The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ปาริชาต หวังชัย, 2021-11-14 03:50:51

โปสเตอร์วิจัย

โปสเตอร์วิจัย

Keywords: โปสเตอร์วิจัย

บทคัดย่อ สรุปผลและอภิปรำยผล

การวิจยั ครั้งนีม้ วี ัตถปุ ระสงค์เพื่อ 1) ศกึ ษาผลของวิธสี อนแบบออนไลน์ ท่ีมีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ผลการศึกษาพบว่า ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ท่ีเรียนโดยวิธีสอนแบบออนไลน์ ท่ีมี
วิทยาการคานวณ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนบ้านหยงสตาร์ จังหวัดตรัง ก่อนเรียน - หลัง ต่อผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนวิชาวิทยาการคานวณ ของนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 โรงเรียนบ้านหยงสตาร์
เรียน โดยเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาการคานวณ ก่อน จังหวัดตรัง ผลสัมฤทธ์ขิ องนักเรียนหลังเรียนสงู กว่าก่อนเรียน ซ่งึ สอดคล้องกบั
เรียน - หลังเรียน ท่ีเกิดจากการเรียนโดยวิธีสอนแบบออนไลน์ แบบแผนการวิจัยแบบกลุ่มเดียววัดผลก่อน
ทดลองและหลังการทดลอง (One-Group Pretest Posttest Design) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนช้ัน 1. การหาค่าเฉลีย่ ของคะแนนจากแบบทดสอบ ก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน โดยเริ่มเรียนจาก
ประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนบ้านหยงสตาร์ จานวน 15 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เนื้อหาท่ีมีระดับง่ายไปยาก ผลปรากฏว่า นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน
เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัย คือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาวิทยาการคานวณ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 2) แสดงว่านักเรียนไม่เคยมคี วามรู้ในเนื้อหาวิชานมี้ าก่อน จึงทาใหน้ ักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจท่ีไม่มากพอ ทา
ระบบออนไลน์ ได้แก่ Line Meeting และ Google Forms 3) แบบฝึกหัดในหนังสือวิชาวิทยาการคานวณ ช้ัน ให้คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนต่า ซ่ึง (น้าเพชร สินทอง, 2541, หน้า 16) กล่าวถึงคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ประถมศึกษาปีท่ี 6 4) แบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน วิชาวิทยาการคานวณ สถิติท่ีใช้ในวิเคราะห์ สรุปได้ว่า คอมพิวเตอร์ช่วยสอนท่ีออกแบบตามแนวคิดของทฤษฎีพฤติกรรมนิยมนี้ จะมีโครงสร้างของ
ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่ ค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน และการเปรียบเทียบคา่ เฉลี่ย T – Test Pairs บทเรียนในลักษณะเชิงเส้นตรง โดยผเู้ รียนทกุ คนจะได้รับการเสนอเนื้อหาในลาดับทเ่ี หมือนกันและตายตวั ซ่ึง
