The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by subsombunwittayakhom, 2022-01-21 00:43:05

ภูมิศาสตร์ ม.4-6

การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ

2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6

4.3 ระบบน้าจดื บนโลก สว่ นทเ่ี ปน็

ภาคพนื ทวีปมีระบบน้าจืดอยูบ่ นผวิ ดนิ
ใตด้ ิน และนา้ ที่อยูใ่ นอากาศ
• แหลง่ น้าจืดผวิ ดิน คอื ระบบน้าตาม

ธรรมชาตทิ ี่ไหลตามภมู ิประเทศที่ตา้่ เช่น
ลา้ หว้ ย ลา้ ธาร คลอง แมน่ า้

2 การเปล่ียนแปลงทางกายภาพ ภูมิศาสตร์ ม.4-6

• แหล่งน้าจากหิมะและธารน้าแข็งบนภูเขา
น้าแข็งที่ละลายในฤดูร้อนจะไหลลงมาตามล้าห้วย
ลา้ ธาร และแม่นา้ สายตา่ ง ๆ

• ไอน้าในอากาศ เมฆท่ีจับตัวกันบริเวณยอดเขา
เปล่ียนเปน็ หยดนา้ ไดด้ ้วยการกล่ันตัว

2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

4.4 ระบบน้าใตด้ ิน

2 การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6

4.5 ระบบนา้ เคม็

• น้าเค็มบนพืนโลก คือ น้าในทะเลและมหาสมุทร และในทวีป
ยั ง มี ท ะ เ ล ส า บ น้ า เ ค็ ม เ ช่ น ท ะ เ ล เ ด ด ซี
ทะเลสาบแคสเปยี น ทะเลสาบบลั คัน ทะเลสาบเกรตซอลต์

2 การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

• น้าเค็มเกิดจากการละลายของแร่ สารละลายในน้า ร้อยละ
ที่ เ ป็ น เ ก ลื อ จ า ก เ ป ลื อ ก โ ล ก
บ น ท วี ป แ ล้ ว ไ ห ล ม า ส ะ ส ม คลอไรด์ (Cl-) 54.3%
ใ น ท ะ เ ล แ ล ะ ม ห า ส มุ ท ร
สารละลายในน้าทะเล โซเดียม (Na+) 30.2%

ซลั เฟต (So++) 7.6%

แมกนเี ซียม (Mg++) 3.7%

แคลเซยี ม (Ca++) 1.2%

โปแตสเซียม (K+) 1.1%

ประจอุ น่ื ๆ 1.9%

2 การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ ภูมิศาสตร์ ม.4-6

ระบบหมุนเวยี น
ของน้าในมหาสมทุ ร

2 การเปล่ียนแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

5. ชวี ภาค (biosphere)

พืนที่บริเวณต่าง ๆ ในโลกท่ีมีสภาพแวดล้อมทางภูมิประเทศ ภูมิอากาศคล้ายคลึงกัน มักมีลักษณะ
ทางชวี นิเวศเหมือนกัน ความสัมพันธ์ การพงึ่ พาอาศัยซ่ึงกันและกันของส่ิงมีชีวิตทังพืชและสัตว์ เป็น
ระบบการอยรู่ ่วมกันอยา่ งสลับซับซ้อนของสิ่งมชี ีวติ เรยี กวา่ ระบบชวี นเิ วศ (biome)

2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6

เขตชวี นิเวศ ลักษณะ บริเวณทพ่ี บ

1. ป่าฝนเขตรอ้ น หรอื มีความหลากหลายของพืชพรรณ อยใู่ นเขตภมู ิอากาศแบบ
ป่าดิบชนื ทงั ชนิด ปริมาณ ขนาด และ ร้อนชืนแถบศูนยส์ ูตรแบบ
(tropical rainforest) ระดับสงู พนั ธไุ์ มท้ ี่พบส่วนใหญ่ Af, Am
เปน็ ไม้วงศ์ยางตะเคยี น มีจุลินทรีย์
ในดินสูง สตั ว์ปา่ เช่น เสือ ชา้ ง ลิง

2. ปา่ ดิบแล้งเขตรอ้ น มคี วามหลากหลายทางชีวภาพสูง อยู่ในเขตภูมิอากาศรอ้ น
(tropical dryforest)
บางครงั ในเขตป่าดิบชืนดา้ น อับลม แหง้ แบบ Aw ท่ีมฤี ดูแล้ง

