สาย
- เปดิ แปลงสาธติ และศนู ย์การเรียนรู้การเพราะชำกลา้ ไม้ป่าชายเลน
2563 - กรมแรงงานสอนทำแปรรูปอาหารทะเล
- เจาะบ่อบาดาล แก้ปัญหาการขาดแคลนน้ำ
- มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เข้ามาศึกษาพนั ธุ์ไม้ในเขตป่าชมุ ชน
- เกดิ การบกุ รกุ พน้ื ทป่ี ่าชายเลนลกั รอบหาหอยกันพันปจี ากชาวบ้านต่างถ่ิน
2564 - มโี ครงการกอ่ สรา้ งทา่ เรือ
- ปรับปรุงพัฒนาสนามกีฬาในหมู่บ้าน
31
การดำเนินงานโครงการยกระดบั เศรษฐกจิ
และสงั คมรายตำบลแบบบรู ณาการ
การดำเนินงานโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ โครงการน้ี
เป็นโครงการตามแผนการฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมจากผลกระทบของ เกิดการแพร่ระบาดของเชื้อ
ไวรัสโคโรน่า 2019 ของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เพื่อยกระดับ
เศรษฐกิจและสังคมของตำบล และส่งเสริมศักยภาพการพัฒนาตำบลด้วยตนเองอย่างยั่งยืน ซึ่งมี
จุดประสงค์มุ่งเน้นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ (การยกระดับ
สินค้า OTOP/อาชีพอื่น ๆ) การสร้างและพัฒนา Creative Economy (การยกระดับการท่องเที่ยว)
การนำองค์ความรู้ไปช่วยบริการชุมชน (Health Care/เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ) และการส่งเสริมด้าน
ส่งิ แวดลอ้ ม/Circular Economy (การเพ่ิมรายได้หมนุ เวยี นใหแ้ กช่ มุ ชน)
การพัฒนาสัมมาชพี และสรา้ งอาชีพใหม่ (การยกระดบั สินคา้ OTOP/อาชีพอนื่ ๆ)
การพัฒนาสัมมาชีพและการสร้างอาชีพใหม่ เป็นการพัฒนาอาชีพใหม่ในพื้นที่หมู่บ้าน
เป้าหมายให้สามารถอยู่ได้ด้วยตนเอง ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่เบียดเบียนสิ่งแวดล้อม และมีรายได้
มากกว่ารายจ่าย คำนึงถึงความเป็นธรรมทางสังคม สามารถพัฒนาและสร้างอาชีพใหม่ได้โดยการ
นำความรู้ ความเขา้ ใจ และทักษะในการประกอบอาชีพน้ัน ๆ
มาอบรมให้กับประชาชนที่มีความสนใจที่จะมีทักษะในด้าน
การพัฒนาอาชีพได้นำความรู้ ทกั ษะ และรายละเอียดท่ีได้
จากการอบรมไปใช้ในการประกอบอาชีพของตนเองให้เกิด
ความประสบความสำเรจ็ ในอาชีพนั้น ๆ
การสรา้ งและพัฒนา Creative Economy (การยกระดับการทอ่ งเที่ยว)
แนวทางการสร้างและพัฒนาเศรษฐกิจอย่างสร้างสรรค์ ซึ่งมุ่งเน้นการขับเคลื่อนการ
ยกระดับการท่องเที่ยวของชุมชนเป้าหมายให้มีเศรษฐกิจที่ดีขึ้น โดยการนำทักษะมาประยุกต์ให้เกิด
ความสร้างสรรค์ในการหาแนวทางในการยกระดับการท่องเที่ยว เพื่อเพิ่มและส่งเสริมศักยภาพใน
การจัดการการท่องเที่ยวในชุมชนปากตะโกให้นำไปสู่การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และมี
รายไดเ้ ขา้ สชู่ ุมชน
32
การนำองคค์ วามรไู้ ปช่วยบรกิ ารชุมชน (Health Care/เทคโนโลยดี ้านตา่ ง ๆ)
