The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1 โรงเรียน 1 นวัตกรรม การบริหารจัดการสถานศึกษา Spititual School 2567

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by THAI CHANAL, 2024-01-24 10:40:45

1 โรงเรียน 1 นวัตกรรม การบริหารจัดการสถานศึกษา Spititual School 2567

1 โรงเรียน 1 นวัตกรรม การบริหารจัดการสถานศึกษา Spititual School 2567

“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ก ครูประจ ำช้ัน คุณครูห ้ องส ื่อ ค ำมำ ประจ ำภำคเรียนที่ ๑ ปี กำรศึกษำ ๒๕๖๖ โรงเรียนห้องสื่อครูคอมวิทยำคม สำ นกังำนเขตพ้ื นที่กำรศ ึ กษำประถมศ ึ กษำสกลนครเขต ๘ SPIRITUAL SCHOOL


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ข คำนำ ตามที่สำนักงานเลขาธิการคุรุสภาได้ดำเนินคัดสรรผลงาน “หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมสนับสนุนนให้สถานศึกษาได้สร้างสรรค์นวัตกรรมที่เหมาะสมกับบริบท และเพื่อคัดสรร ผลงานนวัตกรรมที่มีคุณค่าทางวิชาการและเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการศึกษา และพัฒนาวิชาชีพอย่าง ต่อเนื่อง ดังนั้นโรงเรียนวัดเนกขัมมารามจึงได้เห็นความสำคัญของการจัดการศึกษาและการบริหารสถานศึกษา จึงได้ดำเนินจัดทำนวัตกรรม “การบริหารจัดการสถานศึกษา SPIRITUAL SCHOOL ในการดำเนินการส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” เพื่อใช้ในการพัฒนาและขับเคลื่อนกิจกรรมต่าง ๆ ของ สถานศึกษา รายงานผลการดำเนินการบริหารและการจัดการสถานศึกษาด้วย “การบริหารจัดการสถานศึกษา SPIRITUAL SCHOOL ในการดำเนินการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” เพื่อนำเสนอ ผลงาน “หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ของโรงเรียนวัดเนกขัมมาราม ประจำปี ๒๕๖๗ ฉบับนี้ ประกอบด้วย บททสรุป ความเป็นมาและความสำคัญ วัตถุประสงค์ กระบวนการพัฒนาผลงาน ข้อเสนอเสนอแนะและแนว ทางการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จุดเด่นหรือลักษณะพิเศษของผลงานนวัตกรรม หวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพของการจัดการศึกษาของ โรงเรียนวัดเนกขัมมาราม และส่งผลให้เกิดการสร้างสรรค์ผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาผู้เรียนและ การศึกษาต่อไป โรงเรียนวัดเนกขัมมาราม


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ค สารบัญ เรื่อง หน้า สารบัญ ค ๑.หน้าปก ๑ ๒.บทสรุป ๕ ๓.ความเป็นมาและความสำคัญ ๖ ๔.วัตถุประสงค์ ๗ ๕.กระบวนการพัฒนาผลงานหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม ๗ ๑) สภาพปัญหาก่อนการพัฒนา ๗ ๒) การออกแบบนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา ๗ ๓) ขั้นตอนการดำเนินงานพัฒนา ๘ ๔) ผลงานที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงาน ๒๔ ๕) สรุปสิ่งที่เรียนรู้และการปรับปรุงให้ดีขึ้น ๓๖ ๖) การขยายผลและเผยแพร่ผลการพัฒนา ๓๖ ๖. ข้อเสนอแนะและแนวทางการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ๓๗ ๗. จุดเด่น หรือลักษณะพิเศษของผลงานนวัตกรรม ๓๗ ๘.บรรณานุกรม ๓๘ ๘. ภาคผนวก ๓๙


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๑ แบบ นร. ๑ การนำเสนอผลงาน “หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี ๒๕๖๗ ๑. หน้าปก ประกอบด้วย ๑) ชื่อผลงานหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม การบริหารจัดการสถานศึกษา SPIRITUAL SCHOOL ในการดำเนินการ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ๒) ระยะเวลาดำเนินงานตั้งแต่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ถึง ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๖ ๓) การส่งผลงานหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม ( กรุณาระบุ ✓ลงใน ที่ตรงกับผลงาน ) เป็นผลงานที่ไม่เคยส่งเข้ารับการคัดสรรกับคุรุสภา เป็นผลงานที่เคยส่งเข้ารับการคัดสรรกับคุรุสภา ปี ....... เรื่อง ........แต่ไม่ได้รับรางวัลของคุรุสภา เป็นผลงานที่เคยได้รับรางวัลของคุรุสภาและมีการนำมาพัฒนาเพิ่มเติม หรือต่อยอดนวัตกรรม (ต้องกรอกแบบ นร. ๒) ๔) ประเภทผลงานหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม ( กรุณาระบุ √ ลงใน ที่ตรงกับผลงาน) (เลือกได้เพียง ๑ ด้านเท่านั้น) การจัดการเรียนรู้ สื่อ เทคโนโลยี และสิ่งประดิษฐ์เพื่อการเรียนรู้ การบริหารและการจัดการสถานศึกษา การส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้เต็มศักยภาพ การวัดและประเมินผล ๕) ข้อมูลสถานศึกษา ชื่อสถานศึกษา.......วัดเนกขัมมาราม............. เลขที่......๓............. ถนน..................................................... ตำบล/แขวง..........หน้าไม้............. อำเภอ/เขต.........ลาดหลุมแก้ว...............จังหวัด..........ปทุมธานี............. รหัสไปรษณีย์๑๒๑๔๐ โทรศัพท์ ๐๒-๙๗๗๖๖๘๑ โทรสาร ๐๒๙๗๗๖๖๘๑ ๖) สังกัด ๑. สพป. ปทุมธานี เขต ๑ ๒. สพม.... เขต .......... ๓. สอศ. ๔. สช. ๕. กทม. ๖. อปท. ............. ๗. กศน. ๘. ศูนย์การศึกษาพิเศษ ๙. อื่น ๆ (โปรดระบุ)............................... ๗) ผู้บริหารสถานศึกษา ชื่อผู้บริหารสถานศึกษา (นาย/นาง/นางสาว/อื่นๆ).......อภิชาติ............. นามสกุล .........ลำภูพินิจพงศ์........ เลขบัตรประชาชน ............................ ตำแหน่ง......ผู้อำนวยการ........วิทยฐานะ............................................. โทรศัพท์เคลื่อนที่............................................E-mail : ……………………………………………………………………… ๘) คณะผู้ร่วมพัฒนาผลงานนวัตกรรม (ครู /นักเรียน/ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง จำนวนตามจริง ) ๘.๑) (ผู้ประสานงาน) (นาย/นาง/นางสาว/อื่นๆ)........อาตีกะห์...... นามสกุล ................มะหะหมัด................. เลขบัตรประชาชน .....1139800004111.... ตำแหน่ง............ครู..........วิทยฐานะ........ไม่มีวิทยฐานะ.......... โทรศัพท์เคลื่อนที่.....0988656455........E-mail : …..…arteekahmahamad17@gmail.com…….…… ๘.๒) (นาย/นาง/นางสาว/อื่นๆ)................ทิพย์วัลย์.......... นามสกุล .......................เอี่ยมยั่งยืน........................ เลขบัตรประชาชน ....1730200241232....... ตำแหน่ง.........ครูผู้ช่วย............วิทยฐานะ..................-.......... โทรศัพท์เคลื่อนที่.....................0912732504................E-mail : …tippawan.gade@gmail.com…… ๘.๓) (นาย/นาง/นางสาว/อื่นๆ)...........จินตนา.............. นามสกุล .................ดาวัลย์........................................ เลขบัตรประชาชน ......3341100015355....... ตำแหน่ง............ครู..........วิทยฐานะ..........ชำนาญการ........ โทรศัพท์เคลื่อนที่..........0808329888.........E-mail : ………chintana.pocky@gmail.com…………..… ๘.๔) (นาย/นาง/นางสาว/อื่นๆ)............กาญจนา........... นามสกุล ..........................เลิศจริยา.......................... เลขบัตรประชาชน ....1339900314714... ตำแหน่ง.........ครู...........วิทยฐานะ...............ไม่มีวิทยฐานะ........ โทรศัพท์เคลื่อนที่.............0610693800.........E-mail : ……………kanjana93800@gmail.com………… ๘.๕) (นาย/นาง/นางสาว/อื่นๆ).................ปิยะดา................. นามสกุล .......................คนตรง......................... เลขบัตรประชาชน ....1129900204601........... ตำแหน่ง.........ครูผู้ช่วย..........วิทยฐานะ............-............... โทรศัพท์เคลื่อนที่............0827914252............E-mail : ……Piyada1993@hotmail.com………………. เอกสารแนบท้ายประกาศ ✓ ✓ ✓


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๒ ๘.๖) (นาย/นาง/นางสาว/อื่นๆ)................อชิรญา........... นามสกุล ......................การะเกตุ.................................. เลขบัตรประชาชน .....1720200115636... ตำแหน่ง.........ครูผู้ช่วย...........วิทยฐานะ....................................... โทรศัพท์เคลื่อนที่..........0959644860...........E-mail : ………achiraya.dao@gmail.com………..…………… ลงชื่อ .......................................................... (นายอภิชาติ ลำภูพินิจพงศ์) ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดเนกขัมมาราม


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๓ แบบ นร. ๒ แบบนำเสนอผลงานหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม (กรณีผลงานที่ส่งเป็นการพัฒนาเพิ่มเติมหรือต่อยอดนวัตกรรมจากผลงานเดิม) ๑. ชื่อผลงานใหม่ (กรณีเปลี่ยนชื่อจากผลงานเดิม) ………การบริหารจัดการสถานศึกษา SPIRITUAL SCHOOL ในการดำเนินการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑.................................................... ๒. ชื่อผลงานเดิม ...........SPIRIT SCHOOL โรงเรียนสร้างสร้างคนดี................................................................. ๓. ปีที่ได้รับรางวัล ……………………๒๕๖๔………………………………… (กรณีได้รับรางวัลหลายปีให้ระบุปีล่าสุด) ๔. รางวัลที่ได้รับ เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง ๕. ผลงานระดับ ประเทศ ภูมิภาค ๖. ประเภทผลงานนวัตกรรม (ผลงานเดิม) การจัดกระบวนการเรียนรู้ การบริหารและจัดการสถานศึกษา การจัดการเรียนรู้ การส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้เต็มศักยภาพ สิ่งประดิษฐ์ และสื่อ จิตวิทยา เทคโนโลยีการศึกษา และ Digital For Learning หลักสูตร เทคโนโลยีการศึกษา แหล่งเรียนรู้ ดิจิตัลเพื่อการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล สื่อและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ อื่น ๆ .............................................................. สื่อ เทคโนโลยีและสิ่งประดิษฐ์เพื่อการเรียนรู้ ๗. สรุปสาระสำคัญ เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างผลงานเดิมกับผลงานใหม่ ผลงานเดิม ผลงานใหม่ ๑.กรอบแนวคิด การจัดทำผลงาน/นวัตกรรมการถอดบทเรียน (Best Practice) เป็นกระบวนการปฏิบัติงานที่เป็น ระบบ มีการบูรณาการและมีความเชื่อมโยงกันซึ่งใน กระบวนการอาจมีผลงานนวัตกรรม วิธีการเฉพาะ ก ร ณี ห ร ื อคุ ณลัก ษณะเ ฉ พา ะห รื อสื ่อเป็น ส่วนประกอบแต่ต้องเป็นส่วนที่มีความสำคัญในการ สนับสนุนและส่งผลสำเร็จที่เป็นเลิศโครงการ เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลใน สถานศึกษา“ป้องกันการทุจริต” (โครงการโรงเรียน สุจริต) กำหนดคุณลักษณะ ๕ประการของโรงเรียน สุจริต การจำทำนวัตกรรมการบริหารจัดการสถานศึกษา SPIRITUAL SCHOOL ในการดำเนินการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ มีจุดเด่นที่ ครอบคลุมกระบวนการจัดการเรียนการสอนทั้งต่อผู้เรียน ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ชุมชน ตลอดจนเป็นที่ยอมรับใน สังคมและสามารถเป็นแบบอย่างที่ดีในการพัฒนา สถานศึกษาโดยน้อมนำพระบรมราโชวาทในรัชกาลที่ ๙ ที่ทรงให้ยึดหลัก"มุ่งส่งเสริมคนดี" และในพระบรมราโชบาย ด้านการศึกษาในรัชกาลที่ ๑๐ ที่ทรงเน้นด้านความเป็น "มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง – มีคุณธรรม” ๒.ขั้นตอนการ พัฒนา กระบวนการออกแบบนวัตกรรมสอดคล้องกับ จุดประสงค์โดยมีแนวคิดสำคัญรองรับอย่าง สมเหตุสมผลโดยมีแนวคิดสอดคล้องกันเชื่อมโยงโดย ใช้กระบวนการ PDCA เป็นการขับเคลื่อน SPIRIT SCHOOL ลงสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม กระบวนการออกแบบนวัตกรรมสอดคล้องกับ จุดประสงค์โดยมีแนวคิดสำคัญรองรับอย่างสมเหตุสมผล โดยมีแนวคิดสอดคล้องกันเชื่อมโยงโดยใช้กระบวนการ PDCA เป็นการขับเคลื่อน SPIRITUAL SCHOOL ลงสู่การ ปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ✓ ✓ ✓


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๔ ผลงานเดิม ผลงานใหม่ ๓.ผลที่เกิดขึ้น ๑) ผลในการเสริมสร้างการบริหารด้านคุณธรรม จริยธรรม ๒)เกิดผลสัมฤทธิ์ด้านความสำเร็จในการแก้ปัญหา คุณธรรมจริยธรรมในรูปแบบโรงเรียนสุจริต ๓)เกิดการขยายเครือข่ายต่อยอดผลนวัตกรรม SPIRIT SCHOOL ในการสร้างเสริมแนวทางการ พัฒนาโรงเรียนสุจริตในกลุ่มโรงเรียนเครือข่าย ๑) ผลที่เกิดสำเร็จด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา SPIRITUAL SCHOOLในการดำเนินการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ๒) เกิดผลสัมฤทธิ์ด้านความสำเร็จ ในการนำไปใช้ แก้ปัญหาการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทักษะใน ศตวรรษที่ ๒๑ ในสถานศึกษา และมีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ตามเป้าหมายที่โรงเรียนกำหนดไว้ ๓) เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน และมีการต่อยอดขยาย ผลนวัตกรรม SPIRITUAL SCHOOL ในการสร้างเสริม คุณธรรมจริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ใน สถานศึกษาของกลุ่มเครือข่ายทั้งผู้บริหาร ครู ผู้เรียน ชุมชนและบุคคลทั้งในและนอกสถานศึกษา ๔.สิ่งที่ได้เรียนรู้ โรงเรียนวัดเนกขัมมารามมีนวัตกรรม SPIRIT SCHOOL ดำเนินการส่งเสริมคุณธรรม ประชาธิปไตย ให้ผู้เรียน และบุคลากรในการสร้าง ความสามัคคี สมานฉันท์ ต่อต้านการทุจริต และยึดมั่นในจิตสำนึก รับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม และเป็นพลเมืองที่มีจิต อาสา ดำรงชีวิตโดยรู้จักความพอพียง เป็นแบบอย่าง ที่ดีของชุมชน หลักการบริหารจัดการสถานศึกษา SPIRITUAL SCHOOL ในการดำเนินการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ มีการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณอัน พึงประสงค์ที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรมตามเป้าหมายที่ สถานศึกษากหนดไว้ ซึ่งขับเคลื่อนโรงเรียนวัดเนกขัมมา ราม ประสบความสำเร็จจนสามารถเป็นที่ยอมรับและมี ความพึงพอใจของกลุ่มเครือข่าย และบุคคลที่มีส่วนได้เสีย ขององค์กร ร้อยละ ๘๘.๒๕ ซึ่งเหมาะที่จะขับเคลื่อน ๑ โรงเรียน ๑ นวัตกรรม ซึ่งในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยการบริหาร“SPIRITUAL SCHOOL ในการดำเนินการ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” จำเป็นต้องมีกระบวนการ PDCA ควบคุมการดำเนินงาน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด อีกทั้งยังต้องคำนึงถึงบริบท ของสถานศึกษา และบุคคลที่ร่วมขับเคลื่อน ข้อจำกัดใน การนำหลักการบริหาร“SPIRITUAL SCHOOL ในการ ดำเนินการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทักษะใน ศตวรรษที่ ๒๑” ไปใช้ปรับในสถานศึกษา คือ ๑.บริบทของ สถานศึกษา ๒.บุคลลากรที่ร่วมขับเคลื่อนทั้งภายในและ ภายนอกสถานศึกษา ๓.เป้าหมายของสถานศึกษา ลงชื่อ .......................................................... (นายอภิชาติ ลำภูพินิจพงศ์) ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดเนกขัมมาราม


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๕ ๒. บทสรุป โรงเรียนวัดเนกขัมมาราม ดำเนินการขับเคลื่อนพัฒนาสถานศึกษา ในด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้วย รูปแบบ “การบริหารจัดการสถานศึกษา SPIRITUAL SCHOOL ในการดำเนินการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” โดยกำหนดตัวแบบ หรือโมเดลจากการพัฒนาต่อยอดจาก SPIRIT SCHOOL เป็น ร ู ป แ บ บ ใ น ช ื ่ อ ว ่ า SPIRITUAL SCHOOL ซ ึ ่ ง เ ป ็ น Best Practice ใ น ด ้ า น ก า ร บ ร ิ ห า ร ง า น ข อ ง โรงเรียนวัดเนกขัมมาราม และกำหนดเป็นตัวแบบการบริหารงาน และใช้ตัวแบบดังกล่าวสร้างเป็นวัฒนธรรม การบริหารงานในโรงเรียนวัดเนกขัมมาราม ขับเคลื่อนบูรณาการเชื่อมโยง SPIRITUAL SCHOOL ลงสู่ กระบวนการจัดการเรียนการสอน โดยน้อมนำพระบรมราโชวาทในรัชกาลที่ ๙ ที่ทรงให้ยึดหลัก"มุ่งส่งเสริมคนดี" และในพระบรมราโชบายด้านการศึกษาในรัชกาลที่ ๑๐ ที่ทรงเน้นด้านความเป็น "มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง – มี คุณธรรม " จากเรื่องดังกล่าวจึงได้น้อมนำสืบสาน พระราชปณิธาน สร้างการบริหารจัดการสถานศึกษา SPIRITUAL SCHOOL ในการดำเนินการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ทั้งในและ ภายนอกสถานศึกษา ซึ่งนำไปสู่การพัฒนาและปรับเปลี่ยนเป็นพฤติกรรมที่พึงประสงค์ได้อย่างยั่งยืนและนำไป ขยายเครือข่ายได้ การดำเนินงานโรงเรียนโดยใช้กระบวนการ PDCA เป็นการขับเคลื่อน SPIRITUAL SCHOOL ลงสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม โรงเรียนวัดเนกขัมมารามเป็นโรงเรียนขนาดกลาง มีนักเรียนจำนวน ๑๒๐ คน ที่มีพื้นฐานมาจากครอบครัวที่แตกต่าง อีกทั้งเป็นโรงเรียนพหุวัฒนธรรม เช่น ศาสนา เชื้อชาติ ความเป็นอยู่ เป็น ต้น และเพื่อให้ทุกคนอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างเข้าใจและโดยสันติสุข จึงถือเป็นหน้าที่ที่ทางผู้บริหารสถานศึกษา ครูและผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาเพื่อสร้างให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมนำตนเอง ผ่านการขับเคลื่อน โดยใช้เทคนิคการบริหาร SPIRITUAL SCHOOL เพื่อนำสถานศึกษาสู่ ๑ โรงเรียน ๑ นวัตกรรม โดยนวัตกรรมการบริหารจัดการสถานศึกษา SPIRITUAL SCHOOL ในการดำเนินการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ มีจุดเด่นที่ครอบคลุมกระบวนการจัดการเรียนการสอนทั้งต่อผู้เรียน ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ชุมชน ตลอดจนเป็นที่ยอมรับในสังคมและสามารถเป็นแบบอย่างที่ดีในการพัฒนา สถานศึกษา ดังนี้ ด้านผู้เรียน - ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองอย่างเต็มศักยภาพ จนได้รับรางวัลต่าง ๆ มากมายจากการเรียนรู้และลงมือ ปฏิบัติด้วยตนเอง กระบวนการคิดวิเคราะห์ ในกิจกรรมของนักเรียน เช่น กิจกรรมหิ้วปิ่นโตเข้าวัด ทั้งการแข่งขัน ประกวดระดับโรงเรียน กลุ่มเครือข่าย ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ด้านครูผู้สอน -ครูเกิดกระบวนการการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ร่วมกันตามแนวทางชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพPLC ระหว่างครูผู้สอน ชุมชน ทำให้ครูสามารถพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย และเหมาะสมกับความ แตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน และเพิ่มศักยภาพในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ - ครูเกิดการพัฒนาตนเอง สามารถสร้างผลงานจนเป็นที่ยอมรับ ประจักษ์ และเป็นแบบอย่างที่ดีได้ นำไปสู่การนำเสนอผลงานทั้งภายในและนอกสถานศึกษาสถานศึกษาจนได้รับรางวัลต่าง ๆ หลากรายรายการ