จะมีปา่ ดบิ แล้งแทรกอยู่บนไหลเ่ ขา ชัดเจน กระจายอยู่ในเขต

พันธไุ์ มท้ ี่พบ เชน่ ยางแดง รอ้ นและค่อนไปทางก่ึงเขต

มะค่าโมง สัตว์ป่าเปน็ สตั ว์ รอ้ นของทุกทวปี

ชนิดเดยี วกบั ป่าฝนเขตรอ้ น

2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6

เขตชีวนเิ วศ ลกั ษณะ บรเิ วณทพ่ี บ

3. ปา่ ผลัดใบ มีพชื พรรณหลากหลายชนิดมี แถบยุโรปตะวนั ตก
เขตอบอนุ่ พนั ธไ์ุ ม้ทกุ ระดับชนั ตงั แต่ ไม้เตีย ยุโรปกลาง ตะวนั ออกของ
(temperate ไม้พุม่ ไมร้ ะดับกลาง และไม้ใหญ่ อเมรกิ าเหนือ ตะวนั ออก
deciduous forest) ระดับสงู เชน่ สน เมเปิล สตั วป์ า่ ของจนี
เช่น กวาง สนุ ัขจงิ จอก กระต่าย

4. ปา่ ฝนเขตอบอุน่ ลกั ษณะพืชพรรณเป็นแบบผสม อยู่ในเขตภูมิอากาศแบบ
(temperate
rainforest) ระหว่างป่าผลัดใบเขตอบอุน่ อบอุ่น แตป่ รมิ าณ ฝน

กับปา่ ฝน พันธไุ์ ม้ท่ีพบ เชน่ ยคู า สูงกวา่ เชน่ ทางตะวันออก

ลิปตสั วอลนทั เมเปลิ สตั ว์ปา่ เช่น ของทวปี ออสเตรเลีย

กระรอก กระตา่ ย กวาง ทางใต้ของญี่ปุน่

แหลมฟลอรดิ า

และทางตะวนั ออก

ของอเมรกิ าใต้

2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

เขตชวี นเิ วศ ลักษณะ บริเวณทีพ่ บ

5.ทุ่งหญา้ สะวันนา พชื พรรณเปน็ ท่งุ หญ้าสลบั ปา่ โปร่ง กระจายอยใู่ นเขต
(savanna tropical มไี มพ้ ่มุ และไม้ยนื ตน้ ระดบั สงู กึ่งแห้งแล้งของแอฟริกา
grassland) แทรกสลบั สตั วป์ า่ เชน่ สิงโต เสือ คาบสมุทรเดกกนั
ดาว ฮิปโปโปเตมัส แรด ช้าง คาบสมุทรอินโดจีน
ประเทศบราซลิ และ
เวเนซเุ อลา

6. ทงุ่ หญา้ เขต พืชพรรณส่วนใหญ่เป็นทงุ่ หญ้า ตอนกลางของทวีป
อบอ่นุ ไมม่ ตี ้นไม้เหมือนทงุ่ หญ้าเขตร้อน อเมริกาเหนือ ตอนกลาง
(temperate พนื ท่ที ุ่งหญา้ มกั มดี นิ อุดมสมบูรณ์ ของทวีปเอเชยี และ
grassland) สัตวป์ า่ เชน่ กวาง นก แมลง ออสเตรเลีย

2 การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

เขตชีวนเิ วศ ลักษณะ บรเิ วณท่ีพบ

7. พชื พรรณแบบ พืชพรรณสว่ นใหญเ่ ป็นปา่ ไม้ พบบรเิ วณทะเล
เมดเิ ตอรเ์ รเนียน พุ่มเตยี และมไี มย้ ืนตน้ แทรกสลับ เมดเิ ตอรเ์ รเนยี นและ
หรอื ปา่ แคระ เชน่ ไมโ้ อ๊ก ไม้มะฮอกกะนี ตอนเหนือของแอฟริกา
(chaparral หรือ ไมม้ ะกอก สตั วป์ ่า เช่น กวาง เขตนมี ีฝนตกในฤดูหนาว
scrub) กระตา่ ย นก และอยูไ่ ม่ไกลจากทะเล

