The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การเขียนโครงการ.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nini_du456, 2021-10-09 11:51:13

การเขียนโครงการ.

การเขียนโครงการ.

น.ส.ต่วนอาสมะ สะดี 4120065620

การเขยี นโครงการ
และ

นาเสนอโครงการ

60% 70% 80%

writing project and project presentation

การเขียนโครงการ

โครงการ (Project) เป็นสว่ นหนึ่งของกิจกรรมในหน่วยงาน การเขียนโครงการเป็นการเขียนเพือ่ ประโยชน์ในการ
ดาเนินงาน เพราะมีส่วนชว่ ยให้เกดิ การวางแผนการทางาน การศึกษา การรเิ ริ่มปฏิบตั ิงานใหม่ ดงั น้ันโครงการย่อมมีบทบาทสาคญั
ต่อการปฏิบตั ิงานของหน่วยงาน จึงควรมแี นวทางในการจดั ทางบประมาณทีเ่ หมาะสมเพื่อการขออนมุ ัติและดาเนินงานต่อไป

ความหมายของโครงการ

คาว่า “โครงการ” ตรงกบั คาภาษาองั กฤษว่า “project” เป็นแผนงานทีจ่ ดั ทาข้ึนอย่างรอบคอบ เปน็ ระบบ พรอ้ ม
กับมีแนวทางปฏิบตั ิ เพือ่ ใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ตามเป้าหมายของแผนงานทีไ่ ดก้ าหนดไว้ โดยใช้ทรพั ยากรในการดาเนินงานอย่าง
คุ้มค่า มีจดุ เริ่มต้น และจุดสิน้ สดุ อย่างชัดเจน มพี ื้นที่ในการดาเนินงานเพื่อให้บรกิ ารและมบี คุ คลากร หรือหน่วยงานรับผิดชอบ

ลกั ษณะสาคัญของโครงการ

1. ต้องมีระบบ (System)
2. ต้องมีวัตถุประสงค์ชัดเจน (Clear Objective)
3. ต้องเปน็ การดาเนินงานในอนาคต (Future Operation
4. เปน็ การทางานชั่วคราว (temporary task
5. มีกาหนดระยะเวลาทีแ่ น่นอน (Definitely Duration)
6. มีลักษณะเป็นงานทีเ่ รง่ ด่วน (Urgently task)
7. ต้องมีต้นทุนการผลติ ต่า (Low Cost)
8. เปน็ การริเร่มิ หรือพัฒนางาน (Creativity or Developing)

ส่วนประกอบของการเขียนโครงการ

1. สว่ นนา หมายถึง สว่ นทีจ่ ะบอกข้อมลู เบื้องต้นของโครงการโดยใหร้ ายละเอยี ดเกี่ยวกับชือ่
โครงการ ผู้ดาเนินโครงการ หรือผู้รบั ผิดชอบโครงการ ความเป็นมาของโครงการ วัตถปุ ระสงค์ ดังนั้น
สว่ นนาจึงต้องเขียนให้ละเอยี ดเพื่อมุ่งหมายให้ผู้อ่าน และบคุ คลท่ที างานร่วมกนั หรือผู้ที่มีหน้าที่
ตดั สินใจอนุมตั ิให้ทาโครงการมคี วามเข้าใจพื้นฐานเปน็ เบื้องต้นก่อนทีจ่ ะอ่านรายละเอียดของโครงการ
ต่อไป ดังน้ันผู้เขียนจึงต้องมีความระมัดระวังในเรื่องการใช้ภาษาให้ถกู ต้องได้ใจความ เพื่อมุ่งชปี้ ระเด็น
สาคัญของโครงการให้ชัดเจน