การนำองค์ความรู้ที่มีอยู่มาพัฒนาและกระจายไปสู่ชุมชน เพื่อให้ประชาชนทุกคนสามารถ
นำความร้ทู ่ีได้มาพฒั นาตนเอง รวมถึงการนำเทคโนโลยมี าใชใ้ นการจดั การขอ้ มูลต่าง ๆ เชน่ การทำ
ช่องทางประชาสมั พันธ์ ทำสือ่ ต่าง ๆ ทีเ่ สนอขอ้ มูลเก่ยี วกับ
ชมุ ชน ไมว่ า่ จะเป็น เพจ Facebook เว็บไซต์ของตำบล ซงึ่
การนำเทคโนโลยเี หลา่ น้ีมาใช้รว่ มกับการพฒั นาจะทำให้เกดิ
ประสิทธิภาพ และผลประโยชน์สงู สดุ
การส่งเสรมิ ด้านสง่ิ แวดล้อม/Circular Economy
(การเพม่ิ รายไดห้ มุนเวยี นให้แกช่ ุมชน)
ปัจจุบันมีปัญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในชุมชน การอนุรักษ์และส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อมจึง
มคี วามจำเปน็ เปน็ อยา่ งมาก เพอื่ ให้มีทรัพยากรธรรมชาติที่มีความอุดมสมบูรณ์เป็นท่ีดงึ ดูดนักท่องเที่ยว
นักท่องเที่ยว สร้างจุดเด่นของชุมชนให้น่าสนใจ
ซึ่งจะส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจภายในชุมชน
ก่อให้เกิดระบบเศรษฐกิจแบบหมุนเวียนคือ การ
น ำ เ อ า ท ร ั พ ย า ก ร ท ี ่ ม ี อ ยู่ ใ น ช ุ ม ช น ม า ใ ช ้ ใ ห ้ เ กิ ด
ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ จนครบวงจร
33
อา้ งองิ
งานทะเบียนราษฎรทอ้ งถ่ินเทศบาลตำบลปากตะโก. 2564. ประชากรภายในเขตเทศบาลตำบลปากตะโก.
เทศบาลตำบลปากตะโก. แผนท่ีดาวเทยี ม. [ออนไลน์]. 2559. แหลง่ ที่มา:
http://www.paktako.go.th/detail.php?id=310 [28 พฤศจิกายน 2564]
เทศบาลตำบลปากตะโก. สภาพทวั่ ไป. [ออนไลน์]. 2559. แหลง่ ทมี่ า:
http://www.paktako.go.th/general1.php [17 สงิ หาคม 2564]
แผนชุมชนบางม่วง (พ.ศ.2558–2560). ขอ้ มลู ทว่ั ไปชมุ ชนบางมว่ ง.
แผนชุมชนบ้านกลางตลาด (พ.ศ.2558–2560). ข้อมลู ท่ัวไปชมุ ชนกลางตลาด.
แผนชุมชนบ้านเกาะแกว้ (พ.ศ.2558–2560). ข้อมลู ท่ัวไปของชุมชนเกาะแก้ว.
แผนชมุ ชนบ้านบางรัก (พ.ศ.2558–2560). ข้อมูลท่ัวไปชมุ ชนบางรกั .
แผนชุมชนบา้ นยางนกออก (พ.ศ.2558–2560). ข้อมลู ท่ัวไปชุมชนยางนกออก.
แผนชุมชนบ้านรตั นโกสัย (พ.ศ.2558–2560). ข้อมลู ท่ัวไปของชมุ ชนรัตนโกสยั .
แผนชมุ ชนบา้ นหนองไม้แก่น (พ.ศ.2558–2560). ข้อมลู ทว่ั ไปของชมุ ชนหนองไมแ้ ก่น.
แผนชมุ ชนบ้านอา่ วมะม่วง (พ.ศ.2558–2560). ขอ้ มลู ท่ัวไปของชุมชนอ่าวมะม่วง
แผนพฒั นาท้องถน่ิ ส่ปี ี ปีงบประมาณ พ.ศ.2561–2564. คมนาคม. [ออนไลน]์ . แหล่งทม่ี า:
http://www.paktako.go.th/news/doc_download/a_290318_144746.pdf?fbclid=IwAR2
[19 สงิ หาคม 2564]
แผนพฒั นาท้องถ่ินสป่ี ี ปงี บประมาณ พ.ศ.2561-2564. ความเชื่อ ประเพณี และพิธีกรรม. [ออนไลน์].
แหล่งท่ีมา: http://www.paktako.go.th/news/doc_download/a_290318_144746.
