แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม กองทนุ หลกั ประกนั สุขภาพ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลสระบัว
เร่อื ง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม โครงการ To Be Number One เยาวชนรนุ่ ใหม่รว่ มใจตา้ นยาเสพติด
เรยี น ประธานกรรมการกองทนุ หลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตาบลสระบวั
ด้วย หน่วยงาน/องคก์ ร/กลมุ่ คน โรงเรยี นบ้านสระบัว มคี วามประสงค์จะจดั ทาแผนงาน/โครงการ/
กิจกรรม โครงการ To Be Number One เยาวชนรุ่นใหมร่ ว่ มใจต้านยาเสพติด ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5
โดยขอรบั การสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลสระบวั เปน็ เงิน
๑๕,๐00 บาท โดยมีรายละเอียดแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ดังนี้
สว่ นท่ี 1 : รายละเอียดแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม (สาหรบั ผ้เู สนอแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม
ลงรายละเอยี ด)
1. วัตถปุ ระสงค์/ตัวชี้วัด
๑.1 เพื่อใหเ้ ยาวชน และภาคีเครอื ข่าย ได้รบั รทู้ ราบถงึ ปัญหา และมีสว่ นรว่ มตอ่ ต้าน ป้องกนั การแพร่
ระบาดของยาเสพติด
๑.2 เพ่ือให้มีการดาเนินงาน To Be Number One อยา่ งต่อเน่อื ง
2. วธิ ดี าเนนิ การ
๒.๑ รับสมัครสมาชิกแกนนา To Be Number One เยาวชนร่นุ ใหม่ รว่ มใจ ต้านยาเสพติด จานวน
๓๕ คน
๒.๒ จัดต้ังชมรม To Be Number One เยาวชนรนุ่ ใหม่ รว่ มใจตา้ นยาเสพติด
๒.๓ จัดอบรมให้ความรู้ คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ ๘ ประการ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง โรคสมองติดยา
และการบาบัด
๒.๔ จดั กิจกรรมออกกาลงั กายทกุ บา่ ยวนั พุธ
2.3 กลุม่ เปา้ หมาย
นกั เรียนจานวน ๑๕๒ คน
3. ระยะเวลาดาเนนิ การ
เดือน ธนั วาคม 2564 – เดอื น กันยายน 2565
4. สถานทดี่ าเนินการ
โรงเรยี นบ้านสระบวั
5. งบประมาณ
งบประมาณจากกองทุนหลกั ประกันสุขภาพ องค์การบรหิ ารส่วนตาบลสระบวั จานวน ๑๕,๐00 บาท
(-หนง่ึ หมนื่ ห้าพันบาทถว้ น-) โดยมีรายละเอยี ด ดังนี้
ท่ี รายละเอยี ดการใชง้ บประมาณ วสั ดุ งบประมาณจาแนกตามรายจ่าย รวม
- คา่ ตอบแทน คา่ ใชส้ อย 7,600
1. อาหารวา่ งและเคร่อื งด่มื 2 มื้อ ๆ
ละ 25 บาท ( 50 × ๑๕๒ ) = - - 7,600 1,000
๗,๖๐๐ บาท - 1,500
- 1,000
2. คา่ ป้ายโครงการ 1 ป้าย ๔,๙๐0 1,500 - ๔,๙๐0
3. คา่ ตอบแทนวิทยากร 1 คน 5 ช.ม.
--
(300×1×5) = ๑,๕00 บาท
4. ค่าวสั ดอุ ปุ กรณ์
รวมเปน็ เงนิ ทัง้ ส้ิน ๑๕,๐00 บาท ( หนึ่งหมื่นห้าพันบาทถ้วน )
6. ผลทีค่ าดวา่ จะได้รับ
6.1 เยาวชนและภาคเี ครอื ขา่ ย ได้รบั รู้ทราบถึงปัญหา และมีส่วนร่วมตอ่ ต้าน ป้องกนั การแพร่ระบาดของ
ยาเสพติด
6.2 มีการดาเนินงาน To Be Number One อย่างต่อเนื่อง
ผเู้ สนอโครงการ ผู้ตรวจสอบโครงการ
ลงชื่อ ลงชอ่ื
(นายมนตรี พรมแสง) (นางสาวกุลฐรัตน์ มัง่ คั่ง)
ผู้อานวยการโรงเรยี นบ้านสระบวั เลขานกุ ารกองทุน
ผ้อู นุมัตโิ ครงการ
ลงช่อื
(นายณรงค์ เกดิ สขุ )
ประธานกรรมการกองทุนฯ
7. สรปุ แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม
(ผเู้ สนอฯ ลงรายละเอียด โดยในแต่ละข้อย่อยให้เลือกเพียง 1 รายการท่เี ป็นรายการหลกั สาหรับใช้ในการ
จาแนกประเภทเทา่ น้ัน เพอ่ื ให้เจา้ หน้าท่ี อปท. บันทึกข้อมูลลงโปรแกรมกองทนุ ฯ เม่ือไดร้ บั อนุมัติแล้ว)
7.1 หน่วยงาน/องคก์ ร/กลุม่ คน ทรี่ ับผิดชอบโครงการ (ตามประกาศฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10)
ชือ่ หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน โรงเรียนบ้านสระบัว
7.1.1 หน่วยบริการหรือสถานบรกิ ารสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
7.1.2 หน่วยงานสาธารณสขุ อน่ื ของ อปท. เชน่ กองสาธารณสุขของเทศบาล
7.1.3 หนว่ ยงานสาธารณสขุ อื่นของรัฐ เช่น สสอ.