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๖ ด้านผู้บริหารและสถานศึกษา - โรงเรียนวัดเนกขัมมาราม โล่รางวัล โรงเรียนที่มีวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ(Best Practices) ระดับยอดเยี่ยม ตามจุดเน้นที่ 6 การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ - ได้รับการยกระดับรับรองคุณภาพเป็น “โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ระดับ ๓ ดาว ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๖ ตามกิจกรรมโรงเรียนดีต้องมีที่ยืน โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ของกลุ่มพื้นที่การศึกษา ประจำเขตตรวจราชการที่ ๒ - รางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติในฐานะผู้อำนวยการสถานศึกษาดีเด่น นายอภิชาติ ลำภูพินิจพงศ์ ประจำปี พุทธศักราช ๒๕๖๕ สภาผู้ปกครองและครูแห่งประเทศไทย ด้านชุมชน - กิจกรรมของนักเรียนโรงเรียนวัดเนกขัมมาราม ได้รับการยอมรับ และขอความร่วมมือยังชุมชน เช่น กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาวัดเนกขัมมาราม กิจกรรมเปิดบ้านวิชาการ(Open House) ทอดผ้าป่าเพื่อ การศึกษา ฯลฯ - ผู้ปกครองนักเรียนมีความพึงพอใจในการบริหารจัดการของโรงเรียนวัดเนกขัมมาราม ๓. ความเป็นมาและความสำคัญ ด้วยสภาพสังคมในยุคปัจจุบันที่มีปัญหาด้านการขาดคุณธรรมต่าง ๆ ปรากฏให้เห็นทางสื่อต่าง ๆ อันเป็น แบบอย่างในด้านลบต่อเยาวชน เช่น ปัญหาภาวะมารยาททางสังคมบกพร่อง การทุจริต คอร์รัปชัน การขาด คุณธรรมในการดำเนินชีวิต และปัญหาการขาดทักษะความคิดเชิงระบบที่มีเหตุผลอย่างเป็นขั้นตอนก่อให้เกิดเป็น แบบอย่างที่ผิดให้แก่เยาวชนในวัยเรียน กลายเป็นพฤติกรรมการเสพติดในค่านิยมที่หลงผิดและกระบวนการเรียน การศึกษาที่ไม่ตอบโจทย์ และไม่สะท้อนผลค่านิยมความสำเร็จ ในการผลิตคนดีมีคุณธรรมสู่สังคมด้วย จึงกำหนด ตัวแบบ หรือนวัตกรรมจากการพัฒนาต่อยอดจาก SPIRIT SCHOOL เป็นรูปแบบในชื่อว่า SPIRITUAL SCHOOL ในด้านการบริหารงานของโรงเรียนวัดเนกขัมมาราม โดยการกำหนดเป็นตัวแบบการบริหารงาน เพื่อสร้างเป็น วัฒนธรรมการบริหารงานในโรงเรียนวัดเนกขัมมาราม ขับเคลื่อนบูรณาการเชื่อมโยง SPIRITUAL SCHOOL ลงสู่ กระบวนการจัดการเรียนการสอน โดยน้อมนำพระบรมราโชวาทในรัชกาลที่ ๙ ที่ทรงให้ยึดหลัก"มุ่งส่งเสริมคนดี" และพระบรมราโชบายด้านการศึกษาในรัชกาลที่ ๑๐ ที่ทรงเน้นการด้านการศึกษาต้องมุ่งสร้างพื้นฐานให้แก่ ผู้เรียน "มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง – มีคุณธรรม” จากพระบรมราโชบายดังกล่าวจึงได้น้อมนำสืบสาน พระราช ปณิธาน สร้าง การบริหารจัดการสถานศึกษา SPIRITUAL SCHOOL ในการดำเนินการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ตัวแบบการบริหารที่สามารถพัฒนาระบบ ธรรมาภิบาลจัดการศึกษาให้ บูรณาการเชื่อมโยงสู่การบริหารการศึกษาอย่างเป็นระบบทั้ง ผู้เรียน ครู ผู้บริหาร และชุมชน ที่สร้างผู้เรียนให้มี คุณลักษณะที่ดี ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศในการเป็นพลเมืองต้นแบบที่ดี และพัฒนาครูผู้สอนให้เป็นผู้มี คุณธรรม จริยธรรม มีกระบวนการสร้างนวัตกรรมการสอนที่สามารถตอบโจทย์บริบทของสังคมในการพัฒนาคน คือผู้เรียนและอาศัยสิ่งสำคัญคือการมีส่วนร่วมของชุมชนในการร่วมพัฒนาซึ่งทั้งหมดเป็นการดำเนินการบริหาร ผ่านกระบวน PDCA รูปแบบนวัตกรรมการบริหารและการจัดการสถานศึกษา SPIRITUAL SCHOOL การ ดำเนินการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๗ ๔. วัตถุประสงค์ (๑) เพื่อขับเคลื่อน SPIRITUAL SCHOOL ให้เป็นนวัตกรรม ด้านการปลูกฝัง ดำเนินการส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ พัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาให้เกิดประสิทธิผลและ บูรณาการเชื่อมโยงลงสู่ตัวผู้เรียนได้อย่างเป็นระบบ (๒) เพื่อใช้ SPIRITUAL SCHOOL สร้างภูมิคุ้มกัน (ด้านการป้องกัน) ผ่านการบริหาร และนำไปสู่ กระบวนการจัดการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน (๓) เพื่อสร้างเครือข่าย SPIRITUAL SCHOOL ให้ครู นักเรียน ผู้บริหาร ชุมชน มีส่วนร่วม ในการ เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา ๕. กระบวนการพัฒนาผลงานหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม ๑) สภาพปัญหาก่อนการพัฒนา ด้วยสภาพสังคมในยุคปัจจุบันที่มีปัญหาด้านการขาดคุณธรรมต่าง ๆ ปรากฏให้เห็นทางสื่อต่าง ๆ อันเป็น แบบอย่างในด้านลบต่อเยาวชน เช่น ปัญหาภาวะมารยาททางสังคมบกพร่อง การทุจริต คอร์รัปชัน การขาด คุณธรรมในการดำเนินชีวิต และปัญหาการขาดทักษะความคิดเชิงระบบที่มีเหตุผลอย่างเป็นขั้นตอนก่อให้เกิดเป็น แบบอย่างที่ผิดให้แก่เยาวชนในวัยเรียน กลายเป็นพฤติกรรมการเสพติดในค่านิยมที่หลงผิดและกระบวนการเรียน การศึกษาที่ไม่ตอบโจทย์ และไม่สะท้อนผลค่านิยมความสำเร็จ ในการผลิตคนดีมีคุณธรรมสู่สังคมด้วย จึงกำหนด ตัวแบบ หรือนวัตกรรมจากการพัฒนาต่อยอดจาก SPIRIT SCHOOL เป็นรูปแบบในชื่อว่า SPIRITUAL SCHOOL ในด้านการบริหารงานของสถานศึกษา เพื่อสร้างให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมนำตนเอง ขับเคลื่อนในการ บริหารการศึกษาอย่างเป็นระบบทั้ง ผู้เรียน ครู ผู้บริหาร และชุมชน ที่สร้างผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่ดีเพื่อ ตอบสนองพระบรมราโชบาย ของพระพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ทรงเน้นด้านการศึกษาต้องมุ่งสร้างพื้นฐานให้แก่ผู้เรียน "มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง – มี คุณธรรม” ๒)การออกแบบนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา กระบวนการออกแบบนวัตกรรมสอดคล้องกับจุดประสงค์โดยมีแนวคิดสำคัญรองรับอย่างสมเหตุสมผล โดยมีแนวคิดสอดคล้องกันเชื่อมโยงโดยใช้กระบวนการ PDCA เป็นการขับเคลื่อน SPIRITUAL SCHOOL ลงสู่ การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ดังนี้ - Plan การวางแผนประชาสัมพันธ์ ประชุม ชี้แจงนวัตกรรมการบริหารเพื่อขับเคลื่อน SPIRITUAL SCHOOL -Do การนำลงสู่การปฏิบัติโดยการจัดการเรียนการสอน การจัดกิจกรรม การสร้างสรรค์ สื่อต่าง ๆ สู่ผู้เรียน -Check การใช้นิเทศ กำกับ การติดตามผลการดำเนินการตามขั้นตอน ตรวจสอบการดำเนินการตามระยะเวลา - Act การประเมินผลสำเร็จในการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ผ่านทางกิจกรรมและผลสำเร็จด้วยวิธีการที่หลากหลาย การใช้กระบวนการออกแบบสู่ นวัตกรรม SPIRITUAL SCHOOL ผ่าน PDCA เป็นการขับเคลื่อนลงสู่ การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ประกอบไปด้วย ๑. S : Smart Student มุ่งพัฒนาศักยภาพผู้เรียนให้เป็นเยาวชนต้นแบบด้านคุณธรรมจริยธรรม มีวินัย สุจริต มีจิตอาสา มีทักษะการคิด และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๘ ๒. P : Process Teach ส่งเสริมพัฒนา ยกระดับความสามารถครูและบุคลากรทางการศึกษา ต้นแบบ ที่ดีแก่ผู้เรียน มีบทบาทเป็น Coach สร้างศักยภาพผู้เรียนให้เกิดผลสำเร็จมีนวัตกรรมการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพ ๓. I : Identity Focus บริหารจุดเด่นมุ่งเน้นอัตลักษณ์สร้างเป้าหมายสู่การต่อยอดการเรียนรู้มุ่งเน้น ประสิทธิภาพ ๔. R : Research & Development สร้างเสริมประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการเชิงบูรณาการ ส่งเสริมพัฒนางานวิจัยในชั้นเรียนสู่การต่อยอดผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนและปลูกฝังคุณธรรมความซื่อสัตย์ ความพอเพียงเพื่อพัฒนาคนและการศึกษา ๕. I : Implementation พัฒนาประยุกต์ปรับใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อสร้างเยาวชนต้นแบบ โดยเน้น การรู้จักนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อสร้างเยาวชนต้นแบบให้มีจิตสำนึกคิดด้านคุณธรรม สุจริต จิตอาสา ความพอเพียง ๖. T : Team learning พัฒนาส่งเสริมเครือข่าย/ชุมชนเพื่อร่วมจัดการศึกษา สร้างทีมงานให้มีการ บริหารความร่วมมือที่เข้มแข็ง ครูมีความเป็น Team Work ชุมชนมีส่วนร่วมแบบพหุภาคี เป็น ชุมชนต้นแบบ ๗. U : Unity ความเป็นเอกภาพ ความสามัคคีในการบริหารจัดการการศึกษา ความเป็นเอกภาพ ความสามัคคีในการบริหารจัดการการศึกษาการร่วมมือ สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการ ศึกษาที่มีคุณภาพ ๘. A : Active กระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงรุกกระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ส่งเสริมกระบวนการ เรียนรู้ที่ก่อให้เกิดการพัฒนาเชิงบวกทั้งตัวผู้เรียน และตัวครู ปรับการเรียนรู้เปลี่ยนการสอน ๙. L : Learning การพัฒนาการจัดการเรียนรู้การเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญและการเรียนรู้ด้วย ตนเองจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ๓) ขั้นตอนการดำเนินงานพัฒนา กระบวนการออกแบบสู่ นวัตกรรม SPIRITUAL SCHOOL ผ่าน PDCA เป็นการขับเคลื่อนลงสู่ การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ประกอบไปด้วย Spiritual School


