The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุป 5 บท สังคม1 ปี64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 420st0000065, 2021-03-23 04:27:00

สรุป 5 บท สังคม1 ปี64

สรุป 5 บท สังคม1 ปี64

สรปุ ผลการจดั กิจกรรมการศกึ ษาเพื่อพฒั นาสงั คมและชมุ ชน
ปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส1-2)

โครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารแปรรปู สมนุ ไพรให้ทนั สมยั กบั ยคุ EEC
ในวนั ท่ี 25 กุมภาพนั ธ์ 2564

ณ กศน.ตำบลหนองขยาด หมูท่ ่ี 7 ตำบลหนองขยาด
อำเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบรุ ี

กศน.ตำบลหนองขยาด
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอพนสั นคิ ม

สำนกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวดั ชลบรุ ี

คำนำ

กศน.ตำบลหนองขยาด สงั กดั ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม
ไดจ้ ัดทำโครงการอบรมเชงิ ปฏิบัติการแปรรปู สมนุ ไพรใหท้ ันสมัย กับยุค EEC โดยมวี ัตถุประสงคเ์ พอ่ื ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
มีความรแู้ ละเขา้ ใจการแปรรูปสมนุ ไพรให้ทันสมยั กับยคุ EEC สามารถนำความรู้ไปพฒั นาชุมชนให้มคี วามเข้มแข็งได้
ซงึ่ มีการสรุปผลการจัดกจิ กรรมโครงการดังกลา่ วเพ่ือต้องการทราบวา่ การดำเนินโครงการบรรลตุ ามวัตถุประสงคท์ ีก่ ำหนดไว้
หรอื ไม่ บรรลใุ นระดับใดและได้จัดทำเอกสารสรุปผลการจัดกิจกรรมการศึกษาเพอ่ื พัฒนาสงั คมและชุมชนเสนอตอ่ ผบู้ ริหาร
ผู้เก่ียวขอ้ งเพ่ือนำข้อมูลไปใช้ในการปรบั ปรุงและพัฒนาการดำเนนิ โครงการให้ดยี ่ิงขึน้

คณะผู้จัดทำ ขอขอบคณุ ผอู้ ำนวยการศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอพนสั นิคม
ทใ่ี ห้คำแนะนำ คำปรกึ ษา ในการจัดทำสรุปผลการจัดกจิ กรรมการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาสงั คมและชมุ ชนในครั้งนี้

หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารสรุปผลการจัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชนฉบับน้ี จะเป็น
ประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงานโครงการและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย ตอ่ ไป

นางสาวนฤมล เอมเปยี
ครู กศน.ตำบลหนองขยาด

กุมภาพันธ์ 2564

สารบญั หนา้

หวั เรื่อง ข
คำนำ ค
สารบัญ
สารบัญตาราง 1
บทที่ 1 บทนำ 1
1
- หลักการและเหตผุ ล 2
- วตั ถปุ ระสงค์ 2
- เปา้ หมายการดำเนนิ งาน
- ผลลพั ธ์ 3
- ตวั ชวี้ ดั ผลสำเร็จของโครงการ 3
บทที่ 2 เอกสารการศึกษาและงานวิจยั ทเ่ี กยี่ วข้อง 12
- กรอบการจดั กิจกรรมการศึกษาเพ่อื พัฒนาสังคมและชมุ ชน 15
- เอกสาร/งานทเี่ กย่ี วข้อง 20
บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนนิ งาน
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 5 อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
- แผนการจัดกจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชมุ ชน
- โครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการแปรรูปสมนุ ไพรใหท้ นั สมยั กับยคุ EEC
- หนังสอื ขออนเุ คราะห์วทิ ยากร/หนงั สือเชิญวิทยากร
- รายงานผลการจดั กจิ กรรม
- แบบประเมินผรู้ ับบรกิ าร
คณะผูจ้ ัดทำ

สารบัญตาราง หนา้

ตารางท่ี 15
15
1. ผู้เข้าร่วมโครงการที่ตอบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามเพศ 16
2. ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการทตี่ อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามอายุ 16
3. ผู้เข้ารว่ มโครงการท่ีตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามอาชพี 16
4. ผเู้ ข้ารว่ มโครงการทตี่ อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามระดบั การศึกษา 17
5. แสดงค่ารอ้ ยละเฉลย่ี ความสำเร็จของตัวช้ีวดั ผลผลติ ประชาชนทว่ั ไป 17
6. คา่ เฉลย่ี และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ ในภาพรวม 18
7. คา่ เฉลย่ี และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ด้านบริหารจัดการ 18
8. ค่าเฉล่ียและสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ด้านการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
9. คา่ เฉลี่ยและสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ดา้ นประโยชน์ที่ไดร้ ับ

1

บทท่ี 1
บทนำ

หลักการและเหตุผล

โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวนั ออก (Eastern Economic Corridor: EEC) เปน็ แผนยทุ ธศาสตร์
ภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 เพ่ือยกระดับประเทศให้มีความเป็นอยู่ท่ีดีข้นึ เปลยี่ นผ่านประเทศไทยจากประเทศที่มีรายได้
ปานกลางไปสู่ประเทศท่ีมรี ายได้สงู ดว้ ยการลงทุนด้านเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม ภายใต้วิสัยทศั น์ การพฒั นาประเทศอยา่ ง
มั่นคง ม่ังค่งั และยั่งยืน ทงั้ นี้ รัฐบาลไดเ้ ร่งผลกั ดันโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออกทตี่ อ่ ยอดความสำเรจ็
มาจากแผนพฒั นาเศรษฐกิจภาคตะวันออก หรอื Eastern Seaboard มีการครอบคลมุ พ้ืนท่ี 3 จงั หวัด ได้แก่ ระยอง ชลบุรี
และฉะเชิงเทรา เนื่องจากมีความพรอ้ มในการเปน็ เมืองท่องเที่ยวในอนั ดบั ตน้ ๆ ของโลก มีระบบโครงสรา้ งพ้นื ฐานทีม่ ีความ
พร้อม และด้วยลกั ษณะทางภูมิศาสตร์ท่ีตง้ั สามารถเช่ือมโยงกับประเทศเพื่อนบา้ นได้ โดยเฉพาะในกลุ่ม CLMV ซ่ึงขณะน้ี
ภาครฐั อยรู่ ะหว่างการปรบั แก้กฎหมายและกฎระเบียบต่าง ๆ ท่เี อ้ืออำนวยต่อการลงทุน และจะผลักดันใหเ้ กิดการลงทุนใน
รปู แบบคล้ายกับ EEC ในภูมิภาคต่าง ๆ ทัง้ ภาคเหนือ ภาคใต้และภาคตะวนั ตกของประเทศไทย

พืชสมนุ ไพรเปน็ สิ่งที่อยคู่ ู่คนไทยมานับพนั ปีแตเ่ มื่อการแผนปจั จบุ ันเริ่มเข้ามามีบทบาทในบ้านเรา สรรพคณุ และ
คุณคา่ ของสมุนไพรไทยอันเป็นส่งิ ที่เรยี กไดว้ า่ ภูมปิ ญั ญาโบราณกเ็ ร่ิมถกู บดบังไปเร่ือย ๆ และถูกทอดทงิ้ ไปในท่ีสดุ ซง่ึ ความ
เปน็ จรงิ คนส่วนใหญก่ ็พอรู้กนั ว่า สมุนไพรไทยเป็นส่ิงที่มีคุณค่าใชป้ ระโยชนไ์ ด้จริง และใชไ้ ดอ้ ยา่ งกว้างขวางแต่เป็นเพราะเรา
ใชว้ ิธีรักษาโรคแผนใหม่มานานมากจนวชิ าการแพทยแ์ ผนโบราณทมี่ ีสมนุ ไพรเป็นยาหลักถูกลืมจนต่อไม่ตดิ ทำให้เยาวชนรุ่น
หลงั ๆ รจู้ ักสมุนไพรไทยได้น้อยมากและแทบจะไมร่ จู้ ักเลยทัง้ ๆ ที่สมนุ ไพรเหลา่ นั้นอยู่ใกล้ ๆ ตวั เรานี้เอง การใชส้ มนุ ไพรใน
การดูแลสุขภาพ เปน็ หนง่ึ ในภมู ิปญั ญาไทยทส่ี บื ทอดกันมา ซึ่งมีหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ ทร่ี ะบถุ ึงการใช้พชื พรรณสมนุ ไพร
ต้งั แต่สมยั พุทธกาล การนำสมุนไพรมาใชไ้ ดท้ ั้งในแง่การนำมารับประทานเปน็ อาหาร เช่น การรับประทานพืชผกั หรือนำมา
ประกอบเป็นอาหาร นอกจากนั้นยงั นำมาใช้เปน็ ยารกั ษาโรคเวลาเกิดอาการเจ็บปว่ ยได้

กศน.ตำบลหนองขยาด จึงไดเ้ ลง็ เห็นความสำคญั จากเหตผุ ลขา้ งต้นดังกล่าว จึงได้ดำเนินการจดั ทำโครงการอบรมเชงิ
ปฏิบัตกิ ารแปรรูปสมุนไพรให้ทนั สมัย กบั ยคุ EEC ขนึ้

วัตถุประสงค์

1. เพ่ือใหผ้ ูเ้ ขา้ รบั การอบรมมคี วามรู้และเข้าใจการแปรรูปสมนุ ไพรให้ทันสมยั กับยคุ EEC
2. เพ่ือให้ผู้เขา้ รับการอบรมสามารถนำความรู้ไปพฒั นาชมุ ชนใหม้ คี วามเข้มแข็งได้

เปา้ หมาย (Outputs)

เป้าหมายเชิงปริมาณ
ประชาชนตำบลหนองขยาด จำนวน 15 คน

2

เปา้ หมายเชิงคุณภาพ
ผู้เขา้ รับการอบรมมคี วามร้แู ละเข้าใจการแปรรปู สมนุ ไพรให้ทนั สมัยกบั ยุค EEC สามารถนำความรู้ไปพัฒนา

ชมุ ชนใหม้ ีความเข้มแขง็ ได้

ผลลพั ธ์

- ผเู้ ข้ารับการอบรมมีความรู้และเขา้ ใจการแปรรูปสมนุ ไพรใหท้ ันสมยั กบั ยคุ EEC สามารถนำความรู้ไปพฒั นาชุมชน
ให้มคี วามเขม้ แข็งได้

ดชั นชี ้วี ดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ

ตวั ชี้วัดผลผลิต (Outputs)
ร้อยละ 80 ของ ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และเข้าใจการแปรรปู สมนุ ไพรให้ทนั สมยั กับยุค EEC สามารถนำ

ความรูไ้ ปพัฒนาชุมชนให้มคี วามเขม้ แข็งได้
ตัวช้ีวดั ผลลพั ธ์ (Outcomes)
รอ้ ยละ 80 ของ ผู้เข้ารับการอบรม นำความรู้ที่ไดร้ ับไปปรับใชแ้ ละขยายผลสชู่ มุ ชนในยุค EEC ได้