2. ส่วนเนื้อหา หมายถึง สว่ นทีบ่ อกสาระสาคญั ของโครงการโดยใหร้ ายละเอยี ดเกี่ยวกบั วธิ ีดาเนินการ หรือ
ขั้นตอนการปฏบิ ตั ิอยา่ งละเอยี ด ถ้าขน้ั ตอนการทางานมีความสลับซับซ้อนมากเท่าใด ผู้เขียนต้องพยายาม
เรียงลาดบั ขั้นตอนการทางานอยา่ งมีระบบและเขียนแยกเป็นตอนๆเพื่อไม่ทาใหผ้ ู้อา่ นสบั สน ท้ังนถี้ ้าเป็นโครงการ
ระยะยาว อาจเขียนตารางแสดงเวลาการทางานไว้ด้วย

3. สว่ นขยายความ หมายถึง สว่ นประกอบต่างๆทบ่ี อกรายละเอยี ดเกีย่ วกับกลุ่มเป้าหมาย ซึง่ เป็นกลุ่มบคุ คลท่ไี ด้รบั
ผลจากการดาเนินโครงการ บอกกาหนดระยะเวลา กรณที ี่เปน็ โครงการระยะส้ันต้องแสดงตารางเวลาดาเนินโครงการ
สถานที่ งบประมาณค่าใชจ้ ่าย รวมท้ังโครงการซึ่งอาจจะเปน็ งบประมาณรวมหรือแจกแจงค่าใช้จ่ายอยา่ งละเอยี ดก็ได้ และ
สว่ นของประโยชน์หรือผลที่คาดว่าจะได้รบั จากการดาเนินการตามโครงการน้ันๆ ถ้าเป็นโครงการทีจ่ ัดเกีย่ วกบั การอบรม
สัมมนาต้องมตี ารางเวลา หรือกาหนดการประชุมไวด้ ว้ ย สว่ นขยายความเหล่านี้เปน็ ส่วนที่สาคัญเช่นเดยี วกบั สว่ นนา เพราะ
จะขยายความให้บุคคลท่ดี าเนินการรว่ มกนั เข้าใจรายละเอยี ดกระจ่างขึ้น และผู้มหี น้าที่ตดั สินใจอนุมตั ิใหท้ าโครงการใชเ้ ปน็
ข้อมลู ประกอบการตัดสินใจได้ดียิง่ ขึ้น เมื่อได้ทราบว่าผลที่จะได้รับน้ันเป็นประโยชน์อยา่ งไร และงบประมาณค่าใชจ้ ่าย
จัดสรรให้ไดห้ รือไม่ อย่างไร

ประเภทของการเขียนโครงการ

โครงการแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้

1. การเขียนโครงการแบบดั้งเดิม หรือการเขียนโครงการแบบประเพณีนยิ ม
(Conventional Method) เป็นโครงการทีน่ ามาใช้ต้ังแต่แรกจนถงึ ปัจจบุ ัน รายละเอยี ดของโครงการจะ
แจกแจงตามหัวขอ้ ทีก่ าหนดไว้ ได้แก่ ชื่อโครงการ ชื่อบุคคลหรือหน่วยงานที่รับผดิ ชอบ หลักการและ
เหตผุ ล วตั ถุประสงค์ เป้าหมาย ระยะเวลาดาเนินการ สถานที่ดาเนินการ วิธีดาเนินการ งบประมาณ
ผลที่คาดว่าจะได้รบั และการประเมินผล

2. การเขียนโครงการเชิงเหตุผล หรือการจัดทาโครงการแบบเหตผุ ลเชงิ ตรรกวิทยา
(Logical Framework Method) เป็นโครงการทีม่ ีรายละเอียดเปน็ ขั้นตอนเปน็ เหตเุ ปน็ ผลสมั พนั ธ์
กนั และประสานกันทง้ั ในแนวตง้ั และแนวนอน ขององคป์ ระกอบทีเ่ ปน็ โครงสร้างพื้นฐาน
รปู แบบหรือหัวข้อในการเขียนโครงการข้างต้น อาจจะมหี ัวขอ้ และรายละเอียดแตกต่างกันไป
ตามลกั ษณะหรือประเภทของโครงการ บางโครงการมรี ายละเอยี ดมาก บางโครงการมี
รายละเอยี ดน้อย บางโครงการอาจต้องเพิ่มเติมหวั ข้อทีม่ คี วามสาคัญเข้าไป