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๙ FLOW CHART SPIRITUAL SCHOOL IN PUT นวัตกรรมการบริหารจัดการสถานศึกษา SPIRITUAL SCHOOL ครู : มีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนให้มีผู้มีคุณธรรม จริยธรรม ในทักษะศตวรรษที่ ๒๑ ผู้บริหาร : มีนวัตกรรมการบริหาร Best Practice ชุมชน : มีส่วนร่วมในการพัฒนาความสำเร็จ OUT PUT ผลสำเร็จที่เกิดขึ้น ในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๑๐ การขับเคลื่อนตามขั้นตอนการดำเนินงาน ๙ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ ๑ Smart Student มุ่งพัฒนาศักยภาพผู้เรียน ๑. เน้นการส่งเสริมด้านคุณธรม จริยธรรมควบคู่การจัดการเรียนรู้ ปลูกจิตสำนึกสร้างเสริมวิถี ประชาธิปไตย ความสามัคคี สมานฉันท์ และยึดมั่นในจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม และเป็นพลเมือง แบบอย่างที่ดีของสังคม ๒. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับบริบทแวดล้อม และนำหลักสูตรไปสู่การ ปฏิบัติให้เกิดประสิทธิภาพ และจัดการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับความจำเป็นและความต้องการของผู้เรียน และ ชุมชน ๓. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่ให้นักเรียนเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติจนเกิดทักษะ (Active Skill) เพิ่ม และขยายโอกาสการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีให้มากขึ้น พัฒนาทักษะกระบวนการคิด ทักษะชีวิต และทักษะทาง อาชีพเพื่อให้ผู้เรียนเตรียมพร้อม สาหรับการวางแผนงานในอนาคต ๔. ส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนเพิ่มขีดความสามารถของตนเอง ด้วยทักษะการคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา ตั้งเป้าหมายตามความถนัดตนเองสู่ความเป็นเลิศในด้านต่าง ๆ ที่ประเทศ และนานาชาติต้องการ กลยุทธ์ที่ ๒ Process Teach ส่งเสริมพัฒนา ยกระดับความสามารถครูและบุคลากรทางการศึกษา ๑) สร้างทัศนคติที่ดี ส่งเสริม พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เป็นผู้มีคุณธรรมเพื่อเป็นต้นแบบ ให้ผู้เรียนส่งเสริมปลูกฝังทัศนคติด้านการมีคุณธรรม จริยธรรม และการยึดมั่นในการเป็นข้าราชการที่ดี ให้มีความ ตระหนักในจรรยาบรรณ ความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ และเกียรติศักดิ์ทางวิชาชีพครู ๒) พัฒนากระบวนการการจัดการเรียนการสอน Active Learning แบบสร้างองค์ความรู้ร่วมกับผู้เรียน เป็นภาวะผู้นำทางวิชาการ สามารถพัฒนาออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ใช้สื่อเทคโนโลยี สร้างสรรค์ นวัตกรรมมาใช้ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีการวัดและประเมินผล การเรียนรู้อย่างเป็นระบบ ๓) ส่งเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีการพัฒนาตนเองตามศักยภาพ ให้เป็นครูมืออาชีพ สามารถสร้างการยอมรับด้วยผลสำเร็จของงาน มีการทำงานเป็นทีมและมีจิตอาสา ๔) สนับสนุนให้มีการสร้างภาคีเครือข่าย แลกเปลี่ยนและขยายผลความรู้ในการสร้างชุมชนแห่งการ เรียนรู้ทางวิชาชีพ ( PLC ) อย่างเป็นระบบ มีศูนย์การจัดการความรู้เพื่อจัดเก็บองค์ความรู้อย่างมีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ ๓ Identity Focus บริหารจุดเด่นมุ่งเน้นอัตลักษณ์สร้างเป้าหมายสู่การต่อยอดการเรียนรู้ ๑) สร้างจุดเน้น อัตลักษณ์ให้ผู้เรียนมีความคลอบคลุมเชื่อมโยง บูรณาการเข้ากับระบบการบริหารงาน อย่างรวดเร็วมีความเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ ๒) สร้างคู่นิยมที่มีเป้าหมายการมุ่งส่งเสริมการทำความดีให้เกิดพฤติกรรมเลียนแบบเชิงบวกโดยส่งเสริม ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนให้ผู้เรียนได้คิดอย่างเป็นระบบ เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้และแสวงหา ความรู้ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้พัฒนาฐานข้อมูลด้านการศึกษาและด้านอื่นที่เกี่ยวข้องให้มีมาตรฐานครอบคลุม เป็นปัจจุบัน ๓) บริหารโดยมุ่งเน้นเป้าหมายเพื่อมุ่งผลสัมฤทธิ์ พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จิตอาสา ความพอเพียง รู้จักประมาณ และประเมินตนเอง ๔. ส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นผู้พัฒนาเทคโนโลยีด้วยตนเอง เพื่อกระตุ้นความสามารถและสร้างเครือข่าย สหวิทยากรระหว่างผู้เรียนเพื่อการเรียนรู้อย่างเท่าทันเทคโนโลยี


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๑๑ กลยุทธ์ที่ ๔ Research & Development สร้างเสริมประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการเชิง บูรณาการ ๑) มีระบบการบริหารจัดการที่ชัดเจน คลอบคลุมสอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพันธกิจ ตรงตามบริบทของ สถานศึกษา คือ บ ว ร ตอบโจทย์ด้าน เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา ๒) พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้สอดคล้องกับภารกิจที่มีของสถานศึกษาเพื่อ ความคุ้มค่า และสร้างความพร้อมต่อการประเมินภายนอกให้ประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง ๓ ให้มีการใช้และพัฒนระบบดิจิทัล จัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ สำหรับการบริหารจัดการที่ครอบคลุมและ คุ้มค่าสามารถเชื่อมโยงกับภารกิจด้านต่าง ๆให้มีประสิทธิภาพทั้งในและนอกสถานศึกษา ๔) พัฒนาระบบการบริหารบนหลักธรรมาภิบาล โดยถือประโยชน์ราชการเป็นสำคัญ และปฏิบัติราชการ ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆที่ถูกต้องเพื่อสร้างระบบการการบริหารงานที่มีมาตรฐาน กลยุทธ์ที่ ๕ Implementation พัฒนาประยุกต์ปรับใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อสร้างเยาวชนต้นแบบ ๑) เน้นให้ผู้เรียนมีทักษะรู้จักนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อสร้างเยาวชนตันแบบ ให้มีจิตสำนึก ติดตัวด้านคุณธรรม สุจริต จิตอาสา ความพอเพียง ๒) พัฒนาผลิตผล ( Out Put )จากหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา ด้วยศักยภาพของนักเรียน ให้เป็นผู้มี คุณลักษณะที่สังคมต้องการมีคุณธรรมประจำตัว ๓) สร้างเสริมคุณลักษณะที่ดีแก่ผู้เรียนทุกคนให้เกิดให้มีความต่อเนื่องและถ่ายทอดเกิดเป็นเอกลักษณ์ที่ ภาคภูมิใจประจำสถาบันการศึกษา กลยุทธ์ที่ ๖ Team learning พัฒนาส่งเสริมเครือข่าย/ชุมชนเพื่อร่วมจัดการศึกษา ๑) สร้างวัฒนธรรมการทำงานเป็นทีมให้นักเรียนและบุคลากรมีจิตอาสา เสริมความเข้มแข็งในการมีส่วน ร่วมสนับสนุนการจัดการศึกษาโดยให้ชุมชนเป็นต้นแบบประสานภาคีเครือข่ายต่างๆเพื่อร่วมทำงานอย่างเป็น ระบบเช่น สมาคมศิษย์เก่า สมาคมครูผู้ปกครอง ฯ ๒) เปิดโอกาสโดยชุมชนเข้ามามีบทบาทในการจัดการพัฒนาโรงเรียนเพื่อสร้างสังคมเครือข่ายการติดตัว ด้านคุณธรรม สุจริต จิตอาสา ความพอเพียง ๓) สร้างเครือข่ายที่มีความเชื่อมโยงต่อการพัฒนาการจัดการศึกษา และการสร้างทักษะอาชีพให้แก่ ผู้เรียนให้มีความต่อเนื่องและถ่ายทอดเกิดเป็นเอกลักษณ์ที่ภาคภูมิใจประจำสถาบันการศึกษา กลยุทธ์ที่ ๗ Unity ความเป็นเอกภาพ ความสามัคคีในการบริหารจัดการการศึกษา ๑.การให้ความสำคัญกับนโยบายการศึกษาเพื่อการอยู่ร่วมกัน และพัฒนาครูให้มีความสามารถในการ จัดการเรียนรู้ในสังคมที่หลากหลาย ๒.การจัดการศึกษาที่ตอบสนองความหลากหลายทางวัฒนธรรมและพหุนิยม โดยมีการนำไปใช้ในการ ออกแบบหลักสูตรเพื่อจัดการศึกษา ๓.การศึกษาเพื่อส่งเสริมการพึ่งพาระหว่างกันและการสร้างความร่วมมือกันระหว่างชุมชน ๔.การส่งเสริมการจัดกิจกรรมของนักเรียนที่มีความแตกต่างกันให้มีปฏิสัมพันธ์ ให้มีความสามัคคี สมานฉันท์เคารพซึ่งกันและกัน และมีความเป็นเอกภาพกัน ๕.สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับเด็กทุกคน รวมทั้งสนับสนุนการจัด การศึกษาที่ตอบสนองความแตกต่างทางวัฒนธรรมและความหลากหลายของผู้เรียน