7.1.4 หนว่ ยงานอ่นื ๆ ที่ไมใ่ ช่หนว่ ยงานสาธารณสขุ เช่น โรงเรยี น
7.1.5 กลมุ่ หรือองคก์ รประชาชน
7.2 ประเภทการสนบั สนนุ (ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกนั ฯ พ.ศ. 2557 ขอ้ 7)
7.2.1 สนบั สนนุ การจัดบรกิ ารสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบรกิ าร/หน่วยงานสาธารณสุข
[ขอ้ 7(1)]
7.2.2 สนับสนนุ กิจกรรมสร้างเสริมสขุ ภาพ การป้องกันโรคของกลมุ่ หรอื องค์กรประชาชน/หน่วยงาน
อนื่ [ข้อ 7(2)]
7.2.3 สนับสนนุ การจดั กจิ กรรมของ ศนู ยเ์ ด็กเลก็ /ผู้สงู อายุ/คนพกิ าร [ข้อ 7(3)]
7.2.4 สนบั สนุนการบรหิ ารหรือพฒั นากองทนุ ฯ [ข้อ 7(4)]
7.2.5 สนบั สนุนกรณีเกดิ โรคระบาดหรอื ภยั พบิ ัติ [ข้อ 7(5)]
7.3 กลมุ่ เป้าหมายหลัก (ตามแนบทา้ ยประกาศคณะอนุกรรมการสง่ เสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ.
2557)
7.3.1 กลมุ่ หญงิ ตงั้ ครรภแ์ ละหญงิ หลังคลอด
7.3.2 กลมุ่ เด็กเลก็ และเดก็ ก่อนวัยเรยี น
7.3.3 กลมุ่ เด็กวัยเรยี นและเยาวชน
7.3.4 กลมุ่ วยั ทางาน
7.3.5.1 กลุ่มผสู้ ูงอายุ
7.3.5.2 กลุม่ ผ้ปู ่วยโรคเรอื้ รัง
7.3.6 กลมุ่ คนพิการและทุพพลภาพ
7.3.7 กลุ่มประชาชนทั่วไปทม่ี ภี าวะเสย่ี ง
7.3.8 สาหรับการบรหิ ารหรอื พัฒนากองทุนฯ [ข้อ 7(4)]
7.4 กจิ กรรมหลกั ตามกลุ่มเปา้ หมายหลัก
7.4.1 กลมุ่ หญงิ ตง้ั ครรภ์และหญงิ หลังคลอด
7.4.1.1 การสารวจขอ้ มูลสขุ ภาพ การจัดทาทะเบยี นและฐานข้อมลู สขุ ภาพ
7.4.1.2 การตรวจคดั กรอง ประเมนิ ภาวะสขุ ภาพ และการค้นหาผมู้ ภี าวะเส่ยี ง
7.4.1.3 การเยยี่ มตดิ ตามดแู ลสุขภาพก่อนคลอดและหลงั คลอด
7.4.1.4 การรณรงค์/ประชาสมั พันธ์/ฝกึ อบรม/ให้ความรู้
7.4.1.5 การสง่ เสริมการเลีย้ งลูกด้วยนมแม่
7.4.1.6 การคดั กรองและดแู ลรักษามะเร็งปากมดลกู และมะเร็งเตา้ นม
7.4.1.7 การส่งสริมสขุ ภาพชอ่ งปาก
7.4.1.8 อื่นๆ (ระบ)ุ .................................................................................................................