ข้นั ตอนการเขียนโครงการ มีดงั นี้

1. ชื่อโครงการ

การตั้งชือ่ โครงการต้องมีความชดั เจน เหมาะสม และ
เฉพาะเจาะจง เปน็ ที่เขา้ ใจได้โดยง่ายสาหรับผู้นาโครงการไปใช้
หรือผู้มสี ่วนเกีย่ วขอ้ งกบั โครงการ ชื่อโครงการจะบอกให้ทราบว่า
จะทาสิ่งใดบ้าง โครงการทีจ่ ดั ทาขึ้นนั้นทาเพือ่ อะไร ชือ่ โครงการ
โดยทั่วไปควรจะต้องแสดงลกั ษณะงานทตี่ ้องปฏบิ ตั ิ
ลกั ษณะเฉพาะของโครงการ และจดุ มงุ่ หมายของโครงการ

2. หนว่ ยงานทีร่ ับผิดชอบโครงการ

การเขียนโครงการจะต้องระบุหน่วยงานทรี่ ับผดิ ชอบในการจดั ทาโครงการน้ันๆ โดยจะต้อง
ระบุหน่วยงานตน้ สงั กดั ทีจ่ ัดทาโครงการ พร้อมท้ังระบุถงึ หน่วยงานทมี่ อี านาจในการอนมุ ัติ
โครงการ เหตุที่ตอ้ งมีการระบหุ นว่ ยงานที่รบั ผดิ ชอบโครงการนนั้ กเ็ พื่อสะดวกต่อการติดตาม
และประเมนิ ผลโครงการในกรณีทีเ่ ปน็ โครงการความร่วมมือระหว่างหนว่ ย การเขียนหน่วยงาน
ที่รับผิดชอบกต็ ้องระบหุ นว่ ยงานทรี่ ับผดิ ชอบ

3. ผู้รบั ผิดชอบโครงการ

โครงการทุกโครงการจะต้องมีผู้ทาโครงการรบั ผิดชอบดาเนินงาน ตาม
โครงการทีเ่ ขยี นไวไ้ มว่ า่ ตนเองจะเปน็ ผู้เขียนโครงการน้ัน หรือผู้อืน่ เปน็ ผู้เขียน
โครงการกต็ าม จะต้องระบุผู้รับผิดชอบโครงการน้ันๆ ใหช้ ดั เจน ว่าเปน็ ใคร มี
ตาแหน่งใดในโครงการน้ัน

4. หลกั การและเหตุผล

หลกั การและเหตผุ ล เปน็ สว่ นสาคญั ทีแ่ สดงถึงปญั หาความจาเปน็ หรือความต้องการที่ต้อง
มีการจดั ทาโครงการขึ้นเพือ่ แกป้ ญั หา หรือสนองความต้องการขององค์การ ชุมชน หรือท้องถิ่น
นั้นๆ ดงั น้ันในการเขียนหลักการและเหตผุ ลผเู้ ขียนโครงการจาเป็นต้องเขียนแสดงใหเ้ ห็นถึง
ปัญหาหรือความต้องการ พร้อมท้ังระบุเหตุผลและข้อมลู ทีเ่ ก่ยี วข้องกับโครงการเพื่อสนับสนุน
การจัดทาโครงการอย่างชดั เจน นอกจากนอี้ าจต้องเชือ่ มโยงใหเ้ หน็ ว่าโครงการที่เสนอนี้
สอดคล้องกับแผนกลยทุ ธ์ แผนยุทธศาสตร์ หรือนโยบายของชุมชน ท้องถิน่ องค์การ หรือ
หน่วยงานเจ้าของโครงการและเปน็ การวางรากฐานไปสสู่ ภาพท่พี ึงประสงค์ในอนาคตของ
องค์การหรือหน่วยงานที่เกย่ี วข้องกับโครงการทีไ่ ดจ้ ดั ทาข้ึน