[19 สิงหาคม 2564]
แผนพัฒนาท้องถน่ิ สี่ปี ปงี บประมาณ พ.ศ.2561-2564. โครงสร้างของชมุ ชน. [ออนไลน]์ . แหล่งทมี่ า:
http://www.paktako.go.th/news/doc_download/a_290318_144746.pdf?fbclid=IwAR2
[19 สิงหาคม 2564]
แผนพฒั นาท้องถิน่ สป่ี ี ปีงบประมาณ พ.ศ.2561–2564. ทรัพยากรธรรมชาติ. [ออนไลน์]. แหลง่ ท่มี า:
http://www.paktako.go.th/news/doc_download/a_290318_144746.pdf?fbclid=IwAR2
[19 สงิ หาคม 2564]
สำนักงานจังหวดั ชุมพร. ประวตั ศิ าสตร์ความเป็นมาของทงุ่ ตะโก. [ออนไลน]์ . แหลง่ ทมี่ า:
http://www.chumphon.go.th/2013/page/ampher_thungtako [25 พฤศจิกายน 2564]
สำนักงานจังหวัดชุมพร. ลกั ษณะภูมอิ ากาศ อำเภอทุ่งตะโก. [ออนไลน]์ . แหล่งท่มี า:
http://www.chumphon.go.th/2013/page/ampher_thungtako_2 [25 พฤศจิกายน 2564]
องค์การบริหารส่วนจงั หวดั ชมุ พร. ผลิตภณั ฑ์จากกะลามะพร้าว. [ออนไลน์]. แหลง่ ทมี่ า:
https://www.chppao.go.th/otop/detail/217 [25 พฤศจกิ ายน 2564]
34
เครดิตภาพกราฟกิ ทีใ่ ช้
Pngtree. แหล่งข้อมลู กราฟิกสำหรับดาวนโ์ หลดฟรี. [ออนไลน]์ . แหลง่ ท่ีมา: https://th.pngtree.com/
[27 พฤศจกิ ายน 2564]
กระดาษ PNG ออกแบบโดย 588ku จาก https://th.pngtree.com/freepng/open-stack-of-
books_4680702.html
การเดนิ ทาง PNG ออกแบบโดย CHENXIN จาก
https://th.pngtree.com/freepng/travel_1371015.html
การอบรม PNG ออกแบบโดย 588ku จาก https://th.pngtree.com/freepng/business-
people-meeting-training_4679132.html
คลิปไม้ไผ่ PNG ออกแบบโดย 588ku จาก https://th.pngtree.com/freepng/chinese-style-
bamboo-green-bamboo_4475306.html
คลิปอาร์ต PNG ออกแบบโดย 588ku จาก https://th.pngtree.com/freepng/cartoon-earth-
globe-travel-architecture_896546.html
คอมพิวเตอร์ PNG ออกแบบโดย praying จาก < https://th.pngtree.com/freepng/online-
media-spread-social-business-flattening-map_4830101.html
ฉลามภาพตัดปะ PNG ออกแบบโดย 588ku จาก https://th.pngtree.com/freepng/hand-
painted-cartoon-shark-with-fish_3969434.html
ซอ้ื PNG ออกแบบโดย จาก https://th.pngtree.com/freepng/hand-drawn-
cartoon-e-commerce-takeaway-group-buying-fresh-vegetables-delivery-home-
illustration_5748390.html
เด็ก PNG ออกแบบโดย peterIN จาก https://th.pngtree.com/freepng/people-
nearby_3022099.html
ต้นกระบองเพชร PNG ออกแบบโดย mugiwara จาก
https://th.pngtree.com/freepng/illustration-of-water-tank-and-cactus-
plant_6620082.html
ต้นไม้ภาพตัดปะ PNG ออกแบบโดย จาก https://th.pngtree.com/freepng/hand-
drawn-plant-trees-small-tree_4020206.html
ต้นไมส้ เี ขียวขนาดใหญ่ PNG ออกแบบโดย 588ku จาก
https://th.pngtree.com/freepng/windmill-environmental-protection-and-energy-
saving_4550096.html
ตะกร้า PNG ออกแบบโดย 588ku จาก https://th.pngtree.com/freepng/shopping-basket-
icon_4421869.html
ตะกร้าสนิ ค้า PNG ออกแบบโดย 588ku จาก https://th.pngtree.com/freepng/shopping-