7.4.2 กลุม่ เดก็ เลก็ และเดก็ ก่อนวัยเรียน
7.4.2.1 การสารวจข้อมลู สุขภาพ การจัดทาทะเบยี นและฐานขอ้ มลู สขุ ภาพ
7.4.2.2 การตรวจคดั กรอง ประเมินภาวะสขุ ภาพ และการคน้ หาผู้มีภาวะเสย่ี ง
7.4.2.3 การเยยี่ มตดิ ตามดูแลสขุ ภาพ
7.4.2.4 การรณรงค์/ประชาสมั พนั ธ์/ฝกึ อบรม/ให้ความรู้
7.4.2.5 การสง่ เสริมพัฒนาการตามวยั /กระบวนการเรียนรู้/ความฉลาดทางปัญญาและอารมณ์
7.4.2.6 การสง่ เสริมการไดร้ บั วคั ซนี ป้องกนั โรคตามวัย
7.4.2.7 การส่งเสริมสุขภาพชอ่ งปาก
7.4.2.8 อ่ืนๆ (ระบ)ุ .................................................................................................................
7.4.3 กล่มุ เด็กวัยเรียนและเยาวชน
7.4.3.1 การสารวจขอ้ มูลสุขภาพ การจดั ทาทะเบียนและฐานข้อมลู สขุ ภาพ
7.4.3.2 การตรวจคัดกรอง ประเมนิ ภาวะสุขภาพ และการค้นหาผมู้ ีภาวะเสย่ี ง
7.4.3.3 การเยี่ยมติดตามดแู ลสุขภาพ
7.4.3.4 การรณรงค์/ประชาสมั พันธ์/ฝกึ อบรม/ให้ความรู้
7.4.3.5 การส่งสริมพฒั นาการตามวยั /กระบวนการเรียนรู้/ความฉลาดทางปัญญาและอารมณ์
7.4.3.6 การส่งเสรมิ การไดร้ บั วคั ซนี ป้องกนั โรคตามวยั
7.4.3.7 การป้องกันและลดปัญหาดา้ นเพศสัมพันธ์/การตง้ั ครรภ์ไม่พรอ้ ม
7.4.3.8 การป้องกันและลดปญั หาด้านสารเสพติด/ยาสบู /เคร่อื งดื่มแอลกอฮอร์
7.4.3.9 อืน่ ๆ (ระบ)ุ .................................................................................................................
7.4.4 กลุ่มวัยทางาน
7.4.4.1 การสารวจขอ้ มลู สขุ ภาพ การจดั ทาทะเบยี นและฐานขอ้ มลู สขุ ภาพ
7.4.4.2 การตรวจคดั กรอง ประเมนิ ภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสีย่ ง
7.4.4.3 การเยีย่ มตดิ ตามดแู ลสุขภาพ
7.4.4.4 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้
7.4.4.5 การส่งเสริมพฤตกิ รรมสขุ ภาพในกล่มุ วัยทางานและการปรบั เปลย่ี นสิ่งแวดล้อมในการทางาน
7.4.4.6 การส่งเสรมิ การดแู ลสขุ ภาพจิตแก่กล่มุ วัยทางาน
7.4.4.7 การปอ้ งกันและลดปญั หาดา้ นเพศสัมพันธ์/การต้ังครรภ์ไม่พรอ้ ม
7.4.4.8 การป้องกันและลดปญั หาดา้ นสารเสพติด/ยาสูบ/เครอื่ งดื่มแอลกอฮอร์
7.4.4.9 อื่นๆ (ระบ)ุ .................................................................................................................
7.4.5 กล่มุ ผสู้ ูงอายุ
7.4.5.1. การสารวจข้อมูลสุขภาพ การจดั ทาทะเบียนและฐานขอ้ มลู สุขภาพ
7.4.5.2 การตรวจคดั กรอง ประเมนิ ภาวะสขุ ภาพ และการค้นหาผมู้ ีภาวะเสย่ี ง
7.4.5.3 การเยี่ยมตดิ ตามดูแลสุขภาพ
7.4.5.4 การรณรงค์/ประชาสมั พนั ธ์/ฝกึ อบรม/ให้ความรู้
7.4.5.5 การส่งเสรมิ พฒั นาทกั ษะทางกายและใจ
7.4.5.6 การคัดกรองและดูแลผมู้ ภี าวะซึมเศร้า
7.4.5.7 การคัดกรองและดูแลผมู้ ภี าวะข้อเขา่ เสอ่ื ม
7.4.5.8 อื่นๆ (ระบ)ุ .................................................................................................................