5. วัตถุประสงค์และเปา้ หมาย

โครงการทุกโครงการจาเปน็ ต้องมวี ัตถุประสงค์และเป้าหมายเปน็ เครื่องช้ี
แนวทางในการดาเนินงานของโครงการ โดยวัตถุประสงค์จะเปน็ ข้อความทแ่ี สดงถึง
ความต้องการทีจ่ ะกระทาสิง่ ต่างๆ ภายในโครงการให้ปรากฏผลเปน็ รูปธรรม ซึง่
ข้อความทใ่ี ช้เขียนวัตถปุ ระสงค์จะต้องชดั เจนไม่คลุมเครือ สามารถวดั และประเมนิ ผล
ได้ โครงการแต่ละโครงการสามารถมีวัตถุประสงค์ไดม้ ากกว่า 1 ข้อ ลักษณะของ
วัตถปุ ระสงค์ขนึ้ อยกู่ บั ระดับและขนาดของโครงการ เชน่ ถ้าเปน็ โครงการขนาดใหญ่
วัตถุประสงค์ก็จะมลี ักษณะทีก่ ว้างเป็นลกั ษณะวัตถุประสงค์ทวั่ ไป หากเปน็ โครงการ
ขนาดเล็ก สามารถลงปฏบิ ัติการในพื้นที่เปา้ หมายหรือปฏิบตั ิงานในลกั ษณะที่แคบ
เฉพาะเรือ่ งเฉพาะอยา่ ง วตั ถุประสงค์กจ็ ะมลี ักษณะเฉพาะ หรือโดยท่ัวไปจะเรียกวา่
วตั ถุประสงค์เฉพาะถงึ อยา่ งไรกต็ ามการเขียนวตั ถปุ ระสงค์ในโครงการแต่ละระดบั แต่
ละขนาดจะต้องมีความสมั พันธ์สอดคล้องกันวัตถปุ ระสงค์ของโครงการย่อย จะต้อง
สมั พนั ธ์และสอดคล้องกบั วัตถุประสงค์ของโครงการขนาดใหญ่
การเขียนวัตถุประสงค์ควรจะต้องคานึงถึงลกั ษณะที่ดี 5 ประการ หรือจะต้องกาหนด
ขึ้นด้วยความฉลาด (SMART) ซึง่ ประชุม (2535) ได้อธิบายความหมายไว้ดังนี้
S = Sensible (เปน็ ไปได้)
M = Measurable (วัดได้)
A = Attainable (ระบสุ ่งิ ท่ตี ้องการ)
R = Reasonable (เปน็ เหตุเปน็ ผล)
T = Time (เวลา)

6. วิธีดาเนินการ

วิธดี าเนินการเปน็ งานหรือกิจกรรมทก่ี าหนดขึน้ เป็นขั้นตอนตามลาดับกอ่ นหลังเพือ่ ใชป้ ฏิบตั ิใหบ้ รรลุตาม
วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ วิธกี ารดาเนินการจึงนาวตั ถปุ ระสงค์มาจาแนกแจกแจงเปน็ กิจกรรมย่อยหลายกจิ กรรม
โดยจะแสดงให้เหน็ อยา่ งชดั เจนตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการว่ามีกจิ กรรมใดที่จะต้องทาเพือ่ ใหบ้ รรลวุ ัตถุประสงค์ ซึ่ง
กิจกรรมต่างๆ เหล่านี้จะนาไปอธิบายโดยละเอยี ดในสว่ นของแผนการปฏบิ ตั ิงานหรือปฏิทินปฏิบตั ิงานอกี คร้ังหนึ่ง

7. แผนการปฏิบตั ิงาน

การเขียนแผนปฏิบตั ิงานเปน็ การนาเอาขน้ั ตอนต่างๆ ในการดาเนินงานมาแจกแจงรายละเอยี ดให้
ผู้ทาโครงการสามารถลงมือปฏิบตั ิงานได้ โดยจะเขียนรายละเอียดแต่ละงานทีต่ ้องทา มีใครเป็น
ผู้รบั ผิดชอบในงานนั้นบ้าง จะทาเมือ่ ใด และมวี ิธกี ารในการทาอย่างไร และเพื่อใหแ้ ผนปฏิบตั ิงานสามารถ
ดูไดโ้ ดยง่าย และเป็นเครือ่ งมือในการควบคมุ โครงการ จึงเขียนเป็นแผนภมู ิแท่งหรือแผนภมู ิของแกนท์

8. ระยะเวลาในการดาเนินโครงการ

ระยะเวลาในการดาเนินงานโครงการเป็นการระบรุ ะยะเวลาตั้งแต่
เริม่ ต้นโครงการจนกระทงั่ ถงึ เวลาสนิ้ สุดโครงการวา่ ใชเ้ วลาทั้งหมดเทา่ ใด
โดยแสดงใหเ้ หน็ จุดเริ่มต้นและสนิ้ สุดของโครงการโดยระบุ วันเดือน ปี ที่
เริม่ ทาและส้นิ สดุ ถ้าหากเป็นโครงการระยะยาว และมหี ลายระยะกต็ ้อง
แสดงชว่ งเวลาในแต่ละระยะของโครงการนั้นดว้ ยเพื่อใชเ้ ป็นรายละเอยี ด
ประกอบการพิจารณา อนมุ ัติโครงการ

9. งบประมาณและทรัพยากรที่ตอ้ งใช้

งบประมาณและทรพั ยากรที่ต้องใช้เปน็ การระบถุ ึงจานวนเงนิ จานวนบุคคล จานวนวสั ดุ
ครภุ ณั ฑแ์ ละปัจจยั อื่น ๆ ทีจ่ าเป็นต่อการดาเนินโครงการน้ัน ๆ หลักในการกาหนดงบประมาณและทรพั ยากร ในการ
เสนองบประมาณเพือ่ ดาเนินงานโครงการน้ัน ผวู้ างโครงการควรคานึงถงึ หลกั สาคญั 4 ประการในการจดั ทาโครงการ
โดยจะต้องจดั เตรียมไวอ้ ย่างเพยี งพอและจะต้องใช้อยา่ งประหยดั หลกั การในการจัดทาโครงการดังกล่าวได้แก่

01 ความประหยดั (Economy)

การเสนองบประมาณโครงการจะตอ้ งเป็นไปโดยมีความประหยดั ใช้ทรัพยากรทุกอย่างให้คมุ้ ค่าทีส่ ดุ และได้คุณภาพของผลงานดี
ทส่ี ดุ

02 ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency)
โครงการทกุ โครงการจะต้องมีคุณค่าเปน็ ที่ยอมรบั และทุกคนมีความพึงพอใจในผลงานท่เี กดิ ขึ้น โดยใช้ทรัพยากรนอ้ ยทีส่ ุด
ประหยดั ทส่ี ดุ และได้รับผลตอบแทนคุ้มค่า

03 ความมีประสิทธิผล (Effectiveness)
โครงการทกุ โครงการจะต้องดาเนนิ งานเป็นไปตามวตั ถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายที่กาหนดไว้ นาผลทีเ่ กิดขนึ้ เทยี บกับวตั ถุประสงค์
ทต่ี ง้ั ไว้หากได้ตามวตั ถปุ ระสงค์ที่ตั้งไว้กถ็ อื วา่ มีประสิทธผิ ล

04 ความยตุ ธิ รรม (Equity)
การจัดสรรทรพั ยากรทุกชนิด หรือการใช้จา่ ยทรพั ยากรจะตอ้ งเป็นไปตามเกณฑ์ท่กี าหนดไว้ ทงั้ นเี้ พอ่ื ให้ทุกฝ่ายปฏิบัตงิ านได้อย่าง
ตอ่ เนอ่ื งคลอ่ งตัว และมีประสิทธภิ าพสูงสุด