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๑๒ กลยุทธ์ที่ ๘ Active กระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ๑. การจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการมีอิสระทางด้านความคิดและการกระทำของผู้เรียน การมี วิจารณญาณ และการคิดสร้างสรรค์ ผู้เรียนมีโอกาส ในการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติจริงและมีการใช้วิจารณญาณ ในการคิด ตัดสินใจในการปฏิบัติกิจกรรม ๒.Active Learning สนับสนุนส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือกันอย่างมีประสิทธิภาพซึ่งความร่วมมือในการ ปฏิบัติงานกลุ่มจะนำไปสู่ความสำเร็จในภาพรวม ๓. Active Learning ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่ก่อให้เกิดการพัฒนาเชิงบวกทั้งตัวผู้เรียน และตัวครู เป็นการปรับการเรียนรู้เปลี่ยนการสอน ๔. กระบวนการเรียนรู้ที่ลดบทบาทการสอนและการให้ความรู้โดยตรงของครู แต่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมี ส่วนร่วมสร้างองค์ความรู้ และจัดระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง ๕. กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนให้นำความรู้ ความเข้าใจไปประยุกต์ใช้ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า คิดสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ พัฒนาทักษะกระบวนการคิดไปสู่ระดับที่สูงขึ้น ๖. กิจกรรมเชื่อมโยงกับนักเรียน กับสภาพแวดล้อมใกล้ตัว ปัญหาของชุมชน สังคม หรือ ประเทศชาติ กลยุทธ์ที่ ๙ Learning การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ๑.การพัฒนาหลักสูตรโดยเปิดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการกำหนดและพัฒนาหลักสูตร มีความหยืด หยุ่นและหลากหลาย สอดคล้องกับสภาพความเป็น อยู่ที่เป็นจริงของชุมชน สังคมและการประกอบอาชีพใน ท้องถิ่น ๒.การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาครูและบุคลากรทางการศึกษา ซึ่งหมายรวมถึงผู้บริหาร สถานศึกษา ให้ได้รับการพัฒนาให้เป็นผู้ที่มีทั้งความรู้ ความสามารถ และเทคนิควิธีในการปฏิบัติวิชาชีพที่ยึด ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ชุมชนเข้ามามีบทบาทในการ ๓.การพัฒนากระบวนการเรียนการสอน กระบวนการเรียนการสอนเป็นกรบวนการการนำหลักสูตรไป ปฏิบัติจริงให้บรรลุผลเป็นขั้นตอนสำคัญที่ครูจะต้องดำเนินการให้ผู้เรียนได้พัฒนาขีดความสามารถของตนเอง ตามศักยภาพ ๔.การปรับปรุงระบบการบริหารการศึกษา กระบวนการส่งเสริมสนับสนุนอำนวยความสะดวกให้ ดำเนินงานศึกษาในด้านต่าง ๆ ให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้บริหารการศึกษามีการพัฒนาระบบ การบริหารและการจัดการให้มีเอกภาพ มีการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น โดยเน้นสถานศึกษาเป็นหลัก ตลอดจนให้ บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรพัฒนาเอกชน หน่วยงานภาครัฐและเอกชนมีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการจัด การศึกษา


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๑๓ SPIRITUAL SCHOOL การด าเนินการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทกัษะในศตวรรษที่๒๑ ในสถานศึกษา


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๑๔ S ๑.Smart Student สร้างผู้เรียนให้เป็นเยาวชนต้นแบบด้านคุณธรรมจริยธรรม มีวินัย สุจริต มีจิตอาสา มีทักษะการคิด และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ๔. ผลการดำเนินงาน / ผลสัมฤทธิ์ประโยชน์ที่ได้รั SpiritualSchool การบริหารจัดการสถานศึกษา P I R I T U A L ส่งเสริมครูให้เป็นต้นแบบที่ดีแก่ผู้เรียน มีบทบาทเป็น Coach สร้างศักยภาพผู้เรียนให้เกิดผลสำเร็จมีนวัตกรรมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ ๒.Process Teach ๓. Identity Focus บริหารสร้างจุดเด่นมุ่งเน้นประสิทธิภาพ ให้เกิด Identity Focus มุ่งเน้นอัตลักษณ์สร้างเป้าหมายสู่การต่อยอดการเรียนรู้ ๔.Research & Development ส่งเสริมพัฒนางานวิจัยในชั้นเรียนสู่การต่อยอดผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนและ ปลูกฝังคุณธรรมความซื่อสัตย์ ความพอเพียงเพื่อพัฒนาคนและการศึกษา ๕.Implementation เน้นการรู้จักนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อสร้างเยาวชนต้นแบบ ให้มีจิตสำนึกคิดด้านคุณธรรม สุจริต จิตอาสา ความพอเพียง ๖.Team Learning สร้างทีมงานให้มีการบริหารความร่วมมือที่เข้มแข็ง ครูมีความเป็น Team Work ชุมชนมีส่วนร่วมแบบพหุภาคี เป็นชุมชนต้นแบบ ๗.Unity ความเป็นเอกภาพ ความสามัคคีในการบริหารจัดการการศึกษา การร่วมมือ สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพ ๘.Active กระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่ก่อให้เกิดการ พัฒนาเชิงบวกทั้งตัวผู้เรียน และตัวครู ปรับการเรียนรู้เปลี่ยนการสอน ๙.Learning การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญและการเรียนรู้ ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๑๕ การขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอย่างรูปธรรม กลยุทธ์ที่ ๑ SMART Student มุ่งพัฒนาศักยภาพผู้เรียน S สร้างผู้เรียนให้เป็นเยาวชนต้นแบบด้านคุณธรรม จริยธรรม และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๑๖ การขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอย่างรูปธรรม กลยุทธ์ที่ ๒ Process Teach ส่งเสริมพัฒนา ยกระดับความสามารถครูและบุคลากรทางการศึกษา P ส่งเสริมครูให้เป็นต้นแบบที่ดีแก่ผู้เรียน มีบทบาทเป็น Coach Active Learning สร้างศักยภาพผู้เรียนให้เกิดผลสำเร็จมีนวัตกรรมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๑๗ การขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอย่างรูปธรรม กลยุทธ์ที่ ๓ Identity Focus มุ่งเน้นอัตลักษณ์สร้างเป้าหมายสู่การต่อยอด I บริหารสร้างจุดเด่นมุ่งเน้นประสิทธิผล ให้เกิด Identity Focus มุ่งเน้นอัตลักษณ์ สร้างเป้าหมายสู่การต่อยอดการเรียนรู้ระหว่าง นักเรียน ครู โรงเรียน และชุมชน


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๑๘ การขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอย่างรูปธรรม กลยุทธ์ที่ ๔ Research & Development สร้างเสริมประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการเชิงบูรณาการ R ส่งเสริมพัฒนางานวิจัยในชั้นเรียนสู่การต่อยอดผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนและปลูกฝัง คุณธรรมจริยธรรม เพื่อพัฒนาคน และการศึกษาให้สมบูรณ์ควบคู่กัน


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๑๙ การขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอย่างรูปธรรม กลยุทธ์ที่ ๕ Implementation พัฒนาประยุกต์ปรับใช้ ในชีวิตประจำวันเพื่อสร้างเยาวชนต้นแบบ I เน้นการรู้จักนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อสร้างเยาวชนต้นแบบ ให้มีจิตสำนึกติดตัวด้านคุณธรรม สุจริต จิตอาสา ความพอเพียง


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๒๐ การขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอย่างรูปธรรม กลยุทธ์ที่ ๖ Team Learning พัฒนาส่งเสริมเครือข่าย/ชุมชนเพื่อร่วมจัดการศึกษา สร้างทีมงานให้มีการบริหารความร่วมมือที่เข้มแข็ง ครูมีความเป็น Team Work ร่วมแบบพหุภาคี เป็นชุมชนต้นแบบ Community Education ความเข้มแข็งในการ มีจิตอาสา การมีส่วนร่วมสนับสนุนการจัดการศึกษาจนสามารถให้เป็นชุมชนต้นแบบ T


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๒๑ การขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอย่างรูปธรรม กลยุทธ์ที่ ๗ Unity ความเป็นเอกภาพในด้านนโยบายและมีความหลากหลายในด้าน การปฏิบัติเพื่อให้บรรลุตามจุดมุ่งหมาย U ความเป็นเอกภาพ ความสามัคคีในการบริหารจัดการการศึกษา การร่วมมือ สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพ


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๒๒ การขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอย่างรูปธรรม กลยุทธ์ที่ ๘ Active สร้างเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้เชิงรุก การเสริมสร้างการเรียนรู้และการจัดการเรียนรู้เชิงรุก โดยผู้เรียนมีส่วนร่วมมีการ ลงมือปฏิบัติ การพัฒนากระบวนการคิด วิเคราะห์ และนำความรู้ไปพัฒนาคุณภาพชีวิต A