cart_5399025.html
35
เครดิตภาพกราฟิกท่ีใช้ (ต่อ)
เทศกาลลอยกระทง PNG ออกแบบโดย naTTT จาก https://th.pngtree.com/freepng/loy-
krathong-the-lantern-festival_6944948.html
บา้ นภาพตัดปะ PNG ออกแบบโดย จาก https://th.pngtree.com/freepng/mbe-
forest-house-cartoon-building-element_4020188.html
แบน PNG ออกแบบโดย HLM จาก https://th.pngtree.com/freepng/flat-suburban-
forest_4183045.html
ใบไม้ PNG ออกแบบโดย 588ku จาก https://th.pngtree.com/freepng/coconut-juice-and-
coconut-leaf_4446233.html
ปอ้ งกัน PNG ออกแบบโดย จาก https://th.pngtree.com/freepng/protect-
environment_3321641.html
พระบรมมหาราชวัง PNG ออกแบบโดย SJzhouyou จาก
https://th.pngtree.com/freepng/thai-architectural-elements_3687552.html
ภาพตัดปะเศรษฐกจิ PNG ออกแบบโดย จาก
https://th.pngtree.com/freepng/financial-economic-rise-curve_4399400.html
ภเู ขาภาพตัดปะ PNG ออกแบบโดย 588ku จาก
https://th.pngtree.com/freepng/mountain-range-high-mountain-mountain-shape-
mountain-decoration_3823372.html
ภูเขาภาพตัดปะ PNG ออกแบบโดย จาก
https://th.pngtree.com/freepng/green-mountains_4082113.html
แมน่ ำ้ ภาพตัดปะ PNG ออกแบบโดย HLM จาก https://th.pngtree.com/freepng/green-
forest-river-water_4183012.html
ยีราฟ PNG ออกแบบโดย bonezboyz จาก https://th.pngtree.com/freepng/giraffe-
driving-car-giraffe-going-on-holiday-vacation_4795674.html
รูป PNG ออกแบบโดย จาก https://th.pngtree.com/freepng/people-travel-
car-luggage-alpine-dolphin-road_4062842.html
เรือตกปลา PNG ออกแบบโดย จาก https://th.pngtree.com/freepng/original-
fishing-boat-illustration-elements_5750391.html
ฤดูร้อน PNG ออกแบบโดย 588ku จาก https://th.pngtree.com/freepng/summer-food-
coconut-coconut-milk_6716257.html
วัด PNG ออกแบบโดย 588ku จาก https://th.pngtree.com/freepng/flat-wind-japanese-
architecture-temple_5420688.html
36
เครดติ ภาพกราฟกิ ที่ใช้ (ต่อ)
วนั ที่แดดจ้า PNG ออกแบบโดย 588ku จาก https://th.pngtree.com/freepng/flat-sun-
icon-download_4440284.html
เวกเตอร์ PNG ออกแบบโดย Bonbinsky จาก https://th.pngtree.com/freepng/free-png-
vector-diagram-countryside-village_872281.html
เวกเตอร์ PNG ออกแบบโดย greatvector จาก https://th.pngtree.com/freepng/cottage-
home-stay-in-front-of-pine-tree-forest-and-lake-vector-logo-
design_5255987.html
สภาพอากาศเลวร้าย PNG ออกแบบโดย peterIN จาก
https://th.pngtree.com/freepng/vector-weather_3449377.html
สาหร่ายทะเล PNG ออกแบบโดย 588ku จาก
https://th.pngtree.com/freepng/decorative-pattern-cartoon-hand-drawn-
underwater-world-seaweed_3802562.html
ส่งิ ปลกู สรา้ ง PNG ออกแบบโดย SJzhouyou จาก
https://th.pngtree.com/freepng/thailand-holiday-tourism-strategy_3706651.html