3

บทที่ 2

เอกสารการศึกษาและงานวจิ ยั ทเี่ ก่ยี วข้อง

ในการจดั ทำสรุปผลโครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการแปรรูปสมุนไพรให้ทันสมยั กบั ยุค EEC คร้ังน้ี คณะผู้จัดทำ
โครงการได้ทำการค้นควา้ เนื้อหาเอกสารการศกึ ษาและงานวจิ ยั ทีเ่ ก่ยี วข้อง ดังน้ี

1. กรอบการจัดกิจกรรมการศึกษาเพอื่ พัฒนาสังคมและชุมชน
2. เอกสาร/งานวจิ ัยที่เก่ยี วขอ้ ง

1. กรอบการจัดกจิ กรรมการศึกษาเพอื่ พัฒนาสังคมและชมุ ชน

นโยบายเรง่ ด่วน สำนักงาน กศน.
ข้อที่ 1 น้อมนำพระบรมราโชบายสกู่ ารปฏบิ ัติ “หน่งึ ชุมชน หนงึ่ นวตั กรรมการพัฒนาชุมชนถนิ่ ไทยงาม” เพ่ือความ
กนิ ดี อย่ดู ี มงี านทำ เชน่ โคกหนองนาโมเดล , คลองสวยน้ำใส, พลงั งานทดแทน (แสงอาทิตย)์ ,จิตอาสา

2. เอกสาร/งานท่ีเกี่ยวขอ้ ง

1. ความหมาย ที่มา และความสำคัญของสมุนไพร
ความหมายของพชื สมุนไพร

คำว่า สมนุ ไพร ตาม พระราชบญั ญตั ิยา หมายถึง "ยาท่ไี ดจ้ ากพืช สตั ว์ หรือแร่ ซึ่งยังไม่ได้ผสม ปรุง หรอื เปลย่ี น
สภาพ" เชน่ พืชกย็ ังเป็นสว่ นของ ราก ลำตน้ ใบ ดอก ผล ฯลฯ ซ่งึ ยังไม่ไดผ้ า่ นข้นั ตอนการแปรรูปใด ๆ แตใ่ นทางการค้า
สมนุ ไพรมักจะถกู ดดั แปลงในรูปตา่ ง ๆ เขน่ ถูกหนั่ ให้เป็นช้นิ เล็กลง บดเป็นผงละเอยี ด หรืออัดเปน็ แทง่ อย่างไรก็ตามใน
ความรู้สึกของคนท่ัว ๆ ไป เมื่อกลา่ วถึงสมนุ ไพร มกั จะนกึ ถึงเฉพาะต้นไมท้ น่ี ำมาใชเ้ ป็นยาเทา่ นั้น ทัง้ น้ีอาจเป็นเพราะว่าสตั ว์
หรือแร่ มีการนำมาใช้น้อย และใชใ้ นโรคบางชนิดเท่านั้น

พชื สมนุ ไพร หมายถงึ พันธ์ไุ ม้ตา่ ง ๆ ที่สามารถนำมาใช้ปรุงหรอื ประกอบเปน็ ยารักษา โรคตา่ ง ๆ ใช้ในการส่งเสรมิ
สขุ ภาพรา่ งกายได้
ความสำคญั ของพืชสมนุ ไพร

1. ความสำคญั ในด้านสาธารณสุข
พืชสมนุ ไพร เป็นผลผลติ จากธรรมชาติ ทม่ี นุษย์ร้จู ักนำมาใช้เป็นประโยชน์ เพอ่ื การรักษาโรคภัยไขเ้ จ็บตง้ั แตโ่ บราณ
กาลแล้ว เชน่ ในเอเชียกม็ หี ลกั ฐานแสดงว่ามนษุ ยร์ ู้จกั ใช้พืชสมนุ ไพรมากว่า 6,000 ปี แต่หลังจากทค่ี วามรู้ด้านวทิ ยาศาสตร์ มี
การพัฒนาเจรญิ กา้ วหน้ามากขึ้น มีการสังเคราะห์ และผลิตยาจากสารเคมี ในรูปทีใ่ ช้ประโยชน์ได้ง่าย สะดวกสบายในการใช้
มากกวา่ สมุนไพร ทำใหค้ วามนยิ มใช้ยาสมุนไพรลดลงมาเป็นอันมาก เป็นเหตุให้ความรู้วิทยาการดา้ นสมุนไพรขาดการพฒั นา
ไมเ่ จริญก้าวหน้าเท่าท่ีควร ในปจั จุบนั ทั่วโลกได้ยอมรับแล้ววา่ ผลทไี่ ด้จากการสกัดสมุนไพร ให้คุณประโยชนด์ ีกว่ายา ท่ีได้จาก
การสงั เคราะห์ทางวทิ ยาศาสตร์ประกอบกับในประเทศไทยเปน็ แหล่งทรัพยากรธรรมชาติ อนั อุดมสมบรู ณ์ มีพืชต่าง ๆ ท่ีใช้
เป็นสมุนไพรได้อย่างมากมายนับหมนื่ ชนดิ ยงั ขาดก็แต่เพยี งการคน้ ควา้ วจิ ยั ในทางทเ่ี ปน็ วิทยาศาสตรม์ ากขน้ึ เทา่ นนั้ ความ

4

ตื่นตวั ท่ีจะพฒั นาความรูด้ า้ นพชื สมุนไพร จงึ เรม่ิ ข้นึ อีกครัง้ หน่ึง มกี ารเรม่ิ ต้นนโยบายสาธารณสุขขั้นมูลฐานอย่างเป็นทางการ
ของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2522 โดยเพ่มิ โครงการสาธารณสุขขัน้ มูลฐานเข้าในแผนพฒั นาการสาธารณสขุ ตามแผนพัฒนา
การเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 4 (พ.ศ. 2520-2524) ต่อเนื่องจนถึงแผนพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ
ฉบบั ท่ี 7 (พ.ศ. 2535-2539) โดยมี กลวิธีการพฒั นาสมนุ ไพรและการแพทยแ์ ผนไทยในงานสาธารณสขุ มลู ฐาน คือ

(1) สนับสนนุ และพฒั นาวิชาการและเทคโนโลยีพ้นื บา้ นอนั ไดแ้ ก่ การแพทย์แผนไทย เภสัช กรรมแผนไทย การนวด
ไทย สมุนไพร และเทคโนโลยพี ้นื บ้าน เพ่ือใช้ประโยชน์ในการแกไ้ ขปญั หา สุขภาพของชุมชน

(2) สนับสนนุ และส่งเสรมิ การดูแลรกั ษาสุขภาพของตนเอง โดยใช้ สมุนไพร การแพทย์พ้ืนบ้าน การนวดไทย ใน
ระดบั บุคคล ครอบครวั และชุมชน ให้เปน็ ไปอย่างถูกต้องเป็นระบบสามารถปรับประสานการดูแลสุขภาพแผนปัจจบุ ันได้
อาจกลา่ วได้วา่ สมุนไพรสำหรบั สาธารณสขุ มูลฐานคือสมุนไพรท่ีใชใ้ นการส่งเสรมิ สขุ ภาพ และการรักษาโรค/อาการเจ็บปว่ ย
เบือ้ งต้น เพื่อให้ประชาชนสามารถพึ่งตนเองได้มากข้ึน

2. ความสำคัญในดา้ นเศรษฐกจิ
ในปจั จุบันพชื สมนุ ไพรจดั เปน็ พืชเศรษฐกิจชนิดหน่ึงทีต่ ่างประเทศกำลงั หาทางลงทนุ และคดั เลอื กสมุนไพรไทยไป
สกัดหาตัวยาเพ่ือรักษาโรคบางโรคและมีหลายประเทศทีน่ ำสมนุ ไพรไทยไปปลูกและทำการคา้ ขายแข่งกับประเทศไทย
สมุนไพรหลายชนิดท่ีเราส่งออกเปน็ รูปของวัตถุดิบคือ กระวาน ขม้ินชัน เรว่ เปลา้ นอ้ ยและมะขามเปยี กเป็นตน้ ซ่ึงสมุนไพร
เหล่าน้ีตลาดต่างประเทศยงั คงมคี วามต้องการอีกมาก และในปจั จบุ นั กรมวิชาการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ได้ให้ความสนใจในการศึกษาเพ่มิ ขนึ้ และมโี ครงการวิจยั บรรจไุ ว้ในแผนพัฒนาระบบการผลติ การตลาด
และการสร้างงานในแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 6 (พ.ศ. 2530-2534) เพื่อหาความเป็นไปไดใ้ นการ
พัฒนาคุณภาพและแหล่งปลกู สมุนไพรเพอ่ื สง่ ออก โดยกำหนดชนดิ ของสมนุ ไพรที่มีศักยภาพ 13 ชนดิ คือ มะขามแขก
กานพลู เทยี นเกล็ดหอย ดองดึง เรว่ กระวาน ชะเอมเทศ ขม้นิ จันทรเ์ ทศ ใบพลู พรกิ ไทย ดีปลี และน้ำผ้งึ
ประโยชน์ของพืชสมนุ ไพร
1. สามารถรกั ษาโรคบางชนดิ ได้ โดยไมต่ ้องใช้ยาแผนปัจจบุ ัน ซง่ึ บางชนิดอาจมีราคาแพง และต้องเสียคา่ ใชจ้ า่ ยมาก
อีกทั้งอาจหาซอ้ื ได้ยากในท้องถิน่ นน้ั
2. ใหผ้ ลการรักษาได้ดใี กลเ้ คียงกับยาแผนปจั จุบนั และให้ความปลอดภยั แกผ่ ใู้ ช้มากกว่าแผนปจั จุบนั
3. สามารถหาได้ง่ายในท้องถ่ินเพราะสว่ นใหญ่ได้จากพืชซ่งึ มอี ย่ทู ั่วไปทง้ั ในเมอื งและ ชนบท
4. มีราคาถกู สามารถประหยัดคา่ ใช้จ่ายในการซื้อยาแผนปัจจุบนั ที่ตอ้ งสัง่ ซ้ือจากต่าง ประเทศเป็นการลดการขาด
ดุลทางการคา้
5. ใชเ้ ปน็ ยาบำรุงรกั ษาใหร้ า่ งกายมีสุขภาพแขง็ แรง
6. ใช้เปน็ อาหารและปลูกเป็นพชื ผกั สวนครวั ได้ เช่น กะเพรา โหระพา ขิง ข่า ตำลงึ
7. ใชใ้ นการถนอมอาหารเชน่ ลูกจนั ทร์ ดอกจนั ทรแ์ ละกานพลู
8. ใช้ปรุงแตง่ กล่นิ สี รส ของอาหาร เช่น ลกู จันทร์ ใช้ปรงุ แตง่ กลน่ิ อาหารพวก ขนมปงั เนย ไส้กรอก แฮม เบคอน
9. สามารถปลกู เปน็ ไม้ประดบั อาคารสถานที่ตา่ ง ๆ ใหส้ วยงาม เชน่ คนู ชมุ เหด็ เทศ