7.4.5.2 กลมุ่ ผปู้ ่วยโรคเรอ้ื รัง
7.4.5.2.1 การสารวจขอ้ มูลสุขภาพ การจดั ทาทะเบียนและฐานข้อมลู สุขภาพ
7.4.5.2.2 การตรวจคัดกรอง ประเมนิ ภาวะสุขภาพ และการค้นหาผ้มู ภี าวะเสีย่ ง
7.4.5.2.3 การเยย่ี มตดิ ตามดูแลสุขภาพ
7.4.5.2.4 การรณรงค์/ประชาสัมพนั ธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้
7.4.5.2.5 การคัดกรองและดูแลผู้ปว่ ยโรคเบาหวานและความดนั โลหติ สูง
7.4.5.2.6 การคดั กรองและดูแลผปู้ ่วยโรคหวั ใจ
7.4.5.2.7 การคัดกรองและดูแลผ้ปู ่วยโรคหลอดเลือดสมอง
7.4.5.2.8 การคดั กรองและดูแลผูป้ ว่ ยโรคมะเร็ง
7.4.5.2.9 อนื่ ๆ (ระบ)ุ .................................................................................................................
7.4.6 กลุม่ คนพกิ ารและทพุ พลภาพ
7.4.6.1 การสารวจข้อมูลสขุ ภาพ การจดั ทาทะเบยี นและฐานขอ้ มูลสขุ ภาพ
7.4.6.2 การตรวจคดั กรอง ประเมนิ ภาวะสุขภาพ และการคน้ หาผู้มีภาวะเส่ียง
7.4.6.3 การเย่ยี มติดตามดแู ลสุขภาพ
7.4.6.4 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้
7.4.6.5 การสง่ เสรมิ พัฒนาทักษะทางกายและใจ
7.4.6.6 การคัดกรองและดูแลผมู้ ีภาวะซึมเศร้า
7.4.6.7 การคัดกรองและดูแลผมู้ ีภาวะข้อเขา่ เสอ่ื ม
7.4.6.8 อืน่ ๆ (ระบ)ุ .................................................................................................................
7.4.7 กล่มุ ประชาชนท่วั ไปที่มีภาวะเสี่ยง
7.4.7.1 การสารวจขอ้ มูลสุขภาพ การจัดทาทะเบียนและฐานข้อมูลสขุ ภาพ
7.4.7.2 การตรวจคดั กรอง ประเมินภาวะสขุ ภาพ และการคน้ หาผู้มีภาวะเส่ยี ง
7.4.7.3 การเย่ียมติดตามดูแลสขุ ภาพ
7.4.7.4 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝกึ อบรม/ให้ความรู้
7.4.7.5 การสง่ เสรมิ การปรับเปลยี่ นพฤติกรรมและส่ิงแวดลอ้ มทมี่ ีผลกระทบตอ่ สุขภาพ
7.4.7.6 อืน่ ๆ (ระบ)ุ .................................................................................................................
7.4.8 สาหรับการบริหารหรือพฒั นากองทนุ ฯ [ข้อ 7(4)]
7.4.8.1 อนื่ ๆ (ระบ)ุ .................................................................................................................
8. ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ
โรงเรียนบ้านสระบวั อาเภอแคนดง จงั หวัดบรุ ีรมั ย์
ลงชอ่ื
( นายมนตรี พรมแสง )
ผู้อานวยการโรงเรยี นบ้านสระบวั
วนั ที่ 15 เดอื น พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖4
งาน/โครงการ โครงการ TO BE NUMBER ONE เยาวชนรุ่นใหม่ ร่วมใจ ตา้ นยาเสพติด
แผนงาน งานบริหารทว่ั ไป
ผูร้ ับผิดชอบ นางระพพี รรณ นานรัมย์ และ นางสาวยุวดี เตียงเฉยี ง
ลกั ษณะโครงการ โครงการต่อเนอื ง
ระยะเวลาดาเนินการ ธันวาคม ๒๕๖4 – กันยายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1.หลักการและเหตุผล
ปจั จุบันปญั หายาเสพตดิ กาลังแพรร่ ะบาดอย่างหนัก โดยเฉพาะกับเด็กและเยาวชนทกี่ าลังจะโตขน้ึ ไป
เปน็ อนาคตท่ีดีของชาติ เน่ืองจากปัจจุบันมีความสะดวกทจี่ ะเข้าถึงสื่อข้อมลู ต่างๆไดง้ ่ายข้ึน ซึง่ รวมถงึ ขา่ วสารที่มี
ลักษณะขดั ต่อศลี ธรรมและบรรทัดฐานทางสงั คมท่ีจะเป็นการชักนาให้เด็กและเยาวชนมีพฤติกรรมเสีย่ งต่อการ
ลอกเลียนแบบในพฤตกิ รรมน้ันๆ รวมถึงการเสพยาเสพตดิ ด้วย ยาเสพตดิ จงึ เป็นปญั หาสาคญั ทตี่ ้องเรง่ ดาเนนิ การ