8. พชื พรรณ พืชพรรณที่พบเปน็ พืชทนแล้ง เช่น พบบรเิ วณทะเลทรายทมี่ ี
ทะเลทราย
(tropical and ตะบองเพชร ไม้หนาม ต้นปาล์ม น้าซมึ ออกมา เช่น บริเวณ
temperate desert)
ไมพ้ ุม่ ทุ่งหญ้า สัตวป์ ่า เช่น งู โอเอซสิ หรือบรเิ วณที่มี

แมงป่อง อฐู แมลงต่าง ๆ ทางน้าใตด้ นิ

2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ภูมศิ าสตร์ ม.4-6

เขตชีวนเิ วศ ลกั ษณะ บรเิ วณทีพ่ บ

9. พืชพรรณ พืชพรรณสว่ นใหญ่เปน็ ไมส้ น ยโุ รปเหนอื ผ่านรสั เซยี จนถงึ
เขตหนาวหรอื ปา่ ไทกา จึงเรียกปา่ สนเขตไทกา สตั ว์ปา่ ไซบเี รียและคาบสมทุ รคมั ชัตคา
(boreal rainforest) เชน่ หมี กวาง สุนัขจงิ จอก ในทวีปอเมรกิ าเหนอื พบใน
แคนาดา และบางส่วนใน
อะแลสกา เกาะใตข้ องประเทศ
นิวซแี ลนด์และบริเวณ ปลาย
แหลมของทวปี อเมริกาใต้

10. พืชพรรณ ส่วนใหญเ่ ป็นพชื ขนาดเล็ก เชน่ อยู่ในเขตภมู ิอากาศแบบ ET ที่มี
แบบทนุ ดรา มอสส์ ไลเคน หญ้า ไมพ้ ุ่ม อากาศหนาวเยน็ แบบกง่ึ ขัวโลก
(tundra) ขนาดเลก็ สตั วป์ ่าท่พี บในเขต และขัวโลก ในดนิ มชี ันเยอื กแข็ง
ขัวโลก เชน่ กวางเรนเดยี ร์ ของนา้ ในดิน
แมวนา้ เพนกวิน

2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

1. การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่สง่ ผลตอ่ ภูมปิ ระเทศ

1.1 กระบวนการน้าบนพ้ืนผวิ ดินกบั ลักษณะภูมปิ ระเทศ

2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ภูมิศาสตร์ ม.4-6

1) ภมู ิประเทศทเี่ กิดจากการกร่อนโดยน้าที่สาคัญ มีดงั น้ี

ลาธาร (stream)

ภูมิประเทศทเี่ ปน็ เสน้ ทางนา้ ไหล เป็นชว่ งหนงึ่ ของล้าน้าทต่ี อ่ มาจาก
ลา้ ห้วย

แกง่ (rapids)

ภมู ปิ ระเทศท่อี ยใู่ นรอ่ งน้าระดบั ต่างๆ สว่ นใหญ่เปน็
โขดหินทแ่ี ข็งไม่ถูกเซาะไดง้ ่าย เช่น หินทราย หินอคั นีบางชนดิ

น้าตก (waterfall)
ภูมปิ ระเทศทีเ่ กิดจากความตา่ งระดบั ในเสน้ ทางน้าหรอื

ร่องน้า ทา้ ใหส้ ายนา้ ไหลตกในแนวตงั ฉากหรอื ลาดเอียงตามลกั ษณะ
ทางน้าที่ตา่ งระดบั กนั

2 การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

โกรกธาร (gorge)

ภมู ิประเทศหุบผาลึกชัน มีหนา้ ผาชันอย่ทู ังสองฝงั่ ของหุบ ดา้ นล่างมกั มี
ธารนา้ ไหล

กมุ ภลักษณ์ (pothole)
ภูมิประเทศทเ่ี ปน็ บ่อกลมรูปหมอ้ เกิดที่ท้องนา้

2 การเปล่ียนแปลงทางกายภาพ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6

2) ภมู ิประเทศที่เกดิ จากการทบั ถมโดยนา้ ทส่ี าคัญ
มดี งั น้ี

เนินตะกอนรปู พดั (alluvial fan)
เป็นเนนิ ตะกอนทนี่ ้าพัดพามาจากหบุ เขา
ลาดชนั เมือ่ ถงึ บรเิ วณทร่ี าบหรอื ท่ีลาด ลา้ นา้ จะ
แผ่กว้างกระจายออกเปน็ รปู พัด ท้าใหค้ วามแรงของ
น้าลดลง และทงิ ตะกอนไว้บรเิ วณปากทางหบุ เขา