5

10. ใช้ปรงุ เปน็ เครอ่ื งสำอางเพือ่ เสรมิ ความงาม เชน่ ว่านหางจระเข้ ประคำดีควาย
11. ใช้เป็นยาฆ่าแมลงในสวนผัก, ผลไม้ เช่น สะเดา ตะไคร้ หอม ยาสบู
12. เปน็ พชื ทส่ี ามารถสง่ ออกทำรายได้ให้กับประเทศ เช่น กระวาน ขมิ้นชัน เร่ว
13. เป็นการอนุรักษ์มรดกไทยใหป้ ระชาชนในแต่ละทอ้ งถ่ิน รู้จักช่วยตนเองในการ นำพืชสมุนไพรในท้องถนิ่ ของตน
มาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนต์ ามแบบแผนโบราณ
14. ทำให้คนเห็นคุณคา่ และกลบั มาดำเนนิ ชวี ิตใกลช้ ิดธรรมชาตยิ ง่ิ ขึน้
15. ทำให้เกิดความภูมิใจในวัฒนธรรม และคณุ ค่าของความเปน็ ไทย
ประวตั ขิ องการใช้สมุนไพร
สมนุ ไพร คือ ของขวญั ทธ่ี รรมชาติมอบให้กับมวลมนษุ ยชาติ มนษุ ย์เรารู้จักใชส้ มุนไพรในด้านการบำบัดรกั ษาโรค นบั
แตย่ ุคนแี อนเดอร์ทลั ในประเทศอิรกั ปัจจบุ นั ทหี่ ลมุ ฝงั ศพพบว่ามกี ารใชส้ มนุ ไพรหลายพันปีมาแลว้ ทีช่ าวอนิ เดียแดง ใน
เม็กซิโก ใช้ตน้ ตะบองเพชร( Peyate) เปน็ ยาฆา่ เชื้อและรักษาบาดแผลปัจจบุ ันพบวา่ ตะบองเพชรมฤี ทธ์ิกล่อมประสาท
ประมาณ 4,000 ปมี าแล้ว ทชี่ าวสเุ มเรยี นไดเ้ ข้ามาตงั้ รกราก ณ บรเิ วณแมน่ ้ำไทกริสและยูเฟรตสิ ปจั จุบัน คอื ประเทศอิรัก
ใชส้ มุนไพร เช่น ฝ่ิน ชะเอม ไทม์ และมสั ตาร์ด และต่อมาชาวบาบโิ ลเนียน ใช้สมุนไพรเพิ่มเติมจากชาวสุเมเรยี น ได้แก่ใบ
มะขามแขก หญ้าฝรัน่ ลกู ผักชี อบเชย และกระเทียม ในยุคต่อมาอียิปต์โบราณมี อิมโฮเทป แพทย์ผู้มีชื่อเสียงซึ่งต่อมาไดร้ ับ
การยกย่องใหเ้ ปน็ เทพเจา้ แห่งการรกั ษาโรค ของอยี ปิ ต์ มีตำราสมนุ ไพรท่ีเก่าแก่ คือ Papytus Ebers ซ่งึ เขยี นเมื่อ 1,600 ปี
กอ่ นคริสตศกั ราช ซง่ึ คน้ พบโดยนักอียปิ ต์วทิ ยาชาวเยอรมันนี ชอ่ื Georg Ebers ในตำรานี้ได้กล่าวถงึ ตำราสมนุ ไพรมากกว่า
800 ตำรบั และสมนุ ไพรมากกว่า 700 ชนิด เช่น ว่านหางจระเข้ เวอรม์ วูด( warmwood) เปปเปอร์มนิ ต์ เฮนเบน(
henbane) มดยอบ , hemp dagbane ละหงุ่ mandrake เป็นต้น รูปแบบในการเตรียมยาในสมัยน้ัน ไดแ้ ก่ การต้ม การชง
ทำเปน็ ผง กล่นั เป็นเม็ดทำเป็นยาพอกเป็นขี้ผง้ึ นอกจากน้ียังพบวา่ ชาติตา่ งๆ ในแถบยุโรปและแอฟริกา มีหลักฐานการใช้
สมนุ ไพร ตามลำดบั ก่อนหลังของการเรมิ่ ใชส้ มนุ ไพร คือ หลังจากสมนุ ไพรได้เจรญิ ร่งุ เรืองในอียิปต์แลว้ กไ็ ด้มีการสืบทอดกัน
มา เช่น กรีก โรมัน อาหรับ อิรัก เยอรมัน โปรตุเกส สวเี ดน และโปแลนด์ สว่ นในแถบเอเซีย ตามบนั ทึกประวัติศาสตร์พบวา่
มีการใช้สมนุ ไพรที่อินเดยี กอ่ น แล้วสืบทอดมาท่ีจนี มะละกา และประเทศไทย
ประวตั ิการใช้สมุนไพรในประเทศไทย
ประเทศไทยมีภูมอิ ากาศทเี่ หมาะสมต่อการเจรญิ งอกงามของพชื นานาชนดิ โดยเฉพาะพืชสมนุ ไพรมีอยู่มากมายเปน็
แสนๆ ชนิด ทั้งที่เกดิ ข้ึนเองตามธรรมชาตแิ ละจากการเพาะปลกู บางชนดิ ก็ใชเ้ ป็นวตั ถุดิบในการผลติ ยาแผนปัจจุบนั สมนุ ไพร
หลายชนดิ ถกู นำมาใช้ในรปู ของยากลางบา้ น ยาแผนโบราณ รากฐานของวิชาสมนุ ไพรไทยได้รบั อิทธพิ ลจากประเทศอนิ เดีย
เปน็ สว่ นใหญ่ เพราะตามหลกั ฐานทางประวัติศาสตรช์ าติไทยได้อพยพถิน่ ฐานมาจากบริเวณเทอื กเขา อลั ไตนป์ ระเทศจีน มา
จนถงึ ประเทศไทยในปจั จบุ นั จึงมีสว่ นได้รบั อิทธพิ ลทางวฒั นธรรม ประเพณี ศาสนา ตลอดจนการบำบัดรักษาโรคจาก
ประเทศอนิ เดยี เป็นจำนวนมาก ซึ่งปรากฏหลักฐานชดั เจนว่าไดอ้ าศยั คัมภรี อ์ ายรุ เวทของอินเดยี เป็นบรรทัดฐาน คือ การ
วนิ จิ ฉัยโรค ช่ือสมุนไพรท่ีใชร้ ักษาโรคมเี ค้าช่ือของภาษาบาลสี นั สกฤตอยู่ไม่น้อย เช่นคำวา่ มะลิ (ภาษาสันสกฤตว่า มลั ล)ิ เปน็
ตน้

6

มผี ปู้ ระมาณวา่ ในแต่ละปมี ีผใู้ ช้สมุนไพรในประเทศเปน็ มูลคา่ กวา่ 500 ล้านบาท (สมุนไพรเหลา่ น้ีได้มาจากทง้ั ใน
ประเทศ และนำเข้าจากนอกประเทศโดยเฉพาะ จีน เกาหลี และอินเดยี ) ท้ังน้เี นื่องจากปา่ ไม้ถูกทำลาย ทำให้ต้องมีการ
รณรงคใ์ หม้ ีการปลกู เปน็ สวนสมุนไพรขึน้ ในปพี ุทธศักราช 1800 ซึ่งตรงกับรัชสมยั ของพ่อขนุ รามคำแหงมหาราช ซงึ่ นับเป็น
ยคุ ทองของสมุนไพรไทย สวนป่าสมนุ ไพรของพระองคใ์ หญ่โตมากอยู่บนยอดเขาครี มี าศ อ.ครี มี าส จ.สโุ ขทยั มเี นื้อท่ีหลาย
ร้อยไร่ ซง่ึ ปจั จุบันยังคงไดร้ ับการอนรุ ักษไ์ ว้ เปน็ ปา่ สงวนเพ่ือเปน็ แหลง่ ศึกษาค้นคว้าของผู้ท่ีสนใจ ตอ่ มาในรัชกาลของ
พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทรงเหน็ วา่ สมนุ ไพรเปน็ ทงั้ ยาและอาหารประจำครอบครัว ชาตจิ ะเจรญิ มัน่ คง
ไดก้ ็ด้วยครอบครัวเลก็ ๆ ที่มีความม่ันคงแขง็ แรง มีสุขภาพพลานามยั สมบรู ณ์ท้ังทางกายและจติ ใจ จงึ ทรงมีพระกรณุ าธิคุณ
โปรดเกลา้ ฯ ให้ดำเนินโครงการตามพระราชดำริ สวนสมนุ ไพรขน้ึ ในประเทศในปีพุทธศกั ราช 2522 โดยทรงมีพระกรุณา
โปรดเกลา้ ฯ ให้มีการรวบรวมศึกษาคน้ ควา้ ในเรื่องเกยี่ วกับสมนุ ไพรทุกดา้ น เชน่ ด้านวชิ าการทางชีววิทยา ทางการแพทย์
การบำบัด การอนุรกั ษ์ส่ิงแวดล้อมโดยเฉพาะพชื ทเี่ ป็นประโยชนก์ อ่ ใหเ้ กิดโครงการพระราช ดำริ สวนปา่ สมุนไพรข้ึนมากมาย
หลายแหลง่ อีกทั้งยงั มีการศกึ ษาวิจัยอย่างกวา้ งขวางโดยสถาบนั วิจัยวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เพอ่ื หาสาระสำคัญของ
สมุนไพรที่มพี ิษ ทางเภสัชมาสกดั เปน็ ยาแทนยาสงั เคราะห์ที่ใชก้ ันในปจั จบุ ัน คนไทยไม่เพียงแต่ใช้พืชสมุนไพร เปน็ ยารักษา
โรคเท่านั้น แตไ่ ดน้ ำมาดัดแปลงเพอ่ื บริโภคในรูปของอาหารและเครื่องด่มื สมนุ ไพร
ยาสมุนไพร

นนั้ มมี านานแล้วตงั้ แต่อดีตจนถงึ ปัจจุบันมีการกลา่ วขาน บันทกึ เรอ่ื งราว และใช้สบื ทอดกันมา สมนุ ไพรเปน็ ยา
รักษาโรคที่ได้ตาม ธรรมชาติหาได้ง่าย ใชร้ กั ษาได้ผลดี มีพิษน้อย และสมุนไพรหลายชนดิ เราก็ใช้เป็นอาหารประจำวัน อยู่
แล้ว เชน่ ขงิ ข่า กระเทียม ตะไคร้ กระเพรา เป็นตน้ ชีวิตประจำวันเราผูกพนั กบั สมุนไพรทง้ั ในรูปของอาหารและเป็น ยา
รกั ษาโรค พืชแตล่ ะชนิด จะมีคณุ สมบัติ หรอื สรรพคุณในการรกั ษาแตกต่างกนั ตามสว่ นต่าง ๆ ของพชื ในตำรบั ยา นอกจาก
พืชสมุนไพรแล้ว ยงั อาจประกอบด้วยสตั วแ์ ละแร่ธาตุอีกด้วย เราเรยี กพชื สัตว์ หรอื แรธ่ าตทุ ี่เป็นส่วนประกอบของยาน้ีวา่
“เภสชั วตั ถุ” พชื สมนุ ไพรบางชนิด เชน่ เร่ว กระวาน กานพลู และจนั ทนเ์ ทศ เปน็ ตน้ เป็นพชื ทม่ี ีกลิ่นหอมและมีรสเผด็ รอ้ น
ใชเ้ ปน็ ยาสำหรบั ขับลม แก้ท้องอดื ท้องเฟอ้ พชื เหลา่ นี้ถา้ นำมาปรุงอาหารเราจะเรียกว่า “เคร่อื งเทศ”
ประเภทของสมุนไพร
พชื สมนุ ไพรโดยทัว่ ไปนั้น แบ่งออกเปน็ 5 ส่วนสำคัญดว้ ยกนั คือ