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๒๓ การขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอย่างรูปธรรม กลยุทธ์ที่ ๙ Learning พัฒนาการจัดการเรียนรู้ ที่ยึดผู้เรียนรู้เป็นสำคัญและการเรียนรู้ ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย การพัฒนาหลักสูตรกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้มีความยืดหยุ่นและหลากหลาย เพื่อสอดคล้องกับผู้เรียนสภาพความเป็นอยู่ของชุมชน สังคม และการประกอบอาชีพ ในท้องถิ่น และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย L


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๒๔ ๔) ผลงานที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงาน ๑) ผลที่เกิดสำเร็จด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา SPIRITUAL SCHOOLในการดำเนินการส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ (ด้านการส่งเสริม) ๒) เกิดผลสัมฤทธิ์ด้านความสำเร็จ ในการนำไปใช้แก้ปัญหาการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทักษะใน ศตวรรษที่ ๒๑ ในสถานศึกษา และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามเป้าหมายที่โรงเรียนกำหนดไว้(ด้านการ ป้องกัน) ๓) เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน และมีการต่อยอดขยายผลนวัตกรรม SPIRITUAL SCHOOL ในการ สร้างเสริมคุณธรรมจริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ในสถานศึกษาของกลุ่มเครือข่ายทั้งผู้บริหาร ครู ผู้เรียน ชุมชนและบุคคลทั้งในและนอกสถานศึกษา (ด้านการเครือข่าย) แผนภูมิที่ ๑ เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕ แผนภูมิที่ ๑ เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ปีการศึกษา ๒๕๖๔-๒๕๖๕


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๒๕ ตารางที่ ๑ แสดงความพึงพอใจต่อนวัตกรรมการบริหารจัดการสถานศึกษา SPIRITUAL SCHOOL ในการดำเนินการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ สถานะผู้ตอบ แบบสอบถาม ความพึงพอใจในการบริหารจัดการสถานศึกษา SPIRITUAL SCHOOL ในการดำเนินการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ งานวิชาการ งานบุคคล งานงบประมาณ งานทั่วไป มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ครู ๑๐ ๓ ๐ ๐ ๐ ๙ ๔ ๐ ๐ ๐ ๗ ๖ ๐ ๐ ๐ ๑๑ ๒ ๐ ๐ ๐ คณะกรรมการ สถานศึกษา ๔ ๒ ๐ ๐ ๐ ๕ ๑ ๐ ๐ ๐ ๓ ๓ ๐ ๐ ๐ ๕ ๑ ๐ ๐ ๐ ผู้ปกครอง ๒๔ ๑๐ ๖ ๐ ๐ ๑๙ ๒๑ ๐ ๐ ๐ ๒๐ ๑๕ ๕ ๐ ๐ ๓๐ ๗ ๓ ๐ ๐ นักเรียน ๒๐ ๑๒ ๙ ๐ ๐ ๑๘ ๑๓ ๑๐ ๐ ๐ ๒๐ ๑๕ ๖ ๐ ๐ ๒๐ ๑๓ ๘ ๐ ๐ รวม ๕๘ ๒๗ ๑๕ ๐ ๐ ๕๓ ๓๗ ๑๐ ๐ ๐ ๕๐ ๓๙ ๑๑ ๐ ๐ ๖๖ ๒๓ ๑๑ ๐ ๐ ค่าเฉลี่ยร้อยละ ๘๕ ๑๕ ๐ ๐ ๙๐ ๑๐ ๐ ๐ ๘๙ ๑๑ ๐ ๐ ๘๙ ๑๑ ๐ ๐ รวมเฉลี่ยร้อยละ ๘๘.๒๕ จากตารางที่ ๑ แสดงผล คณะครูคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง และนักเรียนโรงเรียนวัดเนกขัมมาราม มีความพึงพอใจต่อการใช้นวัตกรรมการบริหารจัดการสถานศึกษา SPIRITUAL SCHOOL ในการพัฒนานักเรียน ให้มีคุณธรรม จริยธรรม ตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สถานศึกษากำหนดเป้าหมาย อยู่ในระดับพึงพอใจมาก ร้อยละ ๘๘.๒๕ ซึ่งสูงกว่าค่าเป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ของงาน การใช้การบริหารจัดการสถานศึกษา SPIRITUAL SCHOOL ในการดำเนินการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ส่งผลให้ผู้ร่วมงานทุกฝ่าย รวมทั้งนักเรียนคุณธรรม จริยธรรมตามเป้าหมาย และ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนดีขึ้น ซึ่งเป็นไปตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษาตั้งเป้าหมายไว้ ผ่านการกำเนิน การขับเคลื่อนกิจกรรม โครงงาน และโครงการต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. จะเห็นได้ ว่าโรงเรียนวัดเนกขัมมารามได้รับการยอมรับจากทุกฝ่ายงานทั้งสถานศึกษา ผู้บริหาร คณะครู และนักเรียน มีผล การปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice)ที่ปรากฏให้เห็นเป็นประจักษ์ ตั้งแต่ระดับกลุ่มเครือข่าย และเขตพื้นที่ อันส่งผลต่อความเชื่อมั่นแก่ผู้ปกครองในการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๒๖ ด้านโรงเรียน ๑. รางวัลได้รับการยกระดับรับรองคุณภาพเป็น “โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ระดับ ๓ ดาว ประจำปี การศึกษา ๒๕๖๖ ตามกิจกรรมโรงเรียนดีต้องมีที่ยืน โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ของกลุ่ม พื้นที่การศึกษา ประจำเขตตรวจราชการที่ ๒ ๒. โล่รางวัล โรงเรียนที่มีวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ(Best Practices)ระดับยอดเยี่ยม ตามจุดเน้นที่ 6 การ พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๓. โรงเรียนวัดเนกขัมมาราม ได้รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ ระดับเหรียญทองกิจกรรมสื่อสร้างสรรค์ สร้างค่านิยมซื่อสัตย์สุจริตให้สังคม(สื่อป้องกันการทุจริต)ภายใต้โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา (โครงการโรงเรียนสุจริต) ปีการศึกษา 2565


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๒๗ ๔. ห้องเรียนต้นแบบ โครงการฟื้นฟูศีลธรรมโลก “รักษ์บวร รักษ์ศีล๕ จังหวัดปทุมธานี”ปีที่ ๕ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๖ ๕. โรงเรียนวัดเนกขัมมารามได้รับเกียรติบัตร สถานศึกษาที่ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน O-NET ปีการศึกษา ๒๕๖๕ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ วิชาภาษาไทย สูงกว่าค่าเฉลี่ย ระดับประเทศ ด้านผู้บริหารสถานศึกษา ๑.รางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติในฐานะผู้อำนวยการสถานศึกษาดีเด่น นายอภิชาติ ลำภูพินิจพงศ์ประจำปี พุทธศักราช 2565 สภาผู้ปกครองและครูแห่งประเทศไทย


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๒๘ ๒.นายอภิชาติลำภูพินิจพงศ์ ได้รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ ระดับเหรียญทองกิจกรรมสื่อสร้างสรรค์ สร้างค่านิยมซื่อสัตย์สุจริตให้สังคม(สื่อป้องกันการทุจริต)ภายใต้โครงการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา (โครงการโรงเรียนสุจริต) ปีการศึกษา 256๕ ด้านครูผู้สอน ระดับประเทศ ๑. พิธีพระราชทานเข็มลูกเสือจิตอาสาพระราชทานและผ้าพันคอลูกเสือจิตอาสา นายณัฐพล มุสิจะ วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๖ ณ หอประชุม โรงเรียนสามโคก ระดับเขตพื้นที่การศึกษา 1. นางสาวอาตีกะห์ มะหะหมัด ได้รับรางวัลชมเชย จากผลงานวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศการจัดการเรียนรู้ เชิง รุก (Best Practice For Active Learning) ด้านครูผู้สอน


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๒๙ 2. นายยงยุทธ วังแดง ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับที่ ๒ กิจกรรมการแข่งขัน จิตรกรรมเทคนิคผสม Mixed Media ระดับ ป.๔-ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มี ความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 3. นายอาคม พุทโธวาท ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญทอง กิจกรรมการแข่งขันการวาดภาพระบายสี ระดับ ป.๑-ป.๓ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 4. นายอาคม พุทโธวาท ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญทอง กิจกรรมการแข่งขันจิตรกรรมเทคนิคผสม Mixed Media ระดับ ป.๑-ป.๓ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 5. นางสาวอาตีกะห์ มะหะหมัด ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญทอง กิจกรรมการแข่งขันสืบครรลองท่องจํา บทอาขยาน ระดับ ป.๑ - ป.๓ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 6. นางสาวอาตีกะห์ มะหะหมัด ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญทอง กิจกรรมการแข่งขันสืบครรลองท่องจํา บทอาขยาน ระดับ ป.๔ - ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 7. นางสาวอาตีกะห์ มะหะหมัด ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญทอง กิจกรรมการแข่งขันกวีเยาวชนคนรุ่น ใหม่ กลอนสี่ (๔ บท) ระดับ ป.๔-ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 8. นางสาวอาตีกะห์ มะหะหมัด ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญทอง กิจกรรมการแข่งขันคัดลายมือสื่อ ภาษาไทย ระดับ ป.๑-ป.๓ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 9. นางสาวอาตีกะห์ มะหะหมัด ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญชมเชย กิจกรรมการแข่งขันคัดลายมือสื่อ ภาษาไทย ระดับ ป.๔-ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 10.นางสาวจินตนา ดาวัลย์ ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญเงิน กิจกรรมการแข่งขันเรียงร้อยถ้อยความ(การ เขียนเรื่องจากภาพ) ระดับ ป.๑-ป.๓ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๓๐ 11.นางสาวจินตนา ดาวัลย์ ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญทอง กิจกรรมการประกวดมารยาทไทย ระดับ ป.๑-ป.๓ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 12.นางสาวเบญจมาศ บุญรอด ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญทอง กิจกรรมการประกวดมารยาทไทย ระดับ ป.๑-ป.๓ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 13.นางสาวกาญจนา เลิศจริยา ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญทอง กิจกรรมการประกวดมารยาทไทย ระดับ ป.๔ -ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 14.นายณัฐพล มุสิจะ ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญทอง กิจกรรมการประกวดมารยาทไทย ระดับ ป.๔ -ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 15.นางสาวอชิรญา การะเกตุ ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญทอง กิจกรรมการแข่งขันการเล่านิทาน (Storytelling) ระดับ ป.๑ -ป.๓ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 16.นางสาวทิพย์วัลย์ เอี่ยมยั่งยืน ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญทอง กิจกรรมการแข่งขันการสร้างการ์ตูน ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ระดับ ป.๑ -ป.๓ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 17.นางสาวปิยะดา คนตรง ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญทอง กิจกรรมการแข่งขันการสร้างการ์ตูนด้วย โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ระดับ ป.๑ -ป.๓ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 18.นายอาคม พุทโธวาท ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญเงิน กิจกรรมการแข่งขันตอบปัญหาสุขศึกษาและพล ศึกษา ระดับ ป.๑-ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 19.นายอรรถพล สุโง๊ะ ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญเงิน กิจกรรมการแข่งขันตอบปัญหาสุขศึกษาและพล ศึกษา ระดับ ป.๑-ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 20.นายณัฐพล มุสิจะ ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญทองแดง กิจกรรมการแข่งขันซูโดกุ ระดับ ป.๑ -ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 21.นางสาวอชิรญา การะเกตุ ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญทองแดง กิจกรรมการแข่งขันการเล่านิทาน (Storytelling) ระดับ ป.๔ -ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 22.นางสาวกาญจนา เลิศจริยา ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญทองแดง กิจกรรมการแข่งขันพูดภาษาอังกฤษ (Impromptu Speech) ระดับ ป.๑ -ป.๓ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปี การศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๓๑ 23.นางสาวกาญจนา เลิศจริยา ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญทองแดง กิจกรรมการแข่งขันพูดภาษาอังกฤษ (Impromptu Speech) ระดับ ป.๔ -ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 24.นางสาวทิพย์วัลย์ เอี่ยมยั่งยืน ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญทองแดง กิจกรรมการแข่งขันการใช้ โปรแกรมนำเสนอ (Presentation) ระดับ ป.๔ -ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 25.นางสาวปิยะดา คนตรง ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญทองแดง กิจกรรมการแข่งขันการใช้โปรแกรม นำเสนอ (Presentation) ระดับ ป.๔ -ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 26.นางสาวปิยะดา คนตรง ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญทองแดง กิจกรรมการแข่งขันการสร้างการ์ตูน เรื่องสั้น (Comic Strip) ระดับ ป.๔ -ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปี การศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 27.นางสาวทิพย์วัลย์ เอี่ยมยั่งยืน ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญทองแดง กิจกรรมการแข่งขันการสร้าง การ์ตูนเรื่องสั้น (Comic Strip) ระดับ ป.๔ -ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 28.นางสาวปิยะดา คนตรง ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญทองแดง กิจกรรมการแข่งขันเครื่องร่อน ประเภท ร่อนนานปล่อยด้วยมือ ระดับ ป.๔-ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 29.นายณัฐพล มุสิจะ ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญทองแดง กิจกรรมการแข่งขันเครื่องร่อน ประเภทร่อน นานปล่อยด้วยมือ ระดับ ป.๔-ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 30.นางสาวปิยะดา คนตรง ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญทองแดง กิจกรรมการแข่งขันอัจฉริยภาพทาง วิทยาศาสตร์ ระดับ ป.๔-ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 31.นางสาวทิพย์วัลย์ เอี่ยมยั่งยืน ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญทองแดง กิจกรรมการแข่งขันอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ระดับ ป.๔-ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 32.นางสาวธัญชนก บูระวัฒน์ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญทองแดง กิจกรรมการปั้นดินน้ำมัน ระดับ ปฐมวัย งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา 2566 ของสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ 33.นางสาวภัทราวดีใจเอื้อ ได้รับรางวัลครูผู้สอน เหรียญทองแดง กิจกรรมการปั้นดินน้ำมัน ระดับปฐมวัย งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา 2566 ของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๓๒ ด้านนักเรียน ระดับประเทศ ๑. เด็กหญิงนันท์นลิน เกษรา มีผลการทดสอบวิชาภาษาไทย ระดับดีมาก ทางการทดสอบระดับชาติขั้น พื้นฐาน O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ ๒. เด็กหญิงสุชัญญา ภักดี มีผลการทดสอบวิชาภาษาไทย ระดับดีมาก ทางการทดสอบระดับชาติขั้น พื้นฐาน O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ การศึกษา ๒๕๖๕ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ๓. เด็กหญิงสุวภัทร ปานปิ่น ได้รับรางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับที่ ๒ กิจกรรมการแข่งขัน จิตรกรรมเทคนิคผสม Mixed Media ระดับ ป.๔-ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๔. เด็กหญิงสุวภัทร ปานปิ่น ได้รับรางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับที่ ๒ กิจกรรมการแข่งขัน จิตรกรรมเทคนิคผสม Mixed Media ระดับ ป.๔-ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๕. ๖. เด็กหญิงธนัสวรรณ เกษรา ได้รับรางวัลเหรียญทอง กิจกรรมการแข่งขันการวาดภาพระบายสี ระดับ ป.๑-ป.๓ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๗. เด็กหญิงสวิตตา รอดกลิ่น ได้รับรางวัลเหรียญทอง กิจกรรมการแข่งขันจิตรกรรมเทคนิคผสม Mixed Media ระดับ ป.๑-ป.๓ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๓๓ ๘. เด็กชายชินกฤต นิมา ได้รับรางวัลเหรียญทอง กิจกรรมการแข่งขันสืบครรลองท่องจําบทอาขยาน ร ะ ด ั บ ป . ๑ - ป . ๓ ง า น ม ห ก ร ร ม ส ่ ง เ ส ร ิ ม ท ั ก ษ ะ น ั ก เ ร ี ย น เ ร ี ย น ด ี ม ี ค ว า ม สุ ข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๙. เด็กชายธนกร วันแอเลาะ ได้รับรางวัลเหรียญทอง กิจกรรมการแข่งขันสืบครรลองท่องจําบทอาขยาน ร ะ ด ั บ ป . ๔ - ป . ๖ ง า น ม ห ก ร ร ม ส ่ ง เ ส ร ิ ม ท ั ก ษ ะ น ั ก เ ร ี ย น เ ร ี ย น ด ี ม ี ค ว า ม สุ ข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๑๐.เด็กหญิงรุ้งนภา วันแอเลาะ ได้รับรางวัลเหรียญทอง กิจกรรมการแข่งขันกวีเยาวชนคนรุ่นใหม่ กลอน สี่ (๔ บท) ระดับ ป.๔-ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๑๑.เด็กชายอนุชิต มีมาก ได้รับรางวัลเหรียญทอง กิจกรรมการแข่งขันกวีเยาวชนคนรุ่นใหม่ กลอนสี่ (๔ บท) ระดับ ป.๔ -ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความ สุ ข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๑๒.เด็กหญิงรวิสรา รามัญ ได้รับรางวัลเหรียญทอง กิจกรรมการแข่งขันคัดลายมือสื่อภาษาไทย ระดับ ป.๑-ป.๓ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๑๓.เด็กชายพิชัย พุทธประเสริฐ ได้รับรางวัลเหรียญชมเชย กิจกรรมการแข่งขันคัดลายมือสื่อภาษาไทย ระดับ ป.๔-ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๑๔.เด็กหญิงจันทร์จรัส สุจินพรัหม ได้รับรางวัลเหรียญเงิน กิจกรรมการแข่งขันเรียงร้อยถ้อยความ(การ เขียนเรื่องจากภาพ) ระดับ ป.๑-ป.๓ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๑๕.เด็กหญิงสุพิชญา โพธิ์ภักดี ได้รับรางวัลเหรียญทอง กิจกรรมการประกวดมารยาทไทยระดับ ป.๑-ป.๓ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๑๖.เด็กชายพีรภัทร ยอดแก้ว ได้รับรางวัลเหรียญทอง กิจกรรมการประกวดมารยาทไทย ระดับ ป.๑-ป.๓ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๑๗.เด็กชายปัณณวัฒน์ ลมลอย ได้รับรางวัลเหรียญทอง กิจกรรมการประกวดมารยาทไทย ระดับ ป.๔ -ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๑๘. เด็กหญิงดาว ได้รับรางวัลเหรียญทอง กิจกรรมการประกวดมารยาทไทย ระดับ ป.๔ -ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๑๙.เด็กชายณัฐพล ขวัญหอม ได้รับรางวัลเหรียญทอง กิจกรรมการแข่งขันการเล่านิทาน (Storytelling) ระดับ ป.๑ -ป.๓ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๓๔ ๒๐.เด็กหญิงจันทร์จรัส สุจินพรัหม ได้รับรางวัลเหรียญทอง กิจกรรมการแข่งขันการสร้างการ์ตูนด้วย โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ระดับ ป.๑ -ป.๓ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๒๑.เด็กหญิงริลลดา มณฑา ได้รับรางวัลเหรียญทอง กิจกรรมการแข่งขันการสร้างการ์ตูนด้วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์กราฟิก ระดับ ป.๑ -ป.๓ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๒๒.เด็กชายขัตติย เต่าลอย ได้รับรางวัลเหรียญเงิน กิจกรรมการแข่งขันตอบปัญหาสุขศึกษาและพลศึกษา ระดับ ป.๑-ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๒๓.เด็กหญิงจิรัชยา บินมาวัง ได้รับรางวัลเหรียญเงิน กิจกรรมการแข่งขันตอบปัญหาสุขศึกษาและพล ศึกษา ระดับ ป.๑-ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๒๔.เด็กหญิงมินตรา เนียมเกิด ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง กิจกรรมการแข่งขันซูโดกุ ระดับ ป.๑ -ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๒๕.เด็กชายเจษฎา วันแอเลาะ ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง กิจกรรมการแข่งขันการเล่านิทาน (Storytelling) ระดับ ป.๔ -ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๒๖.เด็กชายธนพัฒน์ วันแอเลาะ ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง กิจกรรมการแข่งขันพูดภาษาอังกฤษ (Impromptu Speech) ระดับ ป.๑ -ป.๓ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปี การศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๒๗.เด็กชายต้นกล้า ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง กิจกรรมการแข่งขันพูดภาษาอังกฤษ (Impromptu Speech) ระดับ ป.๔ -ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๒๘.เด็กชายธนาพิพัฒน์ สุจินพรัหม ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง กิจกรรมการแข่งขันการใช้โปรแกรม นำเสนอ (Presentation) ระดับ ป.๔ -ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๒๙. เด็กชายธนกร วันแอเลาะ ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง กิจกรรมการแข่งขันการใช้โปรแกรมนำเสนอ (Presentation) ระดับ ป.๔ -ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๓๐.เด็กชายสหรัฐ บุญรอด ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง กิจกรรมการแข่งขันการสร้างการ์ตูนเรื่องสั้น (Comic Strip) ระดับ ป.๔ -ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๓๑.เด็กหญิงพัชรพร บุญรอด ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง กิจกรรมการแข่งขันการสร้างการ์ตูนเรื่องสั้น (Comic Strip) ระดับ ป.๔ -ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๓๕ ๓๒.เด็กชายนเรศ เนียมเครือ ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง กิจกรรมการแข่งขันเครื่องร่อน ประเภทร่อน นานปล่อยด้วยมือ ระดับ ป.๔-ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๓๓.เด็กชายชอง ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง กิจกรรมการแข่งขันเครื่องร่อน ประเภทร่อนนานปล่อย ด้วยมือ ระดับ ป.๔-ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๓๔.เด็กชายพิชชานันท์ นิมา ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง กิจกรรมการแข่งขันอัจฉริยภาพทาง วิทยาศาสตร์ ระดับ ป.๔-ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๓๕.เด็กชายภาคิน จันทร์เคลือบ ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง กิจกรรมการแข่งขันอัจฉริยภาพทาง วิทยาศาสตร์ ระดับ ป.๔-ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๓๖.เด็กชายณัฐจักร จำปาแก้ว ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง กิจกรรมการแข่งขันอัจฉริยภาพทาง วิทยาศาสตร์ ระดับ ป.๔-ป.๖ งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๓๗.เด็กชายจีรภัทร ยอดเเก้ว ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง กิจกรรมการปั้นดินน้ำมัน ระดับปฐมวัย งาน มหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๓๘.เด็กหญิงรุ่งตะวัน ศาลางาม ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง กิจกรรมการปั้นดินน้ำมัน ระดับปฐมวัย งาน มหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๓๙.เด็กหญิงกัญญาณัฐ เพ็ชรเรือง ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง กิจกรรมการปั้นดินน้ำมัน ระดับปฐมวัย งานมหกรรมส่งเสริมทักษะนักเรียน เรียนดี มีความสุข ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ๔๐.รายชื่อผู้สอบประโยคนักธรรม-ธรรมศึกษาชั้นโท ๕ คน และชั้นตรี๙ คน ปีการศึกษา ๒๕๖๕