แกไ้ ขอย่างจริงจัง ในการแกป้ ัญหานนั้ เราไม่อาจจะแก้ไขไดโ้ ดยปจั จัยภายนอกอยา่ งเดียว หากต้องแก้ไขปจั จัย
ภายในซ่ึงหมายถึงตัวเดก็ เองด้วย
ดว้ ยพระอัจฉริยภาพของทลู กระหม่อมหญงิ อบุ ลรตั นราชกญั ญาสริ วิ ัฒนาพรรณวดี ทมี่ สี ายพระเนตร
อนั ยาวไกลทรงตระหนักและทรงห่วงใยในปัญหาน้ีมาก จึงทรงพระกรณุ าธิคุณ รบั เป็นองค์ประธานโครงการรณรงค์
ปอ้ งกันและแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ซึง่ ปจั จุบันได้ใช้ชือ่ เพื่อให้ง่ายต่อการรณรงคว์ า่ โครงการ TO BE NUMBER
ONE เพ่อื รณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพตดิ โดยทรงมีพระประสงค์มุง่ เนน้ การรณรงคใ์ นกลุ่มเปา้ หมายหลกั
คือวัยรุน่ และเยาวชน โดยกลวิธีสรา้ งกระแสการแสดงพลังอยา่ งถูกต้องโดยไม่ขอ้ งแวะกับยาเสพตดิ ดงั น้นั โรงเรยี น
บ้านสระบัว ได้เล็งเห็นถงึ ปัญหาของวัยรุน่ จงึ ไดจ้ ัดโครงการ TO BE NUMBER ONE เยาวชนรุ่นใหม่ ร่วมใจ ตา้ น
ยาเสพตดิ ขึน้ เพ่อื เปน็ การแก้ไขปัญหาของวัยรุน่ ไม่วา่ จะเปน็ ในเร่อื งของยาเสพตดิ นาไปสู่การเป็นเด็กและเยาวชนที่
ดีของชาตติ ่อไป
2.วตั ถุประสงค์
2.๑ เพ่ือให้เยาวชน และภาคีเครือข่าย ไดร้ บั รรู้ ับทราบถงึ ปัญหา และมสี ว่ นร่วมต่อต้าน ป้องกนั การ
แพรร่ ะบาดของยาเสพตดิ
2.2 เพือ่ ให้มีการดาเนินงาน TO BE NUMBER ONE อย่างตอ่ เนื่อง
โดยการดาเนินงานภายใต้ ๓ ยุทธศาสตรห์ ลักคอื
๑. การรณรงคป์ ลุกจติ สานกึ และสร้างกระแสนิยมท่ีเอื้อต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหา
ยาเสพตดิ
๒. การเสรมิ สร้างภูมคิ มุ้ กนั ทางจิตใจให้แกเ่ ยาวชน
๓. การสร้างและพฒั นาเครือข่ายเพ่ือการป้องกันและแก้ไขปญั หายาเสพตดิ
3. เป้าหมาย
3.๑ เดก็ วัยเรียนและเยาวชน โรงเรียนบา้ นสระบวั 1๕๒ คน
4. การดาเนินงาน
4.1 รบั สมคั รสมาชกิ แกนนา TO BE NUMBER ONE เยาวชนรนุ่ ใหม่ รว่ มใจ ตา้ นยาเสพติด
จานวน 35 คน
4.2 จัดต้ังชมรม TO BE NUMBER ONE เยาวชนรุ่นใหม่ ร่วมใจ ต้านยาเสพติด
4.3 จดั อบรมใหค้ วามรู้เรือ่ ง คุณลักษณะที่พึง่ ประสงค์ 8 ประการ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง และ
โรคสมองติดยา และ การบาบดั จานวน 1๕๒ คน
4.4 จัดกิจกรรมออกกาลงั กาย ทุกบา่ ยวนั พุธ
5.งบประมาณ
จากงบประมาณกองทุนหลกั ประกนั สุขภาพองค์การบริหารส่วนตาบลสระบวั รายละเอียดดังน้ี
ท่ี รายละเอยี ดการใช้ วสั ดุ งบประมาณจาแนกตามรายจ่าย รวม
งบประมาณ - คา่ ตอบแทน คา่ ใช้สอย ๗,๖๐0
1. อาหารวา่ งและเครื่องด่มื 2 - - ๗,๖๐0 1,000
มื้อ ๆ ละ 25 บาท ( 50 × - 1,500
1๕๒ )= ๗,๖00บาท - 1,000
๔,๙๐0 1,500 - ๔,๙๐0
2. ค่าปา้ ยโครงการ 1 ปา้ ย
3. ค่าตอบแทนวทิ ยากร 1 คน --
5 ช.ม. (300×1×5) =
๑,๕00 บาท
4. คา่ วัสดอุ ุปกรณ์
รวมเป็นเงินทงั้ สนิ้ 1๕,๐00 บาท ( หนึ่งหมื่นห้าพนั บาทถว้ น)
6.ผลที่คาดหวังวา่ จะได้รับ
6.๑ เยาวชน และภาคีเครือขา่ ย ไดร้ บั รรู้ บั ทราบถงึ ปัญหา และมสี ว่ นร่วมต่อตา้ น ปอ้ งกันการแพร่
ระบาดของยาเสพตดิ
6.2 มกี ารดาเนนิ งาน TO BE NUMBER ONE อยา่ งต่อเน่ือง
ผเู้ สนอโครงการ ผู้ตรวจสอบโครงการ
ลงชอื่ ลงชื่อ
(นายมนตรี พรมแสง) (นางสาวกลุ ฐรตั น์ ม่ังคัง่ )
ผู้อานวยการโรงเรยี นบ้านสระบวั เลขานกุ ารกองทนุ
ผู้อนุมตั โิ ครงการ
ลงช่ือ
(นายณรงค์ เกดิ สุข)
ประธานกรรมการกองทนุ ฯ
ตารางอบรมโครงการ TO Be Number one เยาวชนรุ่นใหม่ ตา้ นภยั ยาเสพตดิ
ระหวา่ งวันที่..................เดือน..........................พ.ศ........................