2 การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพ ภูมศิ าสตร์ ม.4-6

คันดินธรรมชาติ (natural levee)

เป็นภมู ิประเทศทเ่ี กิดจากการทบั ถมของตะกอน
ลา้ น้าทที่ บั ถมบรเิ วณริมฝัง่ ตามความยาว
ของล้าน้าทงั สองฝั่ง

ทร่ี าบน้าท่วมถงึ (flood plain)

เป็นภูมิประเทศพืนที่ราบท่ีเกิดจากตะกอนแมน่ า้
นา้ มาทบั ถมเมอ่ื นา้ หลากและทว่ มลน้ ฝัง่

ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่นา้ (river delta)

ดนิ ดอนบริเวณปากแม่น้า เกดิ ขนึ จากการทแ่ี มน่ า้ และสาขานอ้ ยใหญ่ท่ีกระจายออก
ตรงปากแม่นา้ พาตะกอนมาทบั ถม ท้าใหเ้ กิดสนั ดอนกลางน้า

2 การเปล่ียนแปลงทางกายภาพ ภูมศิ าสตร์ ม.4-6
1.2 กระบวนการของนา้ ใต้ดินกับลักษณะภมู ปิ ระเทศ

2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

1) ภมู ิประเทศท่ีเกิดจากการกรอ่ นโดยนา้ ใต้ดนิ ทีส่ าคัญ มดี ังนี้

ถา้ (cave)

ภมู ิประเทศท่ีเปน็ โพรงขนาดใหญ่ ลกึ เข้าไปในพืนดินหรอื ภูเขา สว่ นใหญ่เกิดในหินปนู

หลมุ ยบุ (sinkhole)
สว่ นใหญเ่ กดิ จากการละลายของหนิ ท่อี ย่ดู า้ นล่าง แล้วถูกนา้ ใต้ดนิ พาตะกอนออกไป พนื ดินด้านบน
จึงยบุ ลงเปน็ หลมุ ใหญ่

คาสต์ (karst topography)
ลักษณะภมู ปิ ระเทศในพนื ท่ที ่ีมีหินปนู ทีถ่ กู ชะลา้ งสลายเนอื หนิ ออกไปจนเหลือแตซ่ าก

หนิ ปนู รปู แบบตา่ ง ๆ มากมาย

2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6

2) ภมู ปิ ระเทศท่เี กดิ จากการทบั ถมโดยนา้ ใต้ดนิ ท่ีสาคัญ
มดี ังนี้
สิ่งทบั ถมในถา้

หนิ ยอ้ ย คือ ส่วนท่ีพอกพนู จากน้า คารบ์ อเนตทย่ี อ้ ยลงมาจาก
เพดานถ้า แลว้ จับตวั

หนิ งอก คอื ส่วนทพ่ี อกพูนจากนา้ คาร์บอเนตทีร่ ับนา้ หยดลง
มาจากหินย้อย แล้วพอกพนู ที่พนื ถ้าเปน็ แทง่ เสาหนิ ย่นื ขนึ
จากพืนถ้า

2 การเปล่ียนแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

1.3 กระบวนการของคลน่ื กบั ลักษณะภูมิประเทศชายฝง่ั

ชายฝง่ั ทะเลสามารถจ้าแนกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 2 ประเภท คือ ชายฝงั่ ยกตวั (emergence
coastline) และชายฝ่งั จมตวั (submergence coastline) ลักษณะของชายฝัง่ จะอย่ทู ่ีระดับนา้ ทะเลกับ
ลกั ษณะของชายฝง่ั ประกอบกัน การยกตวั ของชายฝั่งเกิดได้จากการทแ่ี ผ่นเปลือกโลกยกตวั สูงขึนหรอื
ระดบั น้าทะเลลดลง ชายฝงั่ จมตวั เกดิ ไดจ้ ากการทแ่ี ผ่นเปลอื กโลกทรุดตวั หรอื ระดับนา้ ทะเลเพิ่มขนึ

2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ภูมศิ าสตร์ ม.4-6

1) ภมู ปิ ระเทศทีเ่ กิดจากการกร่อนโดยคล่นื ท่ีสาคัญ มดี งั นี้

หนา้ ผาชนั ชายฝ่ัง (sea cliff)

เกดิ จากคลื่นชายฝ่ังทะเลกดั เซาะใหห้ นิ ชายฝงั่ พงั ทลายลงมา
จนเป็นหนา้ ผา

ซุม้ หนิ ชายฝ่งั (sea arch)
เปน็ โพรงหินหัวแหลมทะลถุ ึงกัน

เกาะหินโด่ง (stack)
เปน็ เกาะหนิ โดดที่อยูใ่ กล้ชายฝัง่ ท่ีมหี น้าผาหนิ มาก ๆ

2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ภูมศิ าสตร์ ม.4-6

2) ภมู ิประเทศทเี่ กดิ จากการทบั ถมโดยคลน่ื ทีส่ าคัญ มดี ังนี้

สนั ดอน (bar)

เนนิ ท่เี กิดจากกระแสนา้ ชายฝงั่ หรือคลน่ื พดั พาตะกอนมาทบั ถม

หาด (beach)
เกิดจากการท่คี ล่นื พดั พาตะกอนไปทับถม หาดทเ่ี ปน็
ตะกอนทรายเรยี กว่า หาดทราย หาดทีม่ กี อ้ นกรวดเรียกวา่
หาดหิน หาดท่ีมดี นิ โคลนเรียกว่า หาดเลน

ลากูน (lagoon)
แอง่ น้าเคม็ ทีม่ ลี ักษณะแคบตนื

ชะวากทะเล (estuary)
ภมู ปิ ระเทศชายฝั่งทะเลทเ่ี ว้าเป็นช่องเขา้ ไปยงั ปากแม่น้า

2 การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6

1.4 กระบวนการของลมกับลกั ษณะภมู ิประเทศ
ในเขตทะเลทรายของโลกมีตัวการส้าคัญที่ปรับระดับเปลือกโลก คือ ลม ความรุนแรงของลมใน

ทะเลทรายสามารถสรา้ งและเปลี่ยนแปลงภูมิประเทศได้หลายรูปแบบ การปรับระดับเปลือกโลกในทะเลทราย
มีทงั การกรอ่ นและการทบั ถม

ภูมิประเทศที่เกิดจากการกร่อนโดยลมอาจไม่ได้เกิดขึนจากลมโดยตรง แต่ลมสามารถพัดพา
เม็ดทราย กรวดหินก้อนเล็ก ๆ ให้กลิง ขีดข่วน ขัดสี ขัดเกลาสิ่งขวางกันหรือพืนลานหินให้เป็นร่องรอยและ
เปลยี่ นรปู ร่างได้

ในเขตทะเลทรายจะมีลมพัดแรง บางครังเกิดเป็นพายุทราย (sand storm) โดยพายุทรายสามารถ
หอบทรายและฝุน่ ละอองไปได้ไกล และทบั ถมเกิดเปน็ ภมู ิประเทศแบบตา่ ง ๆ

2 การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

1) ภมู ปิ ระเทศที่เกิดจากการกร่อนโดยลมท่สี าคญั มีดงั นี้

เสาหนิ (pedestal rock)

เกดิ จากกระบวนการพัดกราดของลมในทะเลทราย

ดาดกรวดทะเลทราย (desert pavement)

เกิดจากลมพัดพาเอาเม็ดทรายออกไป

แอ่งลมหอบ (blowout)

ภูมิประเทศถูกลมพดั พาทา้ ใหม้ ลี ักษณะพืนผวิ เป็นหลมุ เปน็ บ่อ

ลาดเชิงเขาสกึ กร่อน (pediment)
เกดิ การเซาะกรอ่ นโดยลมหรือน้าในบางเวลา

2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6

2) ภมู ิประเทศท่เี กดิ จากการทับถมโดยลม
เนินทราย (sand dune)
ภมู ปิ ระเทศในทะเลทรายทเ่ี กิดจากการทบั ถม
ของตะกอนทรายท่ีลมพัดพามา

ดินลมหอบ (loess)
ภูมปิ ระเทศทเี่ กดิ จากการทับถมของตะกอน
ทรายแป้งทลี่ มพดั พามาไม่มลี กั ษณะเป็น
ชันไม่จับตัวแข็ง ส่วนใหญถ่ ูกพัดพามา
จากทะเลทราย

2 การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

1.5 กระบวนการของธารนา้ แขง็ กับลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ

2 การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ ภูมิศาสตร์ ม.4-6

1) ภูมปิ ระเทศที่เกดิ จากการกร่อนโดยธารนา้ แข็งทสี่ าคัญมีดงั น้ี

หุบเขาธารน้าแขง็ เซิร์ก (cirque)

สันเขาอาแรต (arête)

ยอดเขาพรี ะมดิ (horn)

แอ่งน้าบนเขา (tarn)

2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ภูมศิ าสตร์ ม.4-6

2) ภูมปิ ระเทศทีเ่ กดิ จากการทบั ถมโดยธารนา้ แข็งท่สี าคญั มีดังนี้

• เนินเคม (kame)

• หลุมธารน้าแขง็ (kettle)

• ตะกอนธารน้าแขง็ ไม่แสดงชนั้ (till)

• ทะเลสาบธารนา้ แข็ง (glacial lake)

2 การเปล่ียนแปลงทางกายภาพ ภูมิศาสตร์ ม.4-6

2. การเปล่ียนแปลงทางกายภาพท่ีสง่ ผลตอ่ ภูมิอากาศ

2.1 ปจั จยั ท่มี ีอิทธพิ ลตอ่ การเปล่ยี นแปลงภูมอิ ากาศ

1) การผนั แปรของพลงั สุรยิ ะ ดวงอาทติ ย์เปน็ ต้นก้าเนิดพลงั ความร้อนทบ่ี รรยากาศโลกไดร้ ับ
ดวงอาทติ ย์แผ่รงั สคี ลนื่ สันผา่ นบรรยากาศโลก บรรยากาศดดู ซับไวส้ ่วนหนึง่ โลกแผ่รังสีคลนื่ ยาวให้
บรรยากาศโลก บรรยากาศดูดซบั ไวส้ ่วนหนึ่ง อุณหภูมิของบรรยากาศโลกจึงผนั แปรไปตามการแผ่รังสี
ของดวงอาทิตยแ์ ละโลก

2 การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพ ภูมิศาสตร์ ม.4-6

1) การผันแปรของพลังสรุ ิยะ

2 การเปล่ียนแปลงทางกายภาพ ภูมิศาสตร์ ม.4-6
2) การผันแปรวงโคจรของโลก

2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ภูมศิ าสตร์ ม.4-6

3) การผันแปรของแก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศ
แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์และแก๊สมีเทนเปน็ แก๊สเรือนกระจกหลักท่ีมี
การเปลย่ี นแปลงเพิ่มขึนและลดลงตามกระบวนการธรรมชาตอิ ย่าง
ตอ่ เน่ืองเปน็ ลา้ ดับ ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของภูมอิ ากาศโลกในอดตี
(หรอื ภมู อิ ากาศบรรพกาล)

4) การผันแปรจากการปะทุของภูเขาไฟ การปะทุของภเู ขาไฟที่รุนแรง
ในแต่ละครังบนโลกไดพ้ น่ เถ้าถ่านฝุน่ ละอองภูเขาไฟเข้าไปสบู่ รรยากาศ
และแผก่ ว้างไปตามกระแสลม ฝุ่นละอองเหล่านไี ดบ้ ดบังพลังงานจาก
ดวงอาทติ ยเ์ ป็นเวลานาน อนั เปน็ เหตุให้อุณหภูมขิ องบรรยากาศโลก
ลดลง

2 การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6
2.2 ประเภทภูมิอากาศ

การจ้าแนกเขตภมู อิ ากาศโลก นยิ มใชเ้ กณฑก์ ารจา้ แนกของเคปเพนิ (Köppen Climate Classification
System) เกณฑ์ส้าคญั ที่ใชจ้ ้าแนก ได้แก่ อณุ หภูมิ ความชืน และเวลา จ้าแนกออกเปน็ 5 เขตหลักสา้ คัญ
และเขตย่อย ดงั นี

2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6

3. การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพท่สี ่งผลตอ่
ทรพั ยากรธรรมชาติ

3.1 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพทีส่ ่งผลต่อทรัพยากรดิน

ดนิ เปน็ มวลรวมของวัตถขุ นาดเลก็ ที่ย่อยสลายจากวตั ถปุ ระกอบโลก ดินประกอบดว้ ย มวลวัตถทุ ี่
เปน็ อนินทรยี สาร อนิ ทรยี สาร นา้ และอากาศ ดังนัน ส่วนผสมในดินเปน็ สว่ นผสมท่แี ปรเปลยี่ นไปตามสภาพ
ปจั จยั ท่ีเป็นองค์ประกอบของดนิ เม่อื สภาพปัจจัยในการก่อเกิดดินเปลย่ี นจะทา้ ให้กระบวนการเกดิ และสรา้ งดิน
ปรับเปลย่ี นไปดว้ ย ปจั จัยสา้ คัญทคี่ วบคุมการกา้ เนดิ ดนิ คอื วตั ถุต้นกา้ เนิดดนิ ภูมปิ ระเทศ ภูมิอากาศ
อนิ ทรยี วัตถุ และเวลา

1) วัตถุตน้ กาเนดิ ดินท่สี ่งผลตอ่ ทรัพยากรดนิ

วตั ถตุ น้ กา้ เนิดดิน คือ หนิ ดินดาน หนิ ทราย หินปนู หินแกรนติ หินบะซอลต์ เมื่อสลายตวั จึงเกิดเป็นดิน
ที่มลี กั ษณะแตกต่างกัน

2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

2 การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ ภูมศิ าสตร์ ม.4-6

2) ภูมปิ ระเทศท่ีส่งผลตอ่ ทรพั ยากรดิน

• ทร่ี าบ มกั เป็นทีส่ ะสมของตะกอนอนิ ทรียวตั ถุและความชืน จึงพัฒนาชันดนิ บน คอื ชนั O และ A
ไดห้ นา

• ทเี่ นิน โคก โนน เปน็ ภมู ิประเทศท่สี งู การซึมซาบและการชะล้างของน้าผวิ ดินเกิดขนึ ได้งา่ ย จึงมกี าร
สะสมอนุภาคละเอยี ดในชันดินล่าง

• ท่ีลาดเชงิ เขา มักเปน็ ดินตืน มชี ันดนิ ไม่ครบ หรือมีการสูญเสียหน้าดนิ ได้ง่าย จงึ มักจะมีชนั A และ C
• ทส่ี ูงภเู ขา ดินไมม่ โี อกาสพัฒนาชันดนิ มากนัก
• ที่ราบสูง ถงึ แมจ้ ะมีระดบั สูง แต่เป็นทร่ี าบ การพัฒนาของดินจึงเกิดขึนได้ ดินมที กุ ระดับชัน

2 การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

3) ภมู ิอากาศท่สี ่งผลตอ่ ทรัพยากรดนิ

• เขตฝนชกุ และอณุ หภูมิสงู เชน่ เขตร้อน การผุสลายของหนิ และแร่มมี าก ท้าใหม้ ีชนั วตั ถตุ ้น
กา้ เนดิ ดินหนาสามารถพฒั นาดนิ ไดม้ าก

• ในเขตฝนแล้ง อุณหภูมสิ งู คอื เขตแห้งแลง้ การระเหยมีมาก จึงมักมีชันเกลอื เขา้ มาแทรกชันอยู่
เป็นผลทา้ ให้ดินเค็มได้

• ในเขตหนาว ความช้ืนสูง มกั มชี นั น้าแข็งอยูใ่ ตด้ ิน เม่ือหนา้ รอ้ นนา้ แข็งละลาย หน้าดนิ จะถกู พา
เคลื่อนที่ไปกับน้า ท้าใหเ้ กิดการสญู เสียหนา้ ดนิ

• ในเขตท่ีมฤี ดแู ลง้ สลบั ฤดฝู น จะมกี ารพฒั นาชันดานในชันดนิ ลา่ ง โดยเฉพาะบรเิ วณท่ีดอน เช่น
มีชันดานเหลก็
ดานดินเหนียว ดานปนู เกดิ ขึนแทรกอยู่ในชันดินลา่ ง

2 การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6

4) อนิ ทรียวตั ถทุ ่ีสง่ ผลตอ่ ทรัพยากรดิน

• อินทรียวัตถุเป็นส่วนประกอบของดิน แต่ละภูมิอากาศจะมีอินทรียวัตถุแตกต่างกัน พืนท่ีท่ีมี
อินทรียวัตถุสูงแต่สูญสลายช้า เช่น ในเขตอบอุ่นจะท้าให้ดินอุดมสมบูรณ์ ส่วนสัตว์นันจะ
เป็นตวั การชว่ ยสร้างดิน โดยพวกจุลชีพทังหลายและสัตว์เลือยคลานบางชนิด เช่น ไส้เดือน มอด
ปลวก มด แมลงบางชนิดจะช่วยผสมคลุกเคล้าดิน ดังนันดินที่มีซากอินทรียวัตถุมากน้อยต่างกัน
จะท้าใหด้ ินต่างกนั

2 การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ ภูมิศาสตร์ ม.4-6

5) เวลาท่ีสง่ ผลต่อทรัพยากรดิน

• ระยะท่ี 1 เปน็ ระยะที่มีวตั ถุตน้ ก้าเนดิ ดิน ซึ่งอาจเป็นวัสดุท่ผี พุ งั อยกู่ บั ท่ี หรือเปน็ วัสดทุ ่ีถูกพัดพามา คือ ชัน C
• ระยะท่ี 2 เปน็ การพฒั นาชันดินบน โดยมกี ารย่อยสลายของซากพืช ซากสัตว์ ท้าใหม้ ฮี ิวมัสอยมู่ าก ประกอบด้วย

อินทรยี วัตถุเปน็ สว่ นใหญ่ และคลุกเคล้าชันดนิ บนเป็นชนั O
• ระยะที่ 3 เป็นระยะทกี่ ระบวนการทางดินด้าเนินการสรา้ งชันดนิ ล่างด้วยกระบวนการ ชะซมึ อนุภาคเข้ามาสะสม

หรอื ชะล้างออกไป ทา้ ให้ชัน C บางส่วนเปล่ยี นไปเปน็ ชัน B และชนั ดินบนคลุกเคลา้ อินทรียวัตถุเป็นชนั A

2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ภูมศิ าสตร์ ม.4-6

3.2 การเปล่ียนแปลงทางกายภาพทีส่ ่งผลตอ่ ทรัพยากรนา้

1) เกิดน้าแขง็ ละลายทข่ี ้ัวโลกและยอดเขา

• แหล่งนา้ บนผิวโลกที่อย่ใู นรปู ของธารน้าแขง็ ทข่ี ัวโลกและยอดเขาสูง เม่อื อุณหภูมขิ องบรรยากาศสูงขึนเปน็ ผลทา้ ให้
ธารน้าแขง็ ละลาย การท่ธี ารน้าแข็งละลายเปน็ การเปลี่ยนสถานะของน้า จากของแขง็ เปน็ ของเหลว และส่วนหน่งึ เมือ่
ละลายจะไหลเป็นทางน้าสู่ล้าห้วย ล้าคลอง และแมน่ า้ แล้วระเหยส่อู ากาศไปอยใู่ นรูปของไอนา้ และกอ้ นเมฆ
อกี ส่วนหน่งึ ไหลลงสูท่ ะเล ทา้ ใหร้ ะดบั นา้ ทะเลเพม่ิ ขึน

2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ภูมศิ าสตร์ ม.4-6

2) เกดิ สภาวะฝนตกหนักในบางพ้นื ที่

• ผลจากอณุ หภูมิของบรรยากาศสูง การระเหยคายนา้ จากพนื ผิวโลกเปน็ ไปในอตั ราที่สูง ท้าให้การสะสมไอน้าใน
บรรยากาศมีมาก เมอ่ื ไอน้าสะสมในบรรยากาศมากขนึ ท้าใหเ้ กดิ สภาวะฝนตกมากในบางพนื ที่ และเกิดสภาวะ
แห้งแล้งในบางพืนที่ เช่น การเกิดสภาวะปรากฏการณ์เอลนโิ ญ (El Niño) การเกิดปรากฏการณ์ลานญี า
(La Niña)

2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6

3.3 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพท่สี ง่ ผลตอ่ พืชพรรณธรรมชาติ

1) การเปลี่ยนแปลงแทนท่ี การเปลยี่ นแปลงแทนท่ที ี่สาคญั มี 2 ระบบ คือ
1. การเปลย่ี นแปลงแทนท่ีข้นั ปฐมภูมิ (primary succession)


Click to View FlipBook Version