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๓๖ ๕) สรุปสิ่งที่เรียนรู้และการปรับปรุงให้ดีขึ้น หลักการบริหารจัดการสถานศึกษา SPIRITUAL SCHOOL ในการดำเนินการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ มีการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณอันพึงประสงค์ที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรมตาม เป้าหมายที่สถานศึกษากหนดไว้ ซึ่งขับเคลื่อนโรงเรียนวัดเนกขัมมาราม ประสบความสำเร็จจนสามารถเป็นที่ ยอมรับและมีความพึงพอใจของกลุ่มเครือข่าย และบุคคลที่มีส่วนได้เสียขององค์กร ร้อยละ ๘๘.๒๕ ซึ่งเหมาะที่ จะขับเคลื่อน ๑ โรงเรียน ๑ นวัตกรรม ซึ่งในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยการบริหาร“SPIRITUAL SCHOOL ในการดำเนินการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” จำเป็นต้องมีกระบวนการ PDCA ควบคุมการดำเนินงานเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด อีกทั้งยังต้องคำนึงถึงบริบทของสถานศึกษา และบุคคลที่ ร่วมขับเคลื่อน ข้อจำกัดในการนำหลักการบริหาร“SPIRITUAL SCHOOL ในการดำเนินการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” ไปใช้ปรับในสถานศึกษา คือ ๑.บริบทของสถานศึกษา ๒.บุคลลากรที่ ร่วมขับเคลื่อนทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ๓.เป้าหมายของสถานศึกษา ๖) การขยายผลและเผยแพร่ผลการพัฒนา โรงเรียนวัดเนกขัมมารามได้มีการเผยแพร่นวัตกรรม “การบริหารจัดการสถานศึกษา SPIRITUAL SCHOOL ในการดำเนินการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” ที่เชื่อมโยงการพัฒนาเป็น นวัตกรรมทั้งผู้บริหาร ครู ผู้เรียน และชุมชน โดยกำหนดเป็นต้นแบบการบริหารงานในสถานศึกษาตั้งแต่ปี ๒๕๖๕ โดยมีการพัฒนาต่อเนื่องจาก SPIRIT SCHOOL มาจนถึง SPIRITUAL SCHOOL ทั้งนี้ได้สอดคล้องกับ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน และโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. มีการเผยแพร่ไปยังกลุ่มเครือข่ายการพัฒนา การศึกษากลุ่มที่ ๗ ในอำเภอลาดหลุมแก้ว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ การเผยแพร่ให้คณะนักศึกษาปริญญาโท และเผยแพร่ในช่องทาง Online ต่าง ๆ ดังนี้ ๑) เผยแพร่ทาง Facebook โรงเรียนวัดเนกขัมมาราม https://www.facebook.com/watnek17 ๒) เผยแพร่ในกลุ่ม Line ผู้ปกครองประจำชั้นเรียน โรงเรียนวัดเนกขัมมาราม ๓) เผยแพร่ Website ครูบ้านนอก วันที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๖ ๔) การเผยแพร่ไปยังกลุ่มเครือข่ายการพัฒนาการศึกษากลุ่มที่ ๗ ในอำเภอลาดหลุมแก้ว


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๓๗ ๖.ข้อเสนอแนะและแนวทางการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ๑. ควรกำหนดนโยบายในการสนับสนุนนวัตกรรมการบริหารจัดการสถานศึกษา SPIRITUAL SCHOOL รูปแบบการดำเนินการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ในสถานศึกษาร่วมกับผู้บริหาร สถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองและชุมชน เพื่อกำหนดนโยบายให้มีความชัดเจน ไปในทิศทาง เดียวกัน ๒. สนับสนุนด้านงบประมาณให้กับโรงเรียนให้เพียงพอกับ โครงการหรือกิจกรรมทีได้กำหนดขึ้นในการ พัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการสถานศึกษา SPIRITUAL SCHOOL รูปแบบการดำเนินการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ในสถานศึกษา ๓. จัดโครงการอบรมหรือศึกษาดูงานให้กับโรงเรียนที่ประสบผลสำเร็จตามบริบทขนาดสถานศึกษา เพื่อ แลกเปลี่ยนและมีมุมมองในการบริหารจัดการโรงเรียนต่อไป ๔. ส่งเสริมให้นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการส่งเสริมด้านคุณธรรมอย่างสม่ำเสมอ ๕. กำกับนิเทศติดตามอย่างละเอียด ด้วยการแนะนํา ส่งเสริมให้กําลังใจ การปฏิบัติงานอย่างจริงจังของทุก ภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ๗.จุดเด่น หรือลักษณะพิเศษของผลงานนวัตกรรม โรงเรียนวัดเนกขัมมารามมีนวัตกรรม การบริหารจัดการสถานศึกษา SPIRITUAL SCHOOL ในดำเนินการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ในสถานศึกษา ในการปลูกจิตสำนึกสร้าง เสริมวิถีความมีคุณธรรมประชาธิปไตยให้กับผู้เรียน และบุคลากรในด้านการสร้าง ความสามัคคี สมานฉันท์ และ ยึดมั่นในจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม และเป็นพลเมืองที่มีจิตอาสา ดำรงชีวิตโดยรู้จักความพอเพียง เป็น แบบอย่างที่ดีของชุมชน ๑. โรงเรียนมีระบบการบริหารงานมีแนวปฏิบัติที่ชัดเจน มีการสนับสนุน ส่งผลให้งานบรรลุผลสำเร็จตาม เป้าหมาย ๒. ผู้บริหารสถานศึกษา ได้รับการยอมรับจากหน่วยงานอื่น ๆ ให้เป็นคณะทำงาน ในระดับเขตพื้นที่ การศึกษา ๓. ครูผู้สอน ดำเนินจัดการเรียนการสอนแบบสร้างองค์ความรู้ร่วมกับผู้เรียน การตามแนวทางนวัตกรรม SPIRITUAL SCHOOL ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น จนได้รับรางวัลจากหน่วยงานต่าง ๆ และเป็นที่ยอมรับ จากหน่วยงานภายใน ๔. ผู้เรียนมีการพัฒนาตนเองด้านคุณธรรม จิตอาสา ความพอเพียง รู้จักประมาณ และประเมินตนเองอย่าง เต็มศักยภาพ จนได้รับรางวัลต่าง ๆ อีกทั้งมีผลสัมฤทธิ์ทางการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นนฐาน O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ วิชาภาษาไทย สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ ๕.บุคลากรมีการพัฒนางานร่วมกัน รู้จักการทำงานเป็นทีม การมีส่วนรับผิดชอบร่วมกันในการปฏิบัติงาน ความร่วมมือรวมใจ การเอาใจใส่ เสียสละ การอุทิศตนของส่งผลให้งานประสบผลสำเร็จได้ผลงานที่มีคุณภาพ ๖. ชุมชนเกิดความเชื่อมั่น ศรัทธาและวางใจในสถานศึกษา ในการส่งบุตรหลานเข้าศึกษาในสถานศึกษา


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๓๘ ๘. บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๕๓). แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน : ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ ขวัญชนก แสงท่านั่ง. (๒๕๖๓). รูปแบบการพัฒนาสถานศึกษาสู่องค์กรแห่งนวัตกรรมสำหรับสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กำแพงเพชร : มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. ธนสาร บัลลังก์ปัทมา. (๒๕๖๓). รูปแบบการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษา (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. ศักดา สถาพรวจนา. (๒๕๔๙). การพัฒนารูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๓๙ ภาคผนวก


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๔๐


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๔๑


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๔๒


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๔๓


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๔๔


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๔๕


“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำปี๒๕๖๗ ๔๖


Click to View FlipBook Version