ณ หอ้ งประชุมโรงเรยี นบา้ นสระบวั ตาบลสระบัว อาเภอแคนดง จังหวัดบรุ ีรมั ย์
วนั ท่ี เวลา หวั ข้อการอบรม วทิ ยากร/ผูไ้ ดร้ บั มอบหมาย
08.00 – 08.30 น. - ลงทะเบยี น/รายงานตัว นายสมุ ติ ร เจียมทอง
08.30 – 09.00 น. - ประชุมคณะวิทยากร/วิทยากรพ่เี ล้ยี ง
09.00 – 10.00 น. - ปฐมนิเทศเยาชนแกนนา นายสมุ ติ ร เจียมทอง
นายสมุ ติ ร เจียมทอง
- พิธเี ปดิ /บรรยายพิเศษ นายสุมิตร เจียมทอง
สถานการณข์ องยาเสพติด
10.00 - 12.00 น. - โรคสมองตดิ ยาและการบาบดั
13.00 - 14.00 น. - คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 8 ประการ
- ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
14.00 - 15.30น. - กิจกรรมกลมุ่ สมั พันธ์
15.30 – 16.00น. - กิจกรรมออกกาลังกาย นายสุมิตร เจยี มทอง
หมายเหตุ ตารางอบรมนี้อาจเปลีย่ นแปลงได้ตามความเหมาะสม
- รับประทานอาหารกลางวนั เวลา 12.00 น.
- พักรับประทานอาหารวา่ ง เวลา 10.30 น. และ 14.30 น.
งาน/โครงการ โครงการส่งเสริม ทันตสขุ ภาพและทันตกรรมป้องกนั
โรงเรียนบา้ นสระบวั ปี 2565
แผนงาน งานบรหิ ารทั่วไป
ผรู้ ับผิดชอบ นางระพพี รรณ นานรมั ย์ และ นางสาวยุวดี เตยี งเฉยี ง
ลักษณะโครงการ โครงการตอ่ เน่ือง
ระยะเวลาดาเนนิ การ ธนั วาคม 2564 – ตุลาคม 2565
……………………………………………………………………………………………………………………….......................