1. ราก
2. ลำตน้
3. ใบ
4. ดอก
5. ผล
“พืชสมนุ ไพร” เหลา่ น้ีมีลักษณะลำต้น ยอด ใบ ดอก ทแี่ ตกตา่ งกันไปตามสายพันธ์ุแตส่ ่วนตา่ งๆ กท็ ำหน้าทเี่ ช่นเดียวกัน เช่น
รากกท็ ำหน้าที่ ดดู อาหารมาเล้ยี งลำต้นก่งิ ก้านตา่ งๆและใบกับสว่ นต่างๆน่นั เองใบก็ทำหน้าที่ ปรุงอาหาร ดดู ออกซเิ จน คาย

7

คาร์บอนไดออกไซด์ออกมา ดอก ผล เมล็ด ก็ทำหนา้ ทส่ี ืบพันธุก์ ันต่อไป เพื่อทำให้พืชพนั ธน์ุ ี้แพรก่ ระจายออกไปเรอื่ ยๆ ไมม่ ที ี่
สน้ิ สดุ
1. ราก

รากของพืชมีมากมายหลายชนิดเอามาเปน็ ยาสมนุ ไพรได้อย่างดี เชน่ กระชาย ขมิน้ ชัน ขิง ขา่ เรว่ ขม้ินอ้อย เปน็ ตน้
รูปรา่ งและลกั ษณะของราก แบง่ ออกเป็น 2 ชนดิ คือ

- รากแกว้ ต้นพชื มากมายหลายชนิดมรี ากแกว้ อยู่ นบั วา่ เป็นรากท่สี ำคัญมากงอกออกจากลำตน้ สว่ นปลาย รูปรา่ ง
ยาวใหญ่เปน็ รปู กรวย ดา้ นขา้ งของรากแกว้ จะแตกแยกออกเป็นรากเล็ก รากนอ้ ยและรากฝอยออกมาเป็นจำนวนมาก เพอ่ื
ทำการดดู ซึมอาหาร ในดนิ ไปบำรงุ เลีย้ งส่วนตา่ งๆของต้นพืช ทมี่ ีรากแก้วได้แก่ ตน้ ขเ้ี หล็ก ต้นคนู เป็นต้น

- รากฝอย รากฝอยเปน็ สว่ นท่ีงอกมาจากลำต้นของพืชท่ีส่วนปลายงอกออกมาเป็นรากฝอยจำนวน มากลกั ษณะราก
จะกลมยาว มขี นาดเท่าๆกัน ต้นพชื ทีม่ ใี บเล้ยี งเดย่ี วจะมีรากฝอย เชน่ หญ้าคา ตะไคร้ เป็นต้น
2. ลำต้น

นับวา่ เป็นโครงสร้างท่สี ำคญั ของตน้ พชื ทงั้ หงายท่ีมีอยู่สามารถคำ้ ยันเอาไว้ ได้ไม่ใหโ้ คน่ ลม้ ลง โดยปกติแล้วลำตน้ จะ
อยบู่ นดิน แต่บางสว่ นจะอย่ใู ต้ดนิ พอสมควรรปู ร่างของลำตน้ น้ันแบง่ ออกได้เปน็ 3 สว่ นดว้ ยกัน คือ ตา ข้อ ปลอ้ ง บริเวณ
เหล่าน้ีจะมีกงิ่ ก้าน ใบ ดอกเกิดขนึ้ อีกด้วยซงึ่ จะทำให้พชื มลี กั ษณะทีแ่ ตกตา่ งกนั ออกไปชนดิ ของลำตน้ พืช แบ่งตามลักษณะ
ภายนอกของลำตน้ ได้เปน็

1. ประเภทไม้ยนื ตน้
2. ประเภทไม้พุ่ม
3. ประเภทหญา้
4. ประเภทไมเ้ ล้ือย
3. ใบ
ใบเปน็ สว่ นประกอบทสี่ ำคัญของตน้ พืชท่ัวไป มหี นา้ ที่ทำการสงั เคราะหแ์ สง ผลติ อาหารและเปน็ ส่วนท่ีแลกเปลยี่ นนำ้
และอากาศให้ต้นพชื ใบเกิดจากการงอกของก่ิงและตาใบไม้โดยทั่วไปจะมสี ีเขยี ว ( สเี ขียวเกิดจากสารที่มชี อื่ วา่ ”คอลโรฟลิ ล์”
อยใู่ นใบของพืช) ใบของพชื หลายชนดิ ใช้เปน็ ยาสมุนไพรได้ดีมาก รปู ร่างและลักษณะของใบนัน้ ใบทส่ี มบูรณ์มีสว่ นประกอบ
รวม 3 สว่ นด้วยกันคือ
1. ตวั ใบ
2. ก้านใบ
3. หใู บ
ชนิดของใบ แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ
- ชนิดใบเลยี้ งเด่ยี ว หมายถงึ เป็นใบที่บนกา้ นใบหนงึ่ มีใบเพียงใบเดียว เชน่ กานพลู ขลู่ ยอ กระวาน
- ชนิดใบประกอบ หมายถงึ ต้ังแต่ 2 ใบขึน้ ไปท่ีเกดิ ข้ึนกา้ นใบอันเดยี ว เช่น มะขามแขก แคบา้ น ขี้เหลก็ มะขาม เปน็
ตน้

8

4. ดอก
ส่วนของดอกเป็นส่วนทส่ี ำคัญของพืชเพ่ือเป็นการแพร่พนั ธ์ุของพชื เป็นลักษณะเดน่ พิเศษของตน้ ไม้แตล่ ะชนดิ

ส่วนประกอบของดอก มคี วามแตกต่างกนั ตามชนิดของพันธ์ุไม้และลกั ษณะที่แตกต่างกนั นี้ เปน็ ขอ้ มลู สำคัญในการจำแนก
ประเภทของต้นไม้รูปร่างลักษณะของดอก ดอกจะต้องมสี ่วนประกอบที่สำคัญ 5 สว่ นคือ

1. กา้ นดอก
2. กลบี รอง
3. กลีบดอก
4. เกสรตัวผู้
5. เกสรตัวเมีย
5. ผล
ผลคอื ส่วนหนึง่ ของพืชทเ่ี กิดจากการผสมเกสรตวั ผู้กับเกสรตวั เมียในดอกเดยี ว กันหรอื คนละดอกก็ได้ มีลักษณะ
รูปรา่ งท่แี ตกต่างกัน ออกไป ตามประเภทและสายพันธุร์ ูปร่างลักษณะของผลมหี ลายอย่าง ตามชนดิ ของตน้ ไม้ที่แตกต่างกนั
แบง่ ตามลักษณะของการเกิดได้รวม 3 แบบ
1. ผลเด่ยี ว หมายถึง ผลทเ่ี กิดจากรงั ไข่อนั เดยี วกัน ผลเดีย่ วแบง่ ออกไดเ้ ป็น ผลสด ได้แก่ มะมว่ ง ฝร่งั ฟัก ผลแหง้
ชนดิ แตกได้ เชน่ ฝกั ถัว่ ผลรกั และผลเด่ียวชนิดแหง้ ไม่แตก เช่น เมลด็ ข้าว เมลด็ ทานตะวนั
2. ผลกลมุ่ หมายถึง ผลทีเ่ กิดจากปลายช่อของรังไขใ่ นดอกเดียวกนั เชน่ น้อยหน่า กระดังงา สตรอเบอรี่ เป็นต้น
3. ผลรวม หมายถงึ ผลทเี่ กดิ มาจากดอกหลายดอก เชน่ สับปะรด ขนนุ มีการแบ่งผลออกเปน็ 3 ลักษณะคือ

3.1 ผลเนือ้
3.2 ผลแหง้ ชนิดแตก
3.3 ผลแหง้ ชนิดไมแ่ ตก
พืชสมุนไพร มีมากมายหลายลกั ษณะและหลายประเภท สามารถจำแนกไดห้ ลายวิธี ซ่ึงพอจะทำการจำแนกพืช
สมนุ ไพรพอสังเขปได้ ดงั น้ี
1. การจำแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์
1.1 น้ำมนั หอมระเหย ( Essential oil)
พชื สมุนไพรหลายชนิดสามารถนำมาสกัด นำ้ มันหอมระเหยได้โดยวิธีการกลั่น ซึ่งจะได้น้ำมันหอมระเหยมี
กล่ินหอมแตกตา่ งกนั ไปตามชนิดของพชื สมนุ ไพร น้ำมันหอมระเหยนมี้ สี ารสำคัญทีส่ กดั ออกมาซ่ึงจะใชป้ ระโยชน์ไดต้ รงตาม
วตั ถุ ประสงคม์ ากกว่า รวมท้ังการใชใ้ นปรมิ าณทีน่ ้อยกว่าเมื่อเทียบกบั การนำพชื สมุนไพรมาใช้ในรปู อน่ื ตวั อยา่ งของพืช
สมนุ ไพรทีน่ ำมาสกัดน้ำมนั หอมระเหย เช่นนำ้ มันตะไครห้ อม ใช้ในอตุ สาหกรรมผลิตสบู่ แชมพู นำ้ หอมหรอื ใช้ทำสารไลแ่ มลง
นำ้ มันไพล ใช้ในผลิตภณั ฑ์ครีมทาภายนอก ลดอาการอักเสบจากการฟกช้ำ
น้ำมันกระวาน ใชแ้ ต่งกลิ่นเหลา้ เคร่อื งด่ืมต่าง ๆ รวมทั้งใช้ในอตุ สาหกรรมน้ำหอม
น้ำมนั พลู ใช้ในอตุ สาหกรรมเครือ่ งสำอางหรือใช้เป็นเจลทาภายนอกแก้คนั

9

1.2 ยารับประทาน
พชื สมนุ ไพรหลายชนิด สามารถนำมาใชร้ บั ประทานเพ่ือรักษาอาการของโรคได้ อาจใชส้ มุนไพรชนิดเดยี ว

หรือหลายชนิดรวมกนั ก็ไดท้ งั้ นข้ี ึ้นอยกู่ ับสารสำคญั ท่ีมีอยู่ในพืชสมนุ ไพร ชนิดนน้ั ๆ ทอ่ี อกฤทธเ์ิ พ่ือการบำบัดรกั ษา เช่น
แกไ้ ข้ บอระเพ็ด ฟา้ ทะลายโจร แก้ทอ้ งอืด ท้องเฟ้อ กะเพรา ไพล ขงิ ระงับประสาท ขเี้ หล็ก ไมยราพ
ลดไขมันในเสน้ เลอื ด คำฝอย กระเจ๊ียบแดง กระเทียม