เป็นลาดับท่ีผู้สอนได้พิจารณาแล้วว่าเป็นลาดับการสอนท่ีดี และผู้เรียนจะสามารถเรียนรู้ได้อย่างมี
ผลการวิจัยสรปุ ได้ดงั น้ี 1) ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวิชาวิทยาการคานวณ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ ประสิทธิภาพมากท่ีสุด ดังนั้น เมื่อนักเรียนได้ความรู้จากการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ นักเรียนก็จะเกิดความรู้
6 ก่อนเรียนแบบวธิ ีสอนออนไลน์ นักเรียนมีผลการเรียน อยู่ในระดบั ตา่ กว่าเกณฑ์รอ้ ยละ 70 จานวน 10 คน ความเข้าใจในเนื้อหา ทาให้ผเู้ รียนเกิดความเข้าใจท่ถี กู ต้อง จึงทาใหน้ ักเรียนมีพัฒนาการดีขึ้น
และ เมื่อนักเรียน เรียนวิชาวิทยาการคานวณ แบบออนไลน์ นักเรียนมีผลการเรียน อยู่ในระดับสูงกว่าเกณฑ์
ร้อยละ 70 จานวน 13 คน 2) คะแนนสอบก่อนเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ( ҧ = 10.87) 2. การเปรียบเทียบคะแนนก่อนและหลังโดยวิธีสอนแบบออนไลน์ ผลปรากฏว่าคะแนนท่ีได้จากการทา
(S.D. = 4.14) และคะแนนสอบหลังเรียน ( ҧ = 16.13) (S.D. = 2.64) แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทาง แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนแตกต่างกนั อย่างมนี ยั สาคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดบั .05 ซ่งึ ตรงกับสมมติฐาน
สถิตทิ ่รี ะดับ .05 ท่ตี ั้งไว้ คือ ผลสัมฤทธิ์รายวิชาวิทยาการคานวณ หลังเรียนโดยวิธสี อนแบบออนไลน์ สูงกว่าก่อนเรียน แสดง
ว่านักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 เมื่อได้รับการสอนโดยการใช้เครื่องมือท่ีเหมาะสมกับสถานการณ์ ใน
บทนำ ระยะเวลาสั้นในการเรียน อีกทง้ั มแี บบฝึก ทม่ี คี วามยากง่ายตามความเหมาะสมกับระดับชั้น จึงทาให้คะแนน
ของนกั เรียนมีการพัฒนาเพิม่ ข้ึน ดังที่ (วิทยา วาโย, 2563 : บทคัดย่อ) กล่าวไว้สรุปได้ว่า การท่ีผู้เรียนได้
การศึกษาถือว่าเป็นเรื่องท่ีสาคัญมากสาหรับทุกประเทศ โดยให้ความสาคัญแก่ผู้เรียนเป็นหลัก ยึดผู้เรียน ฝึกหดั หรือกระทาซา้ ๆบ่อยๆ ย่อมจะทาให้เกิดความสมบูรณ์ถูกต้อง ซ่ึงกฎนี้เป็นการเน้นความมั่นคงระหว่าง
เป็นสาคัญ เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง รู้จักแสวงหาความรู้ การเชือ่ มโยงและการตอบสนองที่ถกู ต้องย่อมนามาซง่ึ ความสมบูรณ์ ทง้ั นเี้ นื้อหาท่ีนามาเรียนเป็นความรู้ใหม่
ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติให้ แต่เมื่อนักเรียนได้ผ่านการทาซ้าแล้ว จะทาให้นักเรียนสามารถนาความรู้เดิมมาใช้ได้ จึงทาให้นักเรียนมี
นักเรียนคิดเป็น ทาเป็น ปลูกฝังคุณธรรมทุกสาขาวิชา ด้วยรูปแบบและวิธีการท่ีหลากหลาย จะนาไปสู่การ พัฒนาการท่ีดีขึ้น เนื่องจากเนื้อหาท่ีนามาสอน มีความน่าสนใจ บวกกับการเลือกใช้เครื่องในการสอน และ
พฒั นาคุณภาพ ประสิทธภิ าพ และขีดความสามารถของผู้เรียน (สานกั เลขาธิการสภาการศึกษา, 2548 : 5) ทาให้เกิดผลดีกับนักเรียนในผลสมั ฤทธ์ิ

จากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid19) ส่งผลต่อผลกระทบต่อการเรียนการสอนในชั้นเรียน ขอ้ เสนอแนะ
เปน็ อย่างมาก จึงทาให้เกิดการปฏิรปู การศึกษาขึน้ (marketingoops,2020) สถาบันการศึกษาในหลายประเทศ
นาเทคโนโลยีต่าง ๆ มาใช้เพื่อเปิดการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ ส่งผลให้ทั้ง “ครูและนักเรียน 1. เนื่องจากวิชานี้เป็นวิชาท่ีเน้นการลงมือปฏิบัติ และผู้เรียนท่ีมีความแตกต่างกัน ผู้วิจัยจึงเสนอ
นักศึกษา” หันไปใช้หลักสตู รการเรียนการสอน“ออนไลน”์ เพือ่ ท่ผี เู้ รียนสามารถเรียนไดจ้ ากทางไกล แนวความคิดวา่ ควรมีการบนั ทกึ การสอนระหว่างการเรียน ถ้านักเรียนไม่เข้าใจในเนื้อหา หรือทาตามไม่ทัน
กจ็ ะสามารถย้อนกลับไปเปิดดูVDOในการเรียนการสอนได้ เพื่อลดปญั หาในการทาไม่ทันและไมเ่ ข้าใจเนื้อหา
จากสภาพปญั หาทีก่ ล่าวข้างตน้ ทาใหผ้ วู้ ิจัยไดศ้ กึ ษาผลของวิธสี อนแบบออนไลน์ ทีม่ ีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการ ของนักเรียนในชั้นเรียน
เรียนวิชาวิทยาการคานวณ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนบ้านหยงสตาร์ จังหวัดตรัง ใน 2. ครคู วรมีการเตรียมสื่อการสอน โดยใชเ้ ครื่องต่าง ๆในการสอน ไม่เพียงแคก่ ารสอนแบบปกติ
สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (Covid19) เป็นวิชาท่ีต้องการสอนขึ้นในรูปแบบ Online โดยใช้ 3. แบบฝึกหัดท่ีสร้างขึ้นควรให้เนื้อหาตรงกับความสนใจ เหมาะสมกับวัย และมีความยากง่ายตรงตาม
Line Meeting ในการเรียนการสอน ซึง่ จะศกึ ษาผลของวิธสี อนแบบออนไลน์ ทีม่ ีตอ่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่อ ระดบั ช้ันของนกั เรียน
ผู้เรียน เพื่อให้เปน็ ประโยชน์ต่อการเรียนการสอนผ่านระบบอินเทอร์เน็ตในรูปแบบการเรียนการสอนต่อไป 4. ครูควรแบบฝึกหดั ที่ใชใ้ นการเรียนการสอน สาหรับนกั เรียนในระดับชนั้ อืน่ ๆ เพื่อเปน็ การต่อยอดการสอน
ของนกั เรียนใหต้ ่อเนื่องกันไป
วิธีดำเนินกำรวิจยั 5. ควรมีการเก็บขอ้ มูลการประเมินความพึงพอใจจากผู้เรียนด้วย เพราะจะช่วยให้รู้ว่าผลการเรียนรู้ท่ีสูงขึ้น
นั้น นักเรียนมีความพงึ พอใจในวธิ ีการสอนในรูปแบบน้มี ากน้อยเพียงใด
แบบแผนกำรวิจัย : การวิจัยคร้ังนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) ใช้แบบแผนการวิจัย
เอกสำรอำ้ งอิง
แบบกลุ่มเดียววดั ผลก่อนทดลองและหลงั การทดลอง (One - Group Pretest Posttest Design)
น้าเพชร สินทอง. (2541). กำรศึกษำเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ ำงกำรเรียนและควำมวิตกกงั วล
ประชำกร : นักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนบา้ นหยงสตาร์ จงั หวดั ตรงั ภาคเรยี นที่ 1 จานวน 15 คน ระหวำ่ งกำรอบรมเลี้ยงดแู บบเข้มงวดกวดขนั แบบมีเหตุผลและแบบปล่อยปละ
เลย ของนักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษำปที ี่ 5 โรงเรียนสวนกุหลำบวทิ ยำลยั นนทบุรี ปี
กล่มุ ตวั อยำ่ ง : นักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 โรงเรียนบ้านหยงสตาร์ จังหวดั ตรัง ภาคเรียนที่ 1 จานวน 15
กำรศึกษำปที ี่ 2541. วิทยานิพนธศ์ กึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต,มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง.
คน ซ่งึ ใชว้ ิธีการสุ่ม แบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling)
วิทยา วาโย. (2563). ทฤษฎีกำรทำซำ้ . กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง.
เครือ่ งมือที่ใชว้ ิจยั :

1. แผนการจดั การเรียนรู้ 2. ระบบออนไลน์ ได้แก่ Line Meeting และ Google Forms

3. แบบฝึกหัดในหนังสือวิชาวิทยาการคานวณ 4. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน

กำรเกบ็ รวบรวมข้อมลู :

1. ช้ีแจ้งการจดั กิจกรรมการเรียนผ่านระบบออนไลน์ โดยใช้ Line Meeting

2. ใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน ผา่ น Google Forms

3. การเรียนจะสือ่ สารผ่านทาง Line Meeting

4. เรียนจบหน่วยให้ทาแบบทดสอบหลงั เรียน

5. นาผลคะแนนมาเปรียบเทยี บคา่ เฉลี่ยก่อนและหลังเรียน


Click to View FlipBook Version