1. หลกั การและเหตผุ ล
ปัญหาด้านทนั ตสุขภาพเป็นปญั หาสาคัญท่พี บมากในนักเรียนประถมศกึ ษาเม่ือเทยี บกบั โรคอื่น ๆทต่ี รวจ
พบในกลุ่มเดียวกนั และปญั หาด้านทันตสุขภาพนน้ั นอกจากจะมีผลเสียโดยตรงตอ่ สุขภาพช่องปากของเด็กแลว้ ยงั มี
ผลกระทบต่อการเรียนและพัฒนาการของเดก็ นักเรียนประถมศึกษาอยู่ในช่วงอายุ 6-12 ปี ซึง่ เป็นวยั ท่ีมฟี นั แท้ข้ึน
ใหม่ๆลักษณะรูปร่างฟันมีหลุมรอ่ งลึกทาใหเ้ กดิ โรคฟันผุได้ง่ายนอกจากอปุ นสิ ยั ของเด็กทชี่ อบรบั ประทานของหวาน
ตลอดจนมีข้อจากัดในเรื่องความสามารถในการดแู ลสขุ ภาพช่องปากดว้ ยตนเองลว้ นเป็นสาเหตุที่ทาใหเ้ กดิ โรคใน
ชอ่ งปากไดง้ ่ายหากไมไ่ ด้รับการดแู ลเอาใจใส่ทีด่ พี อโรคในชอ่ งปากเป็นโรคทสี่ ามารถป้องกันไดแ้ ละสามารถทาได้
อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพหากเร่ิมต้นส่งเสริมตง้ั แตว่ ัยเดก็ การฝกึ ฝนให้เดก็ มีทันตสุขนสิ ยั ทด่ี ีและการส่งเสริมและป้องกัน
รวมทัง้ การบาบดั รักษาในระยะเร่ิมแรกของการเป็นโรค จะชว่ ยป้องกนั และควบคมุ โรคในช่องปากของเดก็ ได้
จากผลการตรวจสขุ ภาพชอ่ งปากนักเรยี นตามระบบเฝา้ ระวังทันตสุขภาพในโรงเรยี นประถมศึกษาโรงเรยี น
บ้านสระบัว 3 ปี ยอ้ นหลัง ปีพ.ศ.2561 พบว่านกั เรียนมฟี ันแท้ผจุ านวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 29.77
เหงอื กอักเสบจานวน 28 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 21.38 และมีปญั หาระดับ จ ต้องไดร้ บั การแก้ไขเรง่ ดว่ น จานวน
14 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 10.49 ปี พ.ศ 2561 พบว่านกั เรยี นมีฟนั แทผ้ ุจานวน 40 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 30.54
เหงอื กอักเสบ 28 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 29.77 และมีปัญหาระดบั จ ต้องรับการรักษาเร่งดว่ น 15 คน คิดเปน็
ร้อยละ 11.45 ปี 2562 พบนักเรยี นมีฟนั แท้ผุ 80 คน คิดเป็นร้อยละ 65.57 เหงอื กอักเสบ 28 คิดเป็นรอ้ ย
ละ 22.95 และมปี ัญหาระดบั จ ตอ้ งรบั การรักษาเร่งดว่ น 21 คน คิดเป็นร้อยละ17.21 ซึ่งจะเห็นได้วา่
ปญั หาดา้ นทันตสขุ ภาพได้ทวคี วามรนุ แรงข้ึนทกุ ๆปี โรงเรียนบ้านสระบัวรว่ มกบั โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพสระ
บัวและกลุ่มงานทนั ตกรรมโรงพยาบาลแคนดงได้ดาเนนิ การเป็นประจาทุกปเี ป็นการดาเนินงานทโ่ี รงเรียนสง่ เสรมิ
สุขภาพโดยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือดาเนินงานส่งเสรมิ ป้องกัน รักษา สุขภาพช่องปากของนกั เรยี น และมีการปรับวธิ ีการ
ดาเนินงานใหส้ อดคล้องกบั ปัญหาของแตล่ ะพ้นื ท่ี ซึ่งการดาเนนิ งานจาเปน็ ต้องได้รบั ความร่วมมือจากครู นกั เรียน
ผู้ปกครองและทันตบุคลาการ เพอื่ สง่ เสรมิ และสนับสนุนให้มีการแปรงฟนั ที่ถกู วิธี และสมา่ เสมอท้ังท่ีบา้ นและที่
โรงเรียน ครแู ละนักเรียนมีความรดู้ า้ นทนั ตสุขภาพ และควบคไู่ ปกบั การให้บริการทันตกรรมท่ีถกู ตอ้ งและเหมาะสม
ดงั นั้นโรงเรียนบา้ นสระบวั ตาบลสระบัว อาเภอแคนดง จงั หวัดบุรรี มั ย์ จงึ ได้จดั ทาโครงการส่งเสรมิ ทันตสุขภาพ
และทันตกรรมป้องกนั ในโรงเรียนบา้ นสระบัว ปี 2564 ขนึ้
2. วตั ถุประสงค์
1. เพือ่ ใหน้ กั เรยี นมคี วามรู้ความเข้าใจเร่ืองทันตสขุ ภาพ
