The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by naunchan.social, 2024-02-04 04:03:53

สื่อประกอบการสอนรายวิชาประวัติศาสตร์ ม.๒ รหัสวิชา ส22104 ครูผู้สอน ครูอัษฎายุธ พุทโธ

บุคคลสำคัญในสมัยอยุธยา
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

สมเด็จพระบรมมไตรโลกกันนาถ เป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่2กับพระราช ธิดาของพระมหาธรรมราชาที่2แห่งกรุงสุโขทัย ครองราชย์ ระหว่างพ.ศ. 1991 ถึง 2031 พระองค์ทรงพระปรีชาสามารถใน หลายด้านท าด้านรัฐศาสตร์นิติศาสตร์ ศาสนาและวรรณคดีซึ่งมี พระราชณกรณียกิจส าคัญดังนี้


1. ทรงปฏิรูปการปกครองราชอาณาจักรโดยแยกการบริหารราชการแผ่นดิน ออกเป็นสองฝ่ายคือสมุหพระกลาโหมดูแลข้าราชการฝ่ายทหารและสมุหนายก ดูแลราชการฝ่ายพลเรือนรวมทั้งหน่วยงานจตุสดมภ์ท าให้สามารถแบ่งแยก หน้าที่ออกเป็นฝ่ายทหารและฝ่ายพลเรือนได้อย่างชัดเจน ส าหรับการบริหาร ส่วนภูมิภาคสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้ยกเลิกเมืองลูกหลวงหรือเมืองหน้า ด่านทั้งสี่เมืองที่อยู่ล้อมรอบกรุงศรีอยุธยาทั้งสี่ทิศส่วนหัวเมืองอื่นๆมีความ เปลี่ยนแปลงดังต่อไปนี้


1.หัวเมืองชั้นในเรียกว่าเมืองจัตวาผู้ปกครองเมืองอยู่ในต าแหน่งผู้รั้งเมืองหรือ เจ้าเมืองอยู่ภายใต้การควบคุมของกรุงศรีทยาอย่างใกล้ชิด 2.หัวเมืองฉันนอกได้มีการแบ่งหัวเมืองออกเป็น เมืองชั้นเอกชั้นโทชั้นตรี ตามล าดับความส าคัญของและขนาดเมือง การปกครองภายในหัวเมืองชั้นนอก ยังจัดให้ใช้รูปแบบเดียวกับกรุงศรีทยาคือให้แบ่งเป็นฝ่ายพลเรือนและฝ่าย ทหารเช่นกัน


2.ทรงประกาศใช้กฎหมายหลายลักษณะเช่นกฎหมายท าเนียบ ศักดินาซึ่งเป็นการก าหนดสิทธิ์และหน้าที่ของมูลนายและไพร่ท าให้ เกิดความสะดวกในการปกครองรวมถึงการลงโทษผู้กระท าผิด เพราะการลงโทษนั้นก าหนดให้ยึดตามสักดีนาเป็นหลัก


3. เสด็จไปประทับที่เมืองพิษณุโลกตั้งแต่พ.ศ. 2006 จนสิ้นสุดสมัย ของพระองค์เนื่องจากนับตั้งแต่พ.ศ. 2003 เป็นต้นมาพระเจ้าติ โลกกราชกษัตริย์ล้านนาพยามท าสงครามยึดหัวเมืองทางเหนือ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถจึงเสด็จไปประทับที่เมืองสู่โลกเพื่อจะ ได้รับศึกสะดวก สงครามนั้นด าเนินไปจนถึงพ.ศ. 2017 แต่ก็ยังไม่ แพ้ชนะกันเด็ดขาดจึงหันมาผูกไมตรีกันตลอดสมัยของพระองค์


4. ทรงมีคุณอาประการต่องานด้านวรรณกรรมวรรณกรรมชิ้นส าคัญสุดคือ มหาชาติค าหลวงซึ่งสมเด็จพระบรมไตรโลกกันนาดโปรดเก้าให้มีการประชุม นักปราชญ์ราชบัณฑิตและพระเถระผู้ใหญ่เพื่อร่วมกันแต่งขึ้นเป็นวรรณกรรมทาง พุทธศาสนาที่ส าคัญเล่มหนึ่งแสดงเห็นถึงความศรัทธาในพระลักษณะของ พระองค์วรรณกรรมที่ส าคัญอีกเรื่องหนึ่งเกี่ยวข้องกับพระบรมไตรโลกนาถคือ ลิลิตญวนพ่ายเป็นลิตรที่แต่งขึ้นเพื่อยพระเกียรติรของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เป็นวรรณกรรมที่แสดงให้เห็น พระปรีชาสามารถของพระองค์ในทุกๆด้าน


Click to View FlipBook Version