10. การติดตามและประเมินผลโครงการ

ในสว่ นนจี้ ะแสดงถึงการติดตาม การควบคุม การกากบั และการประเมินผลโครงการเพื่อใหโ้ ครงการบรรลถุ ึง
วัตถปุ ระสงค์ที่ไดก้ าหนดไวอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ ผู้เสนอโครงการควรระบุวธิ ีการที่ใชใ้ นการควบคมุ และประเมนิ ผลโครงการ
ไวใ้ ห้ชดั เจน ท้ังนีอ้ าจจะต้องระบุบุคคลหรือหน่วยงานที่รบั ผิดชอบในการประเมนิ โครงการ พรอ้ มท้ังบอกรูปแบบการ
ประเมินผลโครงการ เช่นประเมินก่อนดาเนินการ ขณะดาเนินการ หลงั การดาเนินการ

11. ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะได้รบั

สว่ นนี้จะเปน็ การบอกถึงว่าเมื่อโครงการที่ทาสนิ้ สดุ ลง จะมีผลกระทบในทางทีด่ ีที่คาดว่า
จะเกิดขึ้นโดยตรงและโดยออ้ ม โดยระบใุ ห้ชัดเจนว่าใครจะได้รับผลประโยชน์และผลกระทบ
นั้นไดร้ ับในลกั ษณะอย่างไร ท้ังในเชิงปรมิ าณและเชงิ คณุ ภาพ

ปัญหาในการเขียนโครงการ

ในการเขียนโครงการน้ันเปน็ การกาหนดกจิ กรรมต่างๆ หรือกิจกรรมทจ่ี ะทาในอนาคตโดย
อาศัยข้อมูลต่างๆ ทีม่ ีอยใู่ นปัจจบุ นั เป็นตวั กาหนดกจิ กรรมในโครงการ เมือ่ เป็นเชน่ นหี้ ากเป็น
โครงการทีด่ ีย่อมนามาซึ่งคุณภาพและประสิทธิภาพของหน่วยงาน โครงการบางโครงการ
เมื่อเขียนขึ้นมาแล้วไมส่ ามารถนาไปใช้ปฏบิ ัติได้ เนือ่ งจากปัญหาตา่ งๆ ซึ่งสามารถสรุปได้ดงั นี้
1. ขาดบคุ ลากรทีม่ คี วามรู้ความสามารถที่แทจ้ ริงในการเขียนโครงการ
2. ระยะเวลาที่ใชใ้ นการเขียนโครงการ
3. ขาดวตั ถุประสงค์ทีช่ ัดเจน
4. การเขียนโครงการเป็นเรื่องของอนาคต ที่อาจมีความไมแ่ น่นอนเกิดขึ้น

ลักษณะโครงการทีด่ ี ควรมีลกั ษณะดงั นี้

1. สามารถชว่ ยแกป้ ญั หาของหน่วยงานได)้
2. มีวตั ถปุ ระสงค์หรือเป้าหมายทีช่ ดั เจน สามารถดาเนินการได้จรงิ
3. รายละเอยี ดของโครงการต้องเข้าใจได้ง่ายและมคี วามสมั พนั ธ์กัน เชน่ วัตถุประสงค์ต้องสัมพนั ธ์กบั ปัญหา วิธดี าเนินการก็
ต้องสมั พันธ์กบั วตั ถุประสงค์
4. สามารถติดตามและประเมินผลได้
5. เกิดจากข้อมูลทีไ่ ด้รบั การวิเคราะหม์ าอยา่ งรอบคอบแล้ว
6. ได้รับการสนบั สนุนทางด้านทรพั ยากรและการบริหารอย่างเหมาะสม
7. มีระยะเวลาในการดาเนินการทีแ่ น่ชัด

เอกสารอา้ งอิง
shorturl.asia/ZckxG

shorturl.asia/x1quW

E-book


Click to View FlipBook Version