2.เพ่ือใหน้ ักเรียนชัน้ ประถมศึกษาไดร้ ับการตรวจสขุ ภาพชอ่ งปาก100 %
3.เพ่อื ให้นักเรยี นแปรงฟนั หลงั อาหารกลางวนั ด้วยยาสีฟนั ผสมฟลูออไรดท์ ุกวนั ท่ีโรงเรยี น
4.เพือ่ ให้นักเรียนที่มีปัญหาด้านสุขภาพชอ่ งปากไดรับบรกิ ารทันตกรรมและแกไ้ ขปญั หาตามระดับ
ทกุ คน
5.เพือ่ ใหน้ กั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี1ได้รับบริการเคลอื บรอ่ งฟัน ตามเป้าหมาย
6.เพอ่ื ให้มีการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ รปู แบบ และกระบวนการการดาเนนิ งานกิจกรรมสง่ เสริมทันตสุขภาพใน
โรงเรยี นประถมศึกษา 2 ครั้ง
3. เปา้ หมาย
นักเรยี นโรงเรียนบา้ นสระบัว ระดบั ชัน้ อนุบาล ถงึ ชั้นประถมศึกษาปี่ท่ี6 จานวน 152 คน
4. กิจกรรมท่ดี าเนินการ
1. ขน้ั เตรยี ม
1.ประชมุ เพ่ือชี้แจงนโยบาย แนวทางการดาเนนิ งานโรงเรียนสง่ เสรมิ ทนั ตสขุ ภาพใหค้ ณะกรรมการใน
โรงเรยี นรบั ทราบปัญหา
2.จัดทาโครงการโรงเรยี นส่งเสริมทนั ตสขุ ภาพเพือ่ ขออนมุ ัตงิ บประมาณจากกองทุนหลกั ประกนั สุขภาพ
อบต.สระบัว
3.ประชมุ วางแผนการดาเนินงาน ประสานและทาหนงั สอื แจ้งโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพสระบวั และ
โรงพยาบาลแคนดงเพ่ือประสานทีมทันตบุคลากรในการดาเนินกจิ กรรมสง่ เสริมทนั ตสุขภาพ
2. ขัน้ ดาเนนิ การ ดาเนนิ งานตามแผนกิจกรรมดังรายละเอียด
1.ตรวจสขุ ภาพชอ่ งปากนักเรียนทุกคนตามระบบเฝ้าระวังทันตสขุ ภาพปีละ 2 ครง้ั มิถนุ ายนและธันวาคม
2.ใหบ้ ริการทันตกรรม อุดฟนั ถอนฟนั ขูดหนิ ปูน นกั เรยี นท่ีมีปญั หาสุขภาพชอ่ งปาก
3.ใหบ้ ริการเคลือบร่องฟนั นกั เรียนช้นั ประถมศึกษช้ันปีท่ี1 80%
4.จัดตง้ั ชมรมเดก็ ไทยฟันดีในโรงเรยี น
5.จัดอบรบให้ความรูด้ า้ นทันตสุขภาพใหก้ บั นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4-6 จานวน 70 คน
6.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรยี นรู้สาหรับนกั เรียนจานวน 1 ครง้ั นกั เรยี น 70 คน
3. ข้ันประเมนิ ผล ประเมินผลโครงการ
-จากรายงาน ทส.002
-จากแบบประเมินหลังการอบรมให้ความรู้
5. ระยะเวลาดาเนนิ การ
ธันวาคม 2564 – ตุลาคม 2565
6. งบประมาณ
จากงบประมาณกองทนุ หลักประกนั สุขภาพองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลสระบัว รายละเอียดดงั นี้
ที่ รายละเอียดการใช้ งบประมาณจาแนกตามรายจ่าย
งบประมาณ วสั ดุ ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย รวม
1. อาหารวา่ งและเคร่อื งดื่ม 2 - - 3,500 3,500
มื้อ ๆ ละ 25 บาท ( 50 ×
70)= 3,500บาท
2. ค่าปา้ ยโครงการ 1 ปา้ ย - - 1,000 1,000
3. คา่ ตอบแทนวทิ ยากร2 คน - 1,800 - 1,800
3ช.ม. (300×2×3)
=3,600 บาท
4 คา่ วัสดอุ ปุ กรณแ์ ปรงฟัน 4,890 - - 4,890
163ชดุ ชดุ ละ 30 (30
×169)=4,890 บาท
5. คา่ ป้ายโปสเตอร์ทนั ตสุขภาพ - - -
จานวน 10 ชดุ ชุดละ่ 500 5,000
บาท(10×500)=5,000
บาท
รวมเป็นเงินทั้งส้นิ 16,190 (หนึง่ หม่นื หกพนั หน่ึงรอ้ ยเก้าสบิ บาทถ้วน)
7. ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ บั
1.นกั เรียนได้รบั การตรวจสุขภาพช่องปากตามระบบเฝา้ ระวังอย่างต่อเนื่อง
2.นักเรยี นที่มีปญั หาสขุ ภาพช่องปากได้รบั บริการทนั ตกรรมอยา่ งถูกต้อง
3.นักเรียนแปรงฟันหลงั อาหารกลางวนั อย่างถูกวิธดี ้วยยาสีฟนั ผสมฟลูออไรด์
4.นักเรยี นเปล่ยี นแปลงทศั นคติและมีพฤติกรