The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by subsombunwittayakhom, 2022-01-21 00:43:05

ภูมิศาสตร์ ม.4-6

การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ

ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

2 การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ

ลกั ษณะทางกายภาพและการ การ การเปล่ียนแปลงทางกายภาพท่ี
เปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลก เปลีย่ นแปลง ส่งผลตอ่ ภมู ปิ ระเทศ ภมู ิอากาศ
ทางกายภาพ
โลกและสัณฐานของโลก และทรพั ยากรธรรมชาติ
ธรณภี าค
การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพที่
บรรยากาศภาค สง่ ผลตอ่ ภมู ปิ ระเทศ
อุทกภาค
ชีวภาค การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพท่ี
ส่งผลต่อภมู ิอากาศ

การเปล่ียนแปลงทางกายภาพที่
ส่งผลตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาติ

2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

12,714 กโิ ลเมตร

1. โลกและสัณฐานของโลก 12,757 กิโลเมตร
โลกเป็นดาวเคราะหใ์ นระบบสรุ ยิ ะ

หมนุ รอบตัวเองและโคจรรอบดวงอาทิตย์ สัณฐาน
ของโลกเปน็ ทรงกลมรี มบี รรยากาศหอ่ หมุ้ มนี ้าบน
ผิวโลก มคี วามชืนและแกส๊ ต่างๆ ในชนั บรรยากาศ
รวมทงั มีสิง่ มชี ีวติ อาศัยอยู่

2 การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6

ระบบโลก ชีวภาค
ธรณภี าค บรรยากาศภาค อทุ กภาค

2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ภูมศิ าสตร์ ม.4-6

2. ธรณภี าค

2 การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

2. ธรณีภาค 2) การแบ่งตามคุณสมบตั เิ ชิงกล
แบ่งเปน็ 5 ชั้น ไดแ้ ก่
2.1 โครงสร้างของโลก แผน่ ธรณภี าค (หินแขง็ ) และฐานธรณีภาค คือ
เนอื โลกตอนบน เนอื โลกตอนล่าง แก่นโลก
การแบง่ ชันโครงสรา้ งภายในโลก แบง่ ได้ 2 แบบ ดงั นี ชันนอก และแกน่ โลกชันใน

1) การแบ่งตามองคป์ ระกอบทางเคมี
แบง่ เปน็ 3 ชน้ั ได้แก่

ชันเปลือกโลก (crust)
ชนั เนือโลก (mantle)
ชันแก่นโลก (core)

2 การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพ ภูมศิ าสตร์ ม.4-6

1) ชั้นเปลือกโลก
 เปลือกโลกประกอบดว้ ย เปลือกโลกส่วนที่เป็นภาคพนื ทวปี

และเปลือกโลกทอี่ ยู่ใต้มหาสมุทรวางตวั อยู่บนชนั เนอื โลก

2) ชัน้ เน้อื โลก
 ชนั เนือโลกมคี วามหนาประมาณ 2,900 กโิ ลเมตร

ประกอบด้วย หินเหลวและหินหนืด

2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6

3) ชนั้ แกน่ โลก

เป็นมวลสารทมี่ ีความรอ้ นสูง ซง่ึ เป็นสว่ นในสุดของโลก
แบง่ ออกเป็น 2 ชนั ได้แก่

 แกน่ โลกชั้นใน (inner core)
 แก่นโลกชั้นนอก (outer core)

2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ภูมิศาสตร์ ม.4-6

2.2 กระบวนการเปลีย่ นแปลงทางธรณภี าค

แผน่ ธรณภี าค คือ เปลอื กโลกและเนอื โลกตอนบนสุด มีการปรบั เปลย่ี นสภาพ
ตลอดเวลา

1) กระบวนการเปลยี่ นแปลงจากแรงภายในโลก (endogenic process)

2 การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

• กระบวนการภูเขาไฟ เป็นกระบวนการแปรสณั ฐานอย่างรวดเรว็ เกดิ จากแรงภายในโลกปะทเุ อา
แมกมาขึนมาเป็นลาวา ก่อให้เกิดลกั ษณะภูมิประเทศใหม่ ๆ เป็นการเพ่ิมระดับบนผวิ โลกจากการ
ทบั ถมของลาวา การตกตะกอนทบั ถมของเถ้าถ่านและฝนุ่ ภูเขาไฟ

ปะทุตามรอยแยก ภูเขาไฟรปู โล่ กรวยเถ้าธลุ ีภเู ขาไฟ กรวยภูเขาไฟสลบั ชนั้ แอ่งภเู ขาไฟ

ประเภทภเู ขาไฟตามลักษณะการเกิด

2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ภูมิศาสตร์ ม.4-6

• กระบวนการแปรสัณฐาน
อ ย่ า ง ช้ า ๆ เ กิ ด จ า ก ก า ร
เคลื่อนตัวของหินหนืดในชัน
เ นื อ โ ล ก จ น เ ป ลื อ ก โ ล ก
แปรสัณฐานเปลีย่ นไปจากเดิม

2 การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

การเคล่อื นทีข่ องแผน่ ธรณมี ี 3 ลักษณะใหญ่ ๆ ดงั นี้

1. แผน่ ธรณเี คล่อื นทอ่ี อกจากกัน เชน่ สนั เขากลางมหาสมทุ ร

2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

2. แผน่ ธรณเี คลอ่ื นที่เขา้ หากัน

2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6

• 3. แผน่ ธรณีเคล่อื นทผี่ ่านกนั

แผน่ ธรณีเคลอื่ นที่ผา่ นกนั รอยเลือ่ นแซนแอนเดรียส มีความยาวกวา่ 1,300 กโิ ลเมตร

2 การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

• ช้ันหินคดโค้ง คือ รอยคดโค้งท่ี
ป ร า ก ฏ ใ น หิ น เ ป ลื อ ก โ ล ก
เกิดจากความเค้นและความเครียด
ของเปลอื กโลก

ไดอะแกรมแสดงช้นั หนิ คดโคง้ รปู ประทนุ และรปู ประทนุ หงาย

ชั้นหินคดโค้งแบบพบั ผ้า
ไดอะแกรมแสดงชนั หินคดโค้งแบบพับผา้

2 การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6

รอยเลอ่ื น คอื ชันหินเมอ่ื ถกู แรงเค้นมากระท้าจนแตกหักและเคล่อื นที่ตามระนาบรอยแตก

2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

2 การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

แนวแตก คือ รอ่ งรอยท่ีเกิดจากแรงเครียดและแรงเคน้ จาก
กระบวนการภายในโลก ที่กระทา้ ตอ่ มวลหนิ ขนาดใหญ่

1. เกดิ จากการหดตัวเนือ่ งจากอุณหภมู ลิ ดลง

2. เกิดจากส่ิงทเี่ คยกดทบั ถกู พาออกไป

2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ภูมศิ าสตร์ ม.4-6

2) กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายนอกโลก

กระบวนการผพุ งั อยูก่ ับที่

กระบวนการเคลือ่ นท่ขี องมวล

กระบวนการกรอ่ น กระบวนการพัดพาและการทบั ถม

2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ภูมศิ าสตร์ ม.4-6

1. กระบวนการผพุ งั อย่กู บั ที่

• การผุพังอยูก่ ับท่ี เปน็ การผพุ งั ของหินด้วยลมฟ้าอากาศ ปัจจัยสา้ คญั คอื อณุ หภมู ิ และความชืนใน
บรรยากาศ

1.1 กระบวนการผุพังอยกู่ ับทที่ างฟิสกิ ส์ การขยายตัวและหดตัวของแร่ประกอบหนิ ท่แี ตกตา่ งกัน
จากอุณหภูมแิ ละความชืน ทา้ ใหผ้ วิ หนา้ หินแตกออก

2 การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6

1.2 กระบวนการผพุ ังอยกู่ ับทท่ี างเคมี

2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

1.3 กระบวนการผุพังอยู่กับที่ทางชีวภาพ
เป็นกระบวนการผุพังของหินเปลือกโลกท่ีเกิดจาก
การกระทา้ ของพชื และสตั ว์

2 การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ ภูมิศาสตร์ ม.4-6

2. กระบวนการเคลือ่ นทข่ี องมวล

กระบวนการทเ่ี ศษดนิ เศษหินบนพนื ทล่ี าดเขาเคลือ่ นท่ตี ามอทิ ธพิ ลแรงโน้มถว่ ง

ลงสู่พนื ทดี่ ้านลา่ งโดยมีนา้ หรือแรงส่นั สะเทอื นกระตนุ้

กระบวนการเคลื่อนที่ของมวล

- แผ่นดินถล่ม คือ การเคล่ือนท่ีของมวลแผ่นดิน

เช่น ดิน หิน และส่ิงท่ีอยู่บนแผ่นดินนันเล่ือนลง

มาตามความลาดชันของพืนท่ี

- การเล่ือนไถล คือ การเคลื่อนท่ีของมวลเศษหิน

เศษดนิ ลงมาตามความลาดชนั

2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

หินถล่ม (rockslide)
หินและเศษหินทีเ่ กดิ ถล่มอยา่ งรวดเรว็ ลงส่ทู ต่ี า่้ ของลาดเขา

ดินไหล (earth flow)
ดินหรอื หินผทุ ่เี ล่อื นไถลจากไหล่เขาหรอื ลาดเขา

ตามแรงดงึ ดูดของโลก

การไหลของดนิ (solifluction) คอื การเลอื่ นไถลของดนิ อยา่ งช้า ๆ ลงไปตามลาดเขา

2 การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพ ภูมศิ าสตร์ ม.4-6

3. กระบวนการกรอ่ น

กระบวนการกร่อน เปน็ กระบวนการปรบั ระดับพืนผิวโลกด้วยการกัดเซาะออกไป โดยตัวกระท้าส้าคัญทาง
ธรรมชาติต่าง ๆ

2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ภูมิศาสตร์ ม.4-6

กระบวนการกรอ่ น

การกร่อนสลาย การกร่อนครูดถู การกระทบกระแทกใหแ้ ตก การพัดกราด

2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

3.1 กระบวนการกร่อน ท่สี าคญั มดี งั นี้
• การกร่อนสลาย
• การกร่อนครดู ถู
• การกระทบกระแทกใหแ้ ตก
• การพดั กราด

2 การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6

3.2 กระบวนการพัดพา ทสี่ าคญั มดี งั น้ี

• การพดั พาท้องธาร เป็นการพดั พาโดยนา้ หรอื ธารน้าแขง็ ทพ่ี ัดพาตะกอนหิน กรวด
ทรายขนาดตา่ ง ๆ ที่มขี นาดหยาบ นา้ หนักมาก เคลื่อนไปตามพืน

• การแขวนลอย เป็นการเคลอื่ นท่ีของตะกอนละเอียดที่แขวนลอยไปกบั นา้ ได้ในระยะ

ทางไกล ๆ เชน่ ตะกอนทรายแปง้ ตะกอนดนิ เหนียว

2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6

• การกลิง้ เปน็ การเคลือ่ นที่ด้วยแรงน้า ลม คลนื่ ธารน้าแขง็

• การเลอื่ น เป็นการเคลื่อนแบบเลื่อนไปของตะกอนด้วยตัวการใด ๆ

• การกระดอน เปน็ กระบวนการท่เี กิดในทะเลทรายโดยลม

2 การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

3.3 กระบวนการทบั ถม
ท่สี าคญั มีดงั นี้

• การทบั ถมโดยนา้
• การทบั ถมโดยลม
• การทับถมโดยธารนา้ แข็ง
• การทบั ถมโดยคล่ืน

2 การเปล่ียนแปลงทางกายภาพ ภูมิศาสตร์ ม.4-6

3. บรรยากาศภาค บรรยากาศ คือ ชนั อากาศทห่ี อ่ หุม้ โลก มอี ณุ หภูมิ ความหนาแนน่
ความกดอากาศแตกต่างกนั ตามระดบั ความสูง
3.1 สว่ นประกอบของบรรยากาศ

ส่วนประกอบของบรรยากาศ

2 การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6

3.2 ชั้นบรรยากาศ
ชันบรรยากาศโลกแบ่งออกเปน็ 2 สว่ นใหญ่ ๆ คอื

ชั้นโฮโมสเฟียร์ ซึ่งมกี ารลด-เพ่ิมอณุ หภมู ติ ามความสูง คือ ชันโทรโพสเฟยี ร์ สแตรโทสเฟยี ร์ และ
เมโซสเฟียร์

ช้นั เฮเทอโรสเฟยี ร์ เปน็ ชนั ท่ีอุณหภมู เิ พ่ิมตามความสงู คือ ชันเทอร์โมสเฟียรแ์ ละเอกโซสเฟยี ร์

2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

ชน้ั บรรยากาศโลก

1) โทรโพสเฟียร์ เป็นชันท่ีมีมวลอากาศ ได้แก่ ไอน้า
หมอก ฝน พายุ และแก๊ส บรรยากาศในชันนีมัก
ปรากฏสภาพอากาศที่รุนแรง เน่ืองจากการเปล่ียน
สถานะของน้าในอากาศ

2 การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ ภูมศิ าสตร์ ม.4-6

2) สแตรโทสเฟียร์ บรรยากาศในชันนีสงบ เน่ืองจากไม่มี
เมฆหรือพายุจึงใช้เพ่ือการบิน ในชันนีมีแก๊สโอโซน
อยู่หนาแน่น ช่วยดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตจาก
ดวงอาทิตย์ไม่ใหม้ ายงั พืนโลกมากเกินไป

2 การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6

3) เมโซสเฟียร์ เป็นชันบรรยากาศท่ีชว่ ยชะลอวัตถุนอกโลก
ที่ผา่ นเข้ามาให้เกดิ การเผาไหม้กลายเป็นวัตถุขนาดเลก็

2 การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6

4) เทอร์โมสเฟียร์ บรรยากาศในชันนีมีสถานะเป็น
ประจุไฟฟ้า ซ่ึงมีประโยชน์ในการสะท้อนคล่ืนวิทยุ
สา้ หรับการสอื่ สารโทรคมนาคม

2 การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6

5) เอกโซสเฟียร์ เป็นชันบรรยากาศท่ีเปลี่ยน
จ า ก บ ร ร ย า ก า ศ ข อ ง โ ล ก ไ ป เ ป็ น แ ก๊ ส ที่ เ บ า บ า ง
เป็นชันนอกสุดของบรรยากาศท่ีห่อหุ้มโลก และเป็นชันที่มี
ดาวเทยี มโคจรในระดบั ตา่้

2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6
3.3 พลงั งานจากดวงอาทิตย์

2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6

พลงั งานจากดวงอาทติ ยส์ ง่ ผลต่ออณุ หภมู ขิ องโลก ความกดอากาศของโลก ระบบลม
ของโลก มวลอากาศของโลก ความชืนในบรรยากาศ และหยาดนา้ ฟา้ ดงั นี

1) กระบวนการเปลี่ยนแปลงของอณุ หภูมิโลก

อุณหภมู ิของบรรยากาศ คอื ระดบั ความร้อนหรือเย็นของอากาศทบ่ี รรยากาศดูดซบั
พลงั งานความร้อนทแ่ี ผ่รงั สคี ล่ืนยาวมาจากผิวโลก

2 การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ ภูมศิ าสตร์ ม.4-6

ปัจจยั สาคญั ท่ีเป็นตวั ควบคมุ อณุ หภูมโิ ลก

ตาแหน่งท่ีตงั้ ตามละตจิ ูด
ระดบั ความสงู -ต่าของผวิ โลก
ชนดิ มวลสารทพ่ี ื้นผิวโลกแตกตา่ งกนั
ฤดูท่ีแตกตา่ ง
การผันแปรอณุ หภูมปิ ระจาวนั

2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6

2) ความกดอากาศของโลก

แนวความกดอากาศของโลกมีความสมั พนั ธ์กับระบบลมประจา้ ของ
โลก ดงั นี

• แนวความกดอากาศต่้า

• แนวความกดอากาศต้่าถึงขัวโลก

• แนวความกดอากาศสงู ขัวโลก

• แนวความกดอากาศสูงกง่ึ เขตรอ้ น

2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

3) ระบบลมประจา

ลม คือ อากาศท่ีเคลือ่ นท่ไี ปบนผวิ โลก ลมพนื ผวิ โลกแบง่
ออกได้ ดงั นี

1. เขตลมคา้

2. เขตลมตะวนั ตก

3. เขตลมตะวันออก

2 การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

4) มวลอากาศของโลก
มวลอากาศ คอื กลุ่มอากาศขนาดใหญ่ทีม่ คี ุณสมบัติทางอุตุนิยมวทิ ยาเหมือนหรือใกล้เคยี งกนั ไดแ้ ก่

อุณหภมู ิ ความชืน ความกดอากาศ และลกั ษณะการเคลอ่ื นตัว มวลอากาศมักมีคณุ สมบตั ิทางอากาศเหมอื นกบั
พืนผวิ ทีอ่ ากาศนันสัมผัสอยู่

2 การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

• แนวปะทะอากาศ (front) คือ แนวแบ่งเขตระหว่างมวลอากาศ 2 ชนิด มสี มบัตแิ ตกตา่ งกนั อยา่ งชัดเจน สมบัติมวลอากาศ

ที่แตกต่างกนั คือ ความหนาแนน่ อณุ หภมู ิ ความชืน ทศิ ทางลม แนวปะทะอากาศ ไดแ้ ก่
• แนวปะทะอากาศเย็น
• แนวปะทะอากาศรอ้ น

2 การเปล่ียนแปลงทางกายภาพ ภูมิศาสตร์ ม.4-6

5) ความชน้ื ในบรรยากาศและเมฆ ไดอะแกรมระดับเมฆ 3 ช้นั และเมฆก่อตัวในแนวดิง่
ในบรรยากาศใกล้ผิวโลกมี

ไ อ น้ า เ ป็ น ส่ ว น ผ ส ม อ ยู่ ป ร ะ ม า ณ
ร้ อ ย ล ะ 5 ส่ ว น ใ ห ญ่ อ ยู่ ใ น รู ป
ของละอองไอน้าเรียกว่า ความชืน
ใ น บ ร ร ย า ก า ศ ล ะ อ อ ง ไ อ น้ า ท่ี มี
ความหนาแน่นมากๆ จะอยู่ในรูป
ของ เมฆชนิดต่าง ๆ เมฆท่ีอยู่ใน
บรรยากาศมี 3 ชัน คือ เมฆชันต้่า
เมฆชันกลาง เมฆชันสูง และเมฆก่อตัว
ในแนวดง่ิ

2 การเปล่ียนแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

6) หยาดนา้ ฟา้ หมายถึง น้าในบรรยากาศทตี่ กลงมายงั พนื้ ผิวโลก

ในรูปแบบต่าง ๆ ที่สาคญั คือ

ฝน

ฝนนา้ แข็ง

ลูกเห็บ

หมิ ะ

2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ภูมิศาสตร์ ม.4-6

4. อุทกภาค

อทุ กภาค คอื สว่ นทเ่ี ป็นนา้ ทังหมดบนพืนผิวโลกที่นอกเหนือไปจากสว่ นท่เี ปน็ ของแขง็ ของ
เปลอื กโลกและสว่ นบรรยากาศของโลก

2 การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ ภูมศิ าสตร์ ม.4-6

4.1 ปริมาณนา้ ของโลก น้าที่อยู่บนพนื ผิวโลกทังหมดประกอบดว้ ย

น้าในมหาสมทุ ร รอ้ ยละ 97.21
พดื นา้ แขง็ และธารน้าแข็ง ร้อยละ 2.14
น้าใต้ดิน ร้อยละ 0.62
หนอง บึง แม่น้า ทะเลสาบ รอ้ ยละ 0.02
ไอนา้ ในบรรยากาศ ร้อยละ 0.01

แผนภาพสัดสว่ นปริมาณน้าของโลก

2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6
4.2 วฏั จักรของน้า


Click to View FlipBook Version