สเี ขียว PNG ออกแบบโดย 699pic จาก https://th.pngtree.com/freepng/green-
grass_5643178.html
เสน้ ทาง PNG ออกแบบโดย 588ku จาก https://th.pngtree.com/freepng/travel-
route_5418735.html
เหด็ PNG ออกแบบโดย 588ku จาก
https://th.pngtree.com/freepng/mushroom_2046584.html
ไอคอนเมฆ PNG ออกแบบโดย IYIKON จาก https://th.pngtree.com/freepng/rain-vector-
icon_3742709.html
delicious ingredients PNG ออกแบบโดย 588ku จาก
https://th.pngtree.com/freepng/red-grilled-fish-free-illustration_4490747.html
37
นายชาญณรงค์ วงศ์อุดมโชค คณะผู้จดั ทำ
นางสาวพนิดา เพชรกุล
นางสาวนราภรณ์ เหล่าสุข ประธานตำบลปากตะโก
นางสาวศริ ิรัตน์ ชนะ เลขานุการตำบลปากตะโก
นางสาวอุฤทธ์ิ สรุ ศิ ิริ สมาชิกในตำบลปากตะโก ฝ่ายเรยี บเรยี ง
นางสาวสุธาทิพย์ ตระกูลภักดี สมาชิกในตำบลปากตะโก ฝ่ายถ่ายภาพ
นางสาวกลุ ธดิ า ฉง้ ทับ สมาชิกในตำบลปากตะโก ฝ่ายเน้ือหา
นางสาววชิ ชุพร วนั ทอง สมาชิกในตำบลปากตะโก ฝ่ายตรวจสอบเนื้อหา
นางสาววาสนา โพธ์ลิ ิบ สมาชิกในตำบลปากตะโก ฝ่ายตรวจสอบเนื้อหา
นางสาวมาริสา รตั นวรรณ สมาชิกในตำบลปากตะโก ฝ่ายตรวจสอบเนื้อหา
นางสาวจิราภา เดชวิเศษ สมาชิกในตำบลปากตะโก ฝ่ายตรวจสอบเนื้อหา
นายอุดมศักด์ิ มโนสาร สมาชิกในตำบลปากตะโก ฝ่ายตรวจสอบเนอ้ื หา
นายจักรพรรษา ยุติมิตร สมาชิกในตำบลปากตะโก ฝ่ายตรวจสอบเนื้อหา
นางสาวสวุ รรณี ดวงมะลิ สมาชิกในตำบลปากตะโก ฝ่ายตรวจสอบเนอ้ื หา
นางสาวอจั ฉรา หลวงปราบ สมาชิกในตำบลปากตะโก ฝ่ายตรวจสอบเนอ้ื หา
นางสาวสุธิดา ขุนเปีย สมาชิกในตำบลปากตะโก ฝ่ายตรวจสอบเนอื้ หา
นางสาวณัฐชา รัตนะภกั ดี สมาชิกในตำบลปากตะโก ฝ่ายตรวจสอบเน้ือหา
นางสาวกัญญารัตน์ ศรีภญิ โญ สมาชิกในตำบลปากตะโก ฝ่ายตรวจสอบเนือ้ หา
นางสาวชุลีกร สวคิ ามิน สมาชิกในตำบลปากตะโก ฝ่ายตรวจสอบเนื้อหา
นางสาวอารีวรรณ พรหมหาญ สมาชิกในตำบลปากตะโก ฝ่ายตรวจสอบเนอ้ื หา
นายรุง่ โรจน์ ชวนอยู่ สมาชิกในตำบลปากตะโก ฝ่ายตรวจสอบเนอื้ หา
นางสาวเพญ็ จนั ทร์ สงั ข์ทอง สมาชิกในตำบลปากตะโก ฝ่ายตรวจสอบเนอ้ื หา
นางสาวภมรศรี แช่มชอ้ ย สมาชิกในตำบลปากตะโก ฝ่ายตรวจสอบเนอ้ื หา
นางสาวธดิ ารัตน์ ไชยประดิษฐ์ สมาชิกในตำบลปากตะโก ฝ่ายตรวจสอบเนอ้ื หา
นางสาวสนุ ยี ์รัตน์ เพชรโสม สมาชิกในตำบลปากตะโก ฝ่ายตรวจสอบเนื้อหา
นางสาวศภุ ิสรา แดงขวัญทอง สมาชิกในตำบลปากตะโก ฝ่ายตรวจสอบเนอื้ หา
นางสาวอรชร มณรี ัตน์ สมาชิกในตำบลปากตะโก ฝ่ายตรวจสอบเนอ้ื หา
สมาชิกในตำบลปากตะโก ฝ่ายตรวจสอบเนอ้ื หา
สมาชิกในตำบลปากตะโก ฝ่ายตรวจสอบเน้ือหา
ดร.มิติ เจยี รพันธุ์ อาจารย์ทปี่ รึกษาประจำตำบลปากตะโก
ดร.พลกฤต แสงอาวุธ รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่า
สัมพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ผู้จัดการ
โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล
แบบบูรณาการ ผ้จู ัดการโครงการ
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วัฒนา รตั นพรหม รักษาราชการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุราษฎรธ์ านี