1.3 ยาสำหรบั ใชภ้ ายนอก
เป็นพชื สมนุ ไพรทส่ี ามารถนำมาบำบัดโรคท่เี กิดข้นึ ตามผิวหนัง แผลท่เี กดิ ขึ้นตามรา่ งกายรวมท้งั แผลในปาก

อาจใช้สมนุ ไพรชนดิ เดียว หรือหลายชนิดรวมกันก็ได้ ลักษณะของการนำมาใชม้ หี ลายลกั ษณะมีท้งั ใชส้ ด บดเปน็ ผง ครีม ทงั้ น้ี
ขึ้นอยูก่ ับสารสำคัญที่มีอยู่ในพชื สมุนไพร และความสะดวกในการนำมาใช้ ตัวอย่างของพืชสมุนไพรท่นี ำมาใชเ้ ป็นยาสำหรบั ใช้
ภายนอก เช่นรักษาแผลในปาก บัวบก หวา้ โทงเทง ระงบั กลิ่นปาก ฝรั่ง กานพลู แกแ้ พ้ ผักบุ้งทะเล ตำลงึ เทา้ ยายม่อม
เสลดพงั พอน รักษาแผลน้ำร้อนลวก บัวบก ยาสบู วา่ นหางจระเข้ แก้งสู วดั ตำลงึ พดุ ตาน วา่ นมหากาฬ เสลดพังพอน

1.4 ผลติ ภัณฑ์เสรมิ อาหารและเคร่ืองด่ืม
พืชสมนุ ไพรหลายชนิดสามารถนำมาทำเปน็ ผลิตภณั ฑ์จากธรรมชาติ ผบู้ ริโภคจึงรู้สึกปลอดภัยในการนำมา

รบั ประทาน เชน่ ดูดจับไขมันจากเสน้ เลือด ลดน้ำหนกั บุก เปลีย่ นไขมันเปน็ พลังงาน ลดน้ำหนกั ส้มแขก
เครอื่ งด่ืมบำรุงสุขภาพ หญ้าหนวดแมว คำฝอย หญา้ หวาน

1.5 เครอื่ งสำอาง
เป็นการนำพชื สมนุ ไพรมาใชอ้ ีกลกั ษณะหนง่ึ การนำพชื สมนุ ไพรมาใชเ้ ปน็ เคร่ืองสำอางมมี านานแลว้ และใน

ปัจจบุ ันไดร้ บั การยอมรบั มากขนึ้ เนื่องจากปลอดภัยกวา่ การใช้สารสงั เคราะห์ทางเคมี ทำให้มผี ลติ ภัณฑท์ ่ผี ลิตขน้ึ โดยมี
สว่ นผสมของพืชสมุนไพรเกดิ ขึน้ มากมาย เชน่ แชมพู ครีมนวดผม สบู่ โลชัน่ ตวั อย่างพืชสมุนไพรทีน่ ำมาใชเ้ ปน็ เคร่ืองสำอาง
เช่น อญั ชันว่านหางจระเข้ มะคำดีควาย เหด็ หลนิ จอื เปน็ ต้น

1.6 ผลติ ภัณฑป์ อ้ งกนั กำจัดศัตรพู ชื
เปน็ สมนุ ไพรทม่ี ีฤทธ์เิ บอ่ื เมาหรอื มรี สขม ซ่ึงมคี ุณสมบัติในการปราบหรอื ควบคุมปรมิ าณการระบาดของ

แมลงศัตรูพืช โดยไม่มีพษิ ตกค้างในผลผลติ ไม่มีพิษตอ่ ผ้ใู ช้และสภาพแวด
สมุนไพรกำจัดหนอน เถาบอระเพ็ด ลกู ควินนนิ เมลด็ มนั แกว้ เปลอื กต้นไกรทอง เถาวัลยย์ าง เถาวลั ยแ์ ดง ตน้ ลม้ เช้า หวั
ขมิน้ ชัน เมลด็ ลางลาด ใบแก่ดาวเรือง ชะพลู พลปู า่ กานพลู ฝักคนู ป่า ลกู ยโี่ ถ ใบมะลนิ รก หวั กลอย ใบหนามขแ้ี รด ผล /
เมลด็ ฝกั ขา้ ว สาบเสือ หางไหลขาว / แดง เปลอื กตน้ จิกสน / จิกแล เมลด็ สะเดา หนอนตาย- หยาก หวั ไพล เปลือก / ผลไม้
ตาล เมล็ด / ใบ / ต้นสบ่ตู ้น เทียนหยด ใบยอ ยาสูบ มะก ลำตาหนู ลูกสลอด
สมุนไพรไลแ่ มลง

ใบผกากรอง ใบ / ดอกตมู ดาวเรือง ใบยอ หางไหลขาว / แดง ใบ / เมลด็ นอ้ ยหน่า ใบมะระขี้นกตน้ ยาสูบ ยาฉุน
เปลอื กว่านหางจระเข้ ใบ / เมลด็ / ต้นสบู่ตน้ ใบคำแสด เมลด็ แตงไทย ใบ / ดอก / ผลลำโพง ขงิ ข่าดีปลี โหระพา

10

สะระแหน่ พรกิ ไทย กระชาย พริกสด ตะไคร้หอม / แกง กระเทยี ม ใบมะเขือเทศ ย่หี ร่า ทุเรียนเทศหวั กลอย เมลด็ ละหงุ่
เมล็ดโพธ์ิ ดอกแคขาว ดอกเฟื่องฟ้า ดอกชบา ดอกยโ่ี ถ มะกรูด สาบเสอื วา่ นน้ำ ปะทัดจีน
สมนุ ไพรกำจดั โรค ( รา แบคทเี รยี ไวรัส )

วา่ นนำ้ ลูก กะบนู ลกู ค รัก ลกู เสม็ด สาบเสือ สบตู่ น้ ลกู อินทนลิ ปา่ ลูกตะโก ลกู มะเกลือ เปลือกวา่ นหางจระเข้
เปลือกมะม่วง หิมพานต์ เปลือกมังคดุ เปลือกเงาะ เปลอื กต้นแค ใบยคู า ลิบตสั หัวไพล ใบ – มะรมุ ตน้ กระดูกไก่ ชะพลู
กานพลู หวั ขมน้ิ ชัน ลกู กลว้ ยออ่ น เปลือกงวงกล้วย ลกู ยอ่ สกุ ตน้ เทยี นหยด ใบหเู สือ พรกิ สด ราก – หมอน ต้นแสยะ ใบ
มะเขือเทศ หน่อไม้สด ลูกหมากสด สะระแหน่
สมนุ ไพรเครื่องเทศ

เปน็ สมุนไพรในกลุ่มที่นำมาใช้ประโยชนใ์ นการเป็นส่วนประกอบอาหาร โดยมากจะใช้ประโยชน์เพ่อื การปรงุ รส
มากกว่าเพอื่ ตอ้ งการคุณคา่ ทางอาหาร ถ้าหากแบง่ พชื ผักสมุนไพรออกตามอุณหภูมิท่เี หมาะสมกบั การเจริญเติบโต พอจะแบ่ง
ได้ดังนี้

สมนุ ไพร เคร่ืองเทศ เมืองร้อน ได้แก่ สมุนไพรทเี่ จริญเตบิ โตได้ดีในภมู ิอากาศท่ีมอี ุณหภูมิอยรู่ ะหวา่ ง 20-30 องศา
เซลเซียส เช่น กระเพรา โหระพา แมงลัก สะระแหน่ กระชาย ขงิ ข่า ตะไคร้ ใบมะกรดู ซ่ึงเป็นสมุนไพรท่มี ี ปลูกแพร่หลาย
ทวั่ ไปในบ้านเรา

สมุนไพร เครื่องเทศ เมืองหนาว ได้แก่ สมุนไพรท่ีเจริญเติบโตไดด้ ใี นภูมิอากาศทค่ี ่อนข้างเย็น มอี ณุ หภมู ริ ะหวา่ ง 15-
20 องศาเซลเซยี ส ซงึ่ ส่วนใหญ่ไม่มปี ลูกท่ัวไปในบ้านเรา ยกเวน้ ในพนื้ ทส่ี งู ที่มีอากาศหนาวเย็น และมกี ารสัง่ เมลด็ พนั ธเ์ุ ข้า
ทดลองปลกู แต่จะมกี ารปลกู กันมากในตา่ งประเทศ สมนุ ไพรพวกนี้ได้แก่ เบซลิ พาร์สเร่ย์ ( ผักชีฝร่ัง) เปบเปอร์ม้นิ ท์ เชอร์วลิ
ทมี ออรกิ าโน่ ไชฟ์ มาเจอร์แรม ดลิ เซจ ชอเรล เลมอน-บาร์ม

สตู รและวธิ กี ารทำผลติ ภัณฑ์สปา "ยาหม่องครีมสมนุ ไพร ขมนิ้ ตะไคร้หอม"
มรดกทางภมู ปิ ัญญาของไทย: สรรพคุณของยาหมอ่ งครมี สมุนไพรขมิน้ ตะไคร้หอม ใช้สูดแก้ลมวงิ เวียน บรรเทา
อาการปวดท้องคลื่นไส้ อาเจียน อาการไมเกรน เมาคา้ ง ดมแก้หวัด บรรเทาอาการปวดเมื่อยร่างกาย ปวดกลา้ มเน้ือ ปวดข้อ
อักเสบ ปวดเสน้ เอน็ เคล็ดขัดยอก ฟกช้ำดำเขยี ว บรรเทาอาการวงิ เวียน ใชท้ าแกผ้ ่นื คนั รกั ษากลากเกล้ือน แกเ้ คล็ดขัดยอก
ใชท้ าถอนพิษอักเสบเร้อื รงั
สว่ นผสมของผลติ ภณั ฑ์สปา "ยาหม่องครมี สมุนไพร ขม้ิน ตะไครห้ อม" ประกอบด้วย
• วาสลนิ 1/2 กโิ ลกรมั
• พาราฟีน 1/2 กโิ ลกรมั
• พมิ เสน 100 กรัม
• เมนทอลเกลด็ 300 กรัม
• การบูร 100 กรัม
• น้ำมนั ระกำ 300 กรัม
• สมุนไพรทต่ี ้องการ 200 กรัม บดหรือสกัดให้ละเอยี ด เชน่ ขม้นิ ตะไคร้หอม

11

วิธกี ารทำผลติ ภัณฑส์ ปา "ยาหมอ่ งครมี สมุนไพร ขมน้ิ ตะไครห้ อม"
• นำพิมเสน เมนทอลเกล็ด การบรู และนำ้ มันระกำ ผสมรวมกนั คนให้ละลายเป็นน้ำเนื้อเดยี วกนั พักไวก้ อ่ น (ส่วนผสมท่ี 1)
• นำหมอ้ แสตนเลสสตลี ใส่วาสลนิ และพาราฟนี ลงไป วางหม้อวาสลินลงในหม้ออีกใบท่ีใหญก่ ว่า ทำการตุ๋นดว้ ยความร้อนจาก
หม้อใบใหญท่ ่ีใสน่ ้ำ ใชไ้ ฟกลาง ๆ กวนให้เข้ากัน หา้ มใช้ความร้อนท่สี ูงเกินไป จะทำให้กลิ่นระเหยหมดและอาจทำให้เกิดไฟ
ลกุ ไหม้ได้ หลงั จากวาสลินและพาราฟนี ละลายหมดแล้ว นำส่วนผสมที่ 1 มาผสมรวมกนั คนให้ละลายจนเป็นเน้ือเดยี วกนั
• นำสว่ นผสมทไ่ี ด้บรรจุขณะเปน็ น้ำ ใส่ขวดที่เตรียมไว้ ทิ้งไว้ให้เย็นก่อนปดิ ฝา พร้อมใช้หรอื จำหนา่ ย

12

บทท่ี 3
วธิ ีดำเนนิ งาน

การดำเนินโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการแปรรปู สมนุ ไพรให้ทันสมยั กับยคุ EEC ไดด้ ำเนินการตามขนั้ ตอนต่างๆ ดงั น้ี

1. ขัน้ เตรยี มการ

 การศึกษาเอกสารทีเ่ กีย่ วข้องกับโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการแปรรปู สมนุ ไพรให้ทนั สมัย กบั ยุค EEC
ผรู้ บั ผิดชอบโครงการได้ศกึ ษาคน้ ควา้ เอกสารที่เก่ยี วข้องเพ่ือเปน็ ข้อมูลและแนวทางในการดำเนินการโครงการอบรม
เชงิ ปฏิบตั ิการแปรรูปสมุนไพรให้ทนั สมัย กับยคุ EEC ดังนี้
1. ศกึ ษาเอกสาร / คู่มือ ข้อมูลจากหนงั สอื เกีย่ วกบั การแปรรปู สมุนไพรให้ทันสมยั กับยุค EEC
เพ่อื เป็นแนวทางเกย่ี วกับการจัดโครงการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารแปรรูปสมนุ ไพรให้ทันสมัย กับยคุ EEC
2. ศกึ ษาข้นั ตอนการดำเนินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการแปรรูปสมนุ ไพรให้ทันสมยั กับยุค EEC เพือ่ เป็นแนวทางใน
การจดั เตรียมงาน วสั ดุอุปกรณ์ และบุคลากรใหเ้ หมาะสม

 การสำรวจความต้องการของประชาชนในพื้นท่ี (ตามนโยบายของรัฐบาล)
กลุม่ ภารกิจ การจัดการศึกษานอกระบบ มอบหมายให้ ครู กศน.ตำบล สำรวจความต้องการของ

กลมุ่ เป้าหมายเพ่ือทราบความตอ้ งการท่แี ท้จริงของประชาชนในตำบล และมีข้อมูลในการจดั กจิ กรรมที่ตรงกับความต้องการ
ของชุมชน

 การประสานงานผู้นำชมุ ชน / ประชาชน /วิทยากร
1. ครู กศน.ตำบล ไดป้ ระสานงานกับหวั หนา้ /ผูน้ ำชุมชนและประชาชนในตำบลเพอ่ื ร่วมกันปรึกษาหารือใน

กลุม่ เกยี่ วกบั การดำเนนิ การจัดโครงการใหต้ รงกบั ความตอ้ งการของชุมชน
2. ครู กศน.ตำบล ไดป้ ระสานงานกบั หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วข้องเพื่อจดั หาวทิ ยากร

 การประชาสมั พนั ธ์โครงการฯ
ครู กศน.ตำบล ไดด้ ำเนินการประชาสมั พนั ธก์ ารจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารแปรรูปสมุนไพรให้ทนั สมัย

กับยุค EEC เพื่อให้ประชาชนทราบข้อมูลการจัดกจิ กรรมดังกล่าวผ่านผู้นำชุมชน
 ประชมุ เตรียมการ / วางแผน
1) ประชมุ ปรกึ ษาหารือผ้ทู ีเ่ กี่ยวขอ้ ง
2) เขยี นโครงการ วางแผนมอบหมายงานใหฝ้ ่ายตา่ งๆ เตรยี มดำเนินการ
3) มอบหมายหนา้ ที่ แต่งตงั้ คณะทำงาน

13

 การรบั สมคั รผู้เขา้ รว่ มโครงการฯ
ครู กศน.ตำบล ได้รบั สมัครผูเ้ ข้ารว่ มโครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการแปรรูปสมุนไพรใหท้ นั สมัย กบั ยุค EEC

โดยใหป้ ระชาชนท่ัวไปท่ีอาศัยอยู่ในพื้นท่ีตำบลหนองขยาด เขา้ รว่ ม เปา้ หมายจำนวน 15 คน
 การกำหนดสถานท่แี ละระยะเวลาดำเนินการ
ครู กศน.ตำบล ได้กำหนดสถานทใ่ี นการจัดอบรมคือ กศน.ตำบลหนองขยาด หมู่ท่ี 7 ตำบลหนองขยาด

อำเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี ในวนั ท่ี 25 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564 จำนวน 1 วนั เวลา 08.30-15.00 น.

2. ขัน้ ดำเนินงาน

 กลุ่มเป้าหมาย
ประชาชนตำบลหนองขยาด จำนวน 15 คน

 สถานทด่ี ำเนนิ งาน
ครู กศน.ตำบล จัดกจิ กรรมโครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการแปรรปู สมุนไพรให้ทนั สมัย กับยุค EEC โดยจัด

กจิ กรรมอบรมให้ความรู้ ในวันที่ 25 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564 เวลา 08.30-15.00 น. ณ กศน.ตำบลหนองขยาด หมู่ท่ี 7
ตำบลหนองขยาด อำเภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบรุ ี

 การขออนมุ ตั แิ ผนการจัดกจิ กรรมการศกึ ษาเพือ่ พัฒนาสังคมและชุมชน
กศน.ตำบล ไดด้ ำเนนิ การขออนุมตั แิ ผนการจดั กิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาสงั คมและชุมชน โครงการ

อบรมเชิงปฏบิ ัติการแปรรปู สมนุ ไพรให้ทันสมัย กับยุค EEC ต่อสำนกั งาน กศน.จงั หวัดชลบรุ ี เพื่อให้ต้นสงั กัดอนุมตั ิแผนการ
จัดกจิ กรรมการศึกษาเพ่อื พฒั นาสงั คมและชมุ ชน

 การจดั ทำเครอื่ งมือการวัดความพงึ พอใจของผรู้ ว่ มกิจกรรม
เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการติดตามประเมินผลโครงการ ไดแ้ ก่ แบบประเมนิ ความพึงพอใจ

 ขั้นดำเนนิ การ / ปฏิบัติ
1. เสนอโครงการเพือ่ ขอความเหน็ ชอบ/อนุมัตจิ ากตน้ สังกัด
2. วางแผนการจัดกิจกรรมในโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการแปรรูปสมนุ ไพรให้ทันสมยั กับยคุ EEC โดย

กำหนดตารางกิจกรรมท่ีกำหนดการ
3. มอบหมายงานให้แก่ผ้รู บั ผิดชอบฝา่ ยตา่ งๆ
4. แตง่ ตั้งคณะกรมการดำเนินงาน
5. ประชาสมั พนั ธ์โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารแปรรูปสมนุ ไพรให้ทนั สมยั กับยุค EEC
6. จัดกิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการแปรรูปสมุนไพรให้ทันสมัย กบั ยุค EEC ตามตารางกจิ กรรมที่

กำหนดการ
7. ติดตามและประเมนิ ผลโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารแปรรูปสมนุ ไพรให้ทันสมัย กบั ยุค EEC

14

3. การประเมนิ ผล

 วเิ คราะห์ข้อมลู

1. บนั ทกึ ผลการสังเกตจากผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม

2. วิเคราะห์ผลจากการประเมินในแบบประเมนิ ความพึงพอใจ

3. รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านรวบรวมสรปุ ผลการปฏบิ ตั งิ านของโครงการนำเสนอต่อผู้บริหารนำปญั หา

ขอ้ บกพร่องไปแก้ไขครัง้ ตอ่ ไป

 คา่ สถติ ทิ ใ่ี ช้

การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าสถิติร้อยละในการประมวลผลข้อมูลส่วนตัวและตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ

ตามแบบสอบถามคดิ เป็นรายข้อ โดยแปลความหมายค่าสถิตริ ้อยละออกมาไดด้ งั น้ี

คา่ สถิตริ อ้ ยละ 90 ขึน้ ไป ดีมาก

ค่าสถติ ริ ้อยละ 75 – 89.99 ดี

คา่ สถติ ริ ้อยละ 60 – 74.99 พอใช้

ค่าสถิตริ ้อยละ 50 – 59.99 ปรบั ปรุง

ค่าสถติ ิรอ้ ยละ 0 – 49.99 ปรบั ปรุงเร่งดว่ น

ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นรายข้อซ่ึงมีลักษณะเป็นค่าน้ำหนักคะแนน และ

นำมาเปรียบเทียบ ไดร้ ะดับคุณภาพตามเกณฑ์การประเมนิ ดงั นี้

เกณฑก์ ารประเมิน (X)

ค่านำ้ หนักคะแนน 4.50 – 5.00 ระดับคณุ ภาพ คือ ดีมาก

คา่ น้ำหนักคะแนน 3.75 – 4.49 ระดบั คุณภาพ คือ ดี

ค่านำ้ หนักคะแนน 3.00 – 3.74 ระดบั คุณภาพ คือ พอใช้

คา่ น้ำหนักคะแนน 2.50 – 2.99 ระดับคณุ ภาพ คอื ตอ้ งปรับปรุง

คา่ นำ้ หนักคะแนน 0.00 – 2.49 ระดับคุณภาพ คือ ต้องปรับปรงุ เรง่ ด่วน

15

บทท่ี 4
ผลการดำเนนิ งานและการวิเคราะหข์ อ้ มูล

ตอนที่ 1 รายงานผลการจัดกจิ กรรมโครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารแปรรูปสมนุ ไพรใหท้ นั สมัย กบั ยุค EEC

การจดั กิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการแปรรูปสมนุ ไพรใหท้ ันสมัย กับยุค EEC สรุปรายงานผลการจัดกิจกรรม

ไดด้ ังน้ี

ในการจดั กิจกรรมอบรมให้ความรตู้ ามโครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการแปรรูปสมุนไพรใหท้ ันสมยั กับยุค EEC เป็นการ

อบรมให้ความรู้ โดยมี นายสธุ น ลบแทน่ เป็นวทิ ยากรในการบรรยายใหค้ วามรู้ เรื่อง ความเป็นมาของ EEC ความเปน็ มา

ของการแปรรปู สมุนไพร ประเภท ประโยชนข์ องแปรรปู สมุนไพร การนำไปใช้ การจัดจำหนา่ ยและการประชาสมั พนั ธ์

การแปรรูปสมุนไพรเพอ่ื การรบั ตลาด EEC ฝกึ ปฏิบัติการทำยาหมอ่ งสมนุ ไพร หลงั จากเสรจ็ สิ้นกจิ กรรมดังกล่าวแล้ว ผ้เู ขา้ รับ

การอบรมมีความรู้และเข้าใจการแปรรูปสมนุ ไพรให้ทันสมัยกับยคุ EEC สามารถนำความรู้ไปพัฒนาชมุ ชนให้มคี วามเข้มแข็ง

ได้

ตอนที่ 2 รายงานผลความพึงพอใจของโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการแปรรูปสมนุ ไพรใหท้ นั สมัย กบั ยคุ EEC

การจดั กิจกรรมโครงการอบรมเชงิ ปฏิบัติการแปรรปู สมุนไพรใหท้ นั สมยั กับยคุ EEC ซง่ึ สรุปรายงานผลจาก

แบบสอบถามความคิดเห็น ข้อมูลที่ได้สามารถวเิ คราะห์และแสดงค่าสถติ ิ ดงั นี้

ตารางที่ 1 ผ้เู ข้าร่วมโครงการทต่ี อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามเพศ

รายละเอยี ด เพศ
ชาย หญิง

จำนวน (คน) - 15

รอ้ ยละ - 100.00

จากตารางท่ี 1 พบวา่ ผูต้ อบแบบสอบถามทเี่ ขา้ ร่วมกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชุมชน

โครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารแปรรูปสมุนไพรใหท้ ันสมยั กับยคุ EEC เป็นหญิง จำนวน 15 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100

ตารางท่ี 2 ผ้เู ข้าร่วมโครงการท่ีตอบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามอายุ

รายละเอยี ด อายุ (ปี)

อายุ 15-29 30 - 39 40 - 49 50-59 60 ข้นึ ไป

จำนวน (คน) 1 1 - 5 8

ร้อยละ 6.67 6.67 - 33.33 53.33

จากตารางที่ 2 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามท่ีเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาสงั คมและชุมชน

โครงการอบรมเชิงปฏบิ ัติการแปรรปู สมุนไพรใหท้ ันสมัย กับยุค EEC มีอายุ 15-29 ปี จำนวน 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 6.67

มีอายุ 30-39 ปี จำนวน 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 6.67 มอี ายุ 50-59 ปี จำนวน 5 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 33.33 และมีอายุ 60 ปขี นึ้

ไป จำนวน 8 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 53.33

ตารางที่ 3 ผเู้ ข้ารว่ มโครงการท่ีตอบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามอาชีพ 16

รายละเอยี ด เกษตรกรรม รับจ้าง อาชพี ค้าขาย อน่ื ๆ
รบั ราชการ/รัฐวสิ าหกิจ 1 9
6.67 60.00
จำนวน (คน) 1 4 -

ร้อยละ 6.67 26.66 -

จากตารางที่ 3 พบวา่ ผูต้ อบแบบสอบถามทเี่ ข้ารว่ มกจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาสงั คมและชุมชน
โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแปรรปู สมุนไพรให้ทนั สมัย กับยุค EEC มอี าชีพเกษตรกรรม จำนวน 1 คน คิดเปน็ ร้อยละ 6.67
มีอาชพี รับจา้ ง จำนวน 4 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 26.66 มีอาชพี ค้าขาย จำนวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 6.67 และอาชีพอนื่ ๆ
จำนวน 9 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 60.00

ตารางท่ี 4 ผเู้ ข้าร่วมโครงการท่ตี อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามระดบั การศึกษา

รายละเอียด ระดับการศกึ ษา

การศึกษา ประถม ม.ต้น ม.ปลาย/ปวช. ปวส./ป.ตรีขึน้ ไป
-
จำนวน (คน) 15 - - -

รอ้ ยละ 100.00 - -

จากตารางที่ 4 พบวา่ ผูต้ อบแบบสอบถามทเ่ี ขา้ ร่วมกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชมุ ชน
โครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารแปรรปู สมุนไพรให้ทันสมยั กับยคุ EEC มีระดบั ประถม จำนวน 15 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100

ตารางที่ 5 แสดงคา่ รอ้ ยละเฉลยี่ ความสำเร็จของตัวชีว้ ัด ผลผลติ ประชาชนท่ัวไป
เข้าร่วมโครงการจำนวน 15 คน

เปา้ หมาย(คน) ผลสำเรจ็ ของโครงการ คิดเป็นรอ้ ยละ
15 ผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ(คน) 100

15

จากตารางท่ี 5 พบว่าผลสำเร็จของตวั ช้วี ัดผลผลติ กิจกรรมการศกึ ษาเพ่อื พฒั นาสงั คมและชมุ ชน
โครงการอบรมเชิงปฏบิ ัติการแปรรปู สมุนไพรใหท้ นั สมัย กับยคุ EEC มผี ูเ้ ข้ารว่ มโครงการ
จำนวน 15 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ซ่งึ บรรลุเป้าหมายดา้ นตวั ช้วี ดั ผลผลิต

17
ตารางท่ี 6 ค่าเฉลย่ี และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมท่ีมคี วามพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชิง

ปฏิบตั ิการแปรรปู สมุนไพรให้ทนั สมยั กบั ยุค EEC ในภาพรวม

รายการ คา่ เฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับ

() () ความพึงพอใจ

ด้านบริหารจดั การ 4.61 0.52 ดมี าก

ดา้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 4.46 0.50 ดี

ด้านประโยชนท์ ี่ได้รบั 4.53 0.51 ดมี าก

รวมทกุ ดา้ น 4.53 0.51 ดมี าก

จากตารางท่ี 6 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามทม่ี ีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการแปรรปู สมนุ ไพรให้

ทนั สมยั กับยุค EEC ในภาพรวมอยูใ่ นระดับดมี าก (=4.53) เมือ่ พจิ ารณาเปน็ รายด้าน พบวา่ ดา้ นบริหารจดั การ อย่ใู น

ระดบั ดมี าก มีค่าเฉล่ีย (= 4.61) รองลงมาคือ ด้านประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั มอี ยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลย่ี (= 4.53) และ ดา้ น

การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ อยู่ในระดับดี มีคา่ เฉลี่ย (= 4.46) ตามลำดบั โดยมสี ว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน () อยูร่ ะหวา่ ง

0.50 - 0.51 แสดงว่า ผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรมมีความพงึ พอใจสอดคล้องกนั

ตารางท่ี 7 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่มีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชิง

ปฏิบตั ิการแปรรปู สมนุ ไพรใหท้ ันสมยั กบั ยคุ EEC ด้านบรหิ ารจดั การ

รายการ คา่ เฉลีย่ ส่วนเบย่ี งเบน ระดับ
() มาตรฐาน () ความพึงพอใจ

1. อาคารสถานท่ี 4.60 0.49 ดีมาก

2. สิ่งอำนวยความสะดวก 4.47 0.50 ดี

3. กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนนิ โครงการ 4.47 0.50 ดี

4. เอกสารการอบรม 4.80 0.54 ดมี าก

5. วทิ ยากรผู้ให้การอบรม 4.73 0.44 ดมี าก

รวม 4.61 0.49 ดมี าก

จากตารางท่ี 7 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามท่ีมีความพงึ พอใจตอ่ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการแปรรูปสมุนไพรให้
ทนั สมัย กับยุค EEC ดา้ นบริหารจัดการ ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย (= 4.61) เม่ือพจิ ารณาเป็นรายข้อ พบว่า
เอกสารการอบรม มีค่าเฉลี่ย (= 4.80) รองลงมา คือ วิทยากรผู้ให้การอบรม มีค่าเฉล่ีย (= 4.73) อาคารสถานท่ี มี
ค่าเฉลี่ย (= 4.60) ส่ิงอำนวยความสะดวก มีค่าเฉลี่ย (= 4.60) และกำหนดการและระยะเวลาในการดำเนินโครงการ มี
ค่าเฉลี่ย (= 4.47) ตามลำดับ โดยมีส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.44 - 0.54 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมี
ความคิดเหน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั

18
ตารางท่ี 8 คา่ เฉลีย่ และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมท่ีมีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชิง
ปฏิบตั กิ ารแปรรูปสมุนไพรให้ทนั สมัย กบั ยคุ EEC ด้านการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

รายการ ค่าเฉล่ยี สว่ นเบ่ยี งเบน ระดบั
() มาตรฐาน () ความพงึ พอใจ
6. การจดั กจิ กรรมโครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารแปรรปู 4.33
สมุนไพรให้ทนั สมัย กับยุค EEC 0.47 ดี
7. การให้ความรเู้ รื่องการแปรรูปสมุนไพรให้ทนั สมยั 4.53
กับยคุ EEC 0.50 ดมี าก
8. การตอบข้อซักถามของวทิ ยากร 4.53
9. การแลกเปลี่ยนเรียนรขู้ องผูเ้ ข้ารบั การอบรม 4.20 0.50 ดีมาก
10. การสรุปองค์ความรู้รว่ มกัน 4.67 0.40 ดี
11. การวดั ผล ประเมินผล การฝึกอบรม 4.47 0.47
4.46 0.50 ดีมาก
รวม 0.47 ดี
ดี

จากตารางที่ 8 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมคี วามพงึ พอใจต่อโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการแปรรปู สมนุ ไพรให้
ทันสมัย กับยคุ EEC ดา้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ในภาพรวมอยู่ในระดบั ดี มีคา่ เฉลย่ี (= 4.46) เม่อื พจิ ารณาเป็นราย
ขอ้ พบวา่ การสรปุ องค์ความรรู้ ่วมกัน มคี ่าเฉลย่ี (= 4.67) รองลงมาคอื การใหค้ วามรู้เรือ่ งการแปรรูปสมนุ ไพรให้ทันสมัย
กบั ยุค EEC มคี า่ เฉล่ีย(= 4.53 ) การตอบข้อซักถามของวิทยากร มีค่าเฉลย่ี (= 4.53 ) การวัดผล ประเมนิ ผล การ
ฝกึ อบรม มีคา่ เฉล่ีย (=4.47) การจัดกิจกรรมโครงการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารแปรรปู สมนุ ไพรให้ทันสมัย กับยุค EEC มี
ค่าเฉลี่ย (= 4.33) และการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ของผู้เขา้ รับการอบรม มีค่าเฉลยี่ ( = 4.20) ตามลำดับ โดยมสี ว่ น
เบี่ยงเบนมาตรฐาน () อย่รู ะหวา่ ง 0.40 - 0.50 แสดงวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเหน็ สอดคลอ้ งกัน

ตารางท่ี 9 คา่ เฉล่ยี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมทม่ี ีความพงึ พอใจต่อโครงการอบรมเชิง
ปฏิบตั กิ ารแปรรูปสมนุ ไพรให้ทนั สมัย กับยุค EEC ด้านประโยชนท์ ีไ่ ดร้ บั

รายการ คา่ เฉล่ยี ส่วนเบีย่ งเบน ระดบั ความ
() มาตรฐาน () พงึ พอใจ
12. ไดเ้ รียนร้แู ละฝึกตนเอง เกยี่ วกบั ทำยาหมอ่ ง 4.47
สมนุ ไพร 0.50 ดี
13. นำความรู้ท่ีได้รับมาปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั
4.60 0.49 ดีมาก
รวม 4.53 0.49 ดมี าก

19
จากตารางท่ี 9 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการแปรรูปสมุนไพรให้
ทันสมัย กับยุค EEC ด้านประโยชน์ที่ได้รับ ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉล่ีย (= 4.53) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ
พบว่า นำความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน มีค่าเฉล่ีย (= 4.60) รองลงมา ได้เรียนรู้และฝึกตนเอง เก่ียวกับทำ
หน้ากากอนามัย มีค่าเฉล่ีย (= 4.47) โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.49 - 0.50 แสดงว่าผู้ตอบ
แบบสอบถามมีความคดิ เหน็ ไปในทิศทางเดยี วกัน

สรุปในภาพรวมของกจิ กรรมคดิ เป็นร้อยละ 90.78 มคี ่าน้ำหนกั คะแนน 4.53 ถือว่าผู้รับบรกิ าร
มคี วามพึงพอใจทางด้านต่างๆ อยู่ในระดับดีมาก โดยเรียงลำดบั ดังนี้

 อนั ดับแรก ด้านบริหารจดั การ คิดเป็นร้อยละ 92.72 มีคา่ น้ำหนักคะแนน 4.66 อยใู่ นระดบั คุณภาพ
ดีมาก

 อนั ดบั สอง ดา้ นประโยชนท์ ไ่ี ด้รับ คิดเป็นร้อยละ 90.67 มคี า่ น้ำหนักคะแนน 4.53 อยใู่ นระดับคณุ ภาพดีมาก
 อนั ดับสาม ด้านการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ คดิ เป็นร้อยละ 89.11 มคี า่ น้ำหนกั คะแนน 4.46 อยใู่ นระดับ
คุณภาพดี

บทที่ 5 20
อภิปรายและข้อเสนอแนะ

ผลการจัดกิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏบิ ัติการแปรรปู สมุนไพรให้ทนั สมัย กบั ยุค EEC ได้ผลสรปุ ดงั น้ี

วัตถุประสงค์

1. เพ่อื ใหผ้ เู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
2. เพอ่ื ให้ผู้รว่ มกจิ กรรม นำความรู้ทีไ่ ดร้ บั มาปรับใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน

เปา้ หมาย (Outputs)

เปา้ หมายเชิงปริมาณ
- ประชาชนตำบลหนองขยาด จำนวน 15 คน

เป้าหมายเชิงคณุ ภาพ
- ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม มคี วามรู้และเขา้ ใจการแปรรูปสมนุ ไพรให้ทันสมัยกบั ยุค EEC สามารถนำความร้ไู ป

พัฒนาชุมชนให้มีความเข้มแข็งได้
เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล

เครื่องมือที่ใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ในครง้ั นี้ คือ แบบประเมินความพงึ พอใจ
การเกบ็ รวบรวมข้อมูล

ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ได้มอบหมายให้ ครู กศน.ตำบล ที่รับผิดชอบกจิ กรรมแจกแบบสอบถามความพงึ พอใจ
ใหก้ บั ผรู้ ว่ มกิจกรรม โดยให้ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมประเมนิ ผลการจัดกิจกรรมตา่ งๆ ตามโครงการอบรมเชิงปฏบิ ัติการแปรรปู
สมุนไพรให้ทนั สมัย กับยุค EEC
สรุปผลการดำเนนิ งาน

กศน.ตำบลหนองขยาดไดด้ ำเนินการจดั กิจกรรมตาม โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารแปรรูปสมุนไพรใหท้ นั สมยั กบั ยุค
EEC โดยดำเนินการเสรจ็ สนิ้ ลงแล้วและสรปุ รายงานผลการดำเนินงานไดด้ ังนี้

1. ผู้ร่วมกิจกรรมจำนวน 15 คน มีความรแู้ ละเขา้ ใจการแปรรูปสมนุ ไพรให้ทันสมยั กับยุค EEC สามารถนำความรู้ไป
พัฒนาชุมชนให้มีความเข้มแข็งได้

2. ผู้ร่วมกิจกรรมร้อยละ 90.67 นำความรู้ที่ไดร้ ับมาปรบั ใช้ในชีวิตประจำวนั
3. จากการดำเนนิ กจิ กรรมตามโครงการดงั กล่าว สรปุ โดยภาพรวมพบว่า ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมส่วนใหญ่มีความพงึ พอใจ
ตอ่ โครงการ อยู่ในระดับ “ดีมาก ” และบรรลุความสำเร็จตามเป้าหมายตวั ช้ีวดั ผลลพั ธ์ทต่ี งั้ ไว้ โดยมีค่าเฉลีย่ รอ้ ยละภาพรวม
ของกจิ กรรม 90.78 และคา่ การบรรลเุ ปา้ หมายค่าเฉล่ีย 4.53

ข้อเสนอแนะ
- อยากใหม้ ีการจัดกจิ กรรมอีก จะไดน้ ำความรู้ไปใชใ้ นการดำเนินชวี ติ ต่อไป

บรรณานกุ รม

ที่มา
กรมการศึกษานอกโรงเรยี น (2546)
บญุ ชม ศรสี ะอาด และ บุญส่ง นิลแก้ว (2535 หน้า 22-25)
กระทรวงศึกษาธกิ าร . (2543).
https://www.angelfire.com/ri2/rangsan/important.html
https://dokkaew.wordpress.com/2013/08/03/%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B
8%B2%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87-
%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%9E%E0%B8%A3/

ภาคผนวก

แผนการจดั กิจกรรมการศึกษาเพ่อื พฒั นาสังคมและชมุ ชน

โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการแปรรปู สมนุ ไพรใหท้ ันสมยั กับยคุ EEC













หนงั สือขออนุเคราะหว์ ทิ ยากร/หนงั สอื เชญิ วิทยากร

งานผลการจัดกจิ กรรม

โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารแปรรูปสมุนไพรให้ทันสมัย กับยุค EEC จำนวน 1วัน
ในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2564

ณ กศน.ตำบลหนองขยาด หมู่ท่ี 7 ตำบลหนองขยาด อำเภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบรุ ี
วทิ ยากรคือ นายสธุ น ลบแทน่
ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมจำนวน 15 คน

แบบสอบถามความพงึ พอใจ
โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการแปรรปู สมนุ ไพรใหท้ นั สมยั กับยุค EEC ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

กศน.อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี

คำช้ีแจง

1. แบบสอบถามฉบับนีม้ วี ัตถปุ ระสงค์ เพ่ือใช้ในการสอบถามความพึงพอใจตอ่ โครงการอบรมเชิงปฏบิ ัติการแปรรปู สมนุ ไพรใหท้ นั สมยั กับยคุ
EEC
2. แบบสอบถามมี 3 ตอนดังนี้

ตอนท่ี 1 ถามข้อมูลเกีย่ วกบั ผตู้ อบแบบสอบถามจำนวน 4 ข้อ ใหท้ ำเคร่ืองหมาย ✓ ลงในช่องให้ตรงกบั สภาพจรงิ
ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจตอ่ โครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารแปรรปู สมนุ ไพรให้ทนั สมยั กับยคุ EEC จำนวน 13 ข้อ ซ่ึงมีระดับความ
พึงพอใจ 5 ระดบั ดังน้ี

5 มากทส่ี ดุ หมายถึง มคี วามพงึ พอใจมากทส่ี ดุ
4 มาก หมายถงึ มีความพึงพอใจมาก
3 ปานกลางหมายถึง มคี วามพงึ พอใจปานกลาง
2 นอ้ ย หมายถึง มคี วามพึงพอใจน้อย
1 น้อยทสี่ ดุ หมายถึง มคี วามพงึ พอใจนอ้ ยทีส่ ดุ
ตอนที่ 3 ขอ้ คดิ เห็นและข้อเสนอแนะตอ่ โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแปรรปู สมนุ ไพรใหท้ ันสมยั กบั ยุค EEC

ตอนท่ี 1 ข้อมูลทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม หญงิ 40 ปี – 49 ปี

เพศ 30 ปี – 39 ปี
ชาย 60 ปีขนึ้ ไป

อายุ
15 ปี – 29 ปี
50 ปี – 59 ปี

การศกึ ษา ต่ำกว่า ป.4 ป.4 ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย
ประกอบอาชพี อนปุ ริญญา ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี

รบั จ้าง
คา้ ขาย
เกษตรกร
ลูกจา้ ง/ขา้ ราชการหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชน
อื่น ๆ ………………………………….

ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจเก่ียวกับโครงการอบรมเชิงปฏบิ ัติการแปรรปู สมนุ ไพรให้ทันสมยั กับยคุ EEC

ข้อท่ี รายการ ระดับความคิดเห็น 1
5 432

ด้านบรหิ ารจัดการ

1. อาคารและสถานที่

2. สิง่ อำนวยความสะดวก

3. กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนนิ โครงการ

4. เอกสารการอบรม

5. วทิ ยากรผู้ใหก้ ารอบรม

ด้านการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

6. การจัดกจิ กรรมโครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการแปรรูปสมุนไพร

ใหท้ นั สมัย กบั ยคุ EEC

7. การใหค้ วามร้เู ร่ืองการแปรรปู สมนุ ไพรให้ทนั สมัย กับยุค EEC

8. การตอบข้อซกั ถามของวิทยากร

9. การแลกเปลี่ยนเรยี นร้ขู องผเู้ ข้ารับการอบรม

10. การสรุปองคค์ วามรรู้ ว่ มกนั

11. การวัดผล ประเมนิ ผล การฝกึ อบรม

ดา้ นประโยชน์ที่ไดร้ ับ

12 ไดเ้ รียนรู้และฝึกตนเอง เก่ียวกบั ปฏิบัติการทำยาหม่อง

สมุนไพร

13 นำความร้ทู ีไ่ ดร้ บั มาปรับใชใ้ นชวี ิตประจำวนั

ตอนท่ี 3 ข้อคดิ เห็นและข้อเสนอแนะ

ข้อคดิ เห็น ..............................................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................................................

ขอบขอบคุณทใ่ี ห้ความรว่ มมือ
กศน. อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบรุ ี

คณะผ้จู ดั ทำ

ที่ปรกึ ษา หมืน่ สา ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอพนัสนิคม
การงานดี ครู
1. นางณชั ธกญั ทำทอง ครผู ู้ช่วย
2. นางสาวมุทิกา ศรบี ุณยะแก้ว ครผู ชู้ ่วย
3. นางพริ ุฬห์พร
4. นางสาวณภษร ครู อาสาสมัคร กศน.
ครู กศน.ตำบลหนองขยาด
คณะทำงาน คลังสนิ ธ์
เอมเปยี ครู กศน.ตำบลหนองขยาด
1. นางสาวเฟ่อื งฟ้า
2. นางสาวนฤมล

บรรณาธิการ เอมเปยี

- นางสาวนฤมล


Click to View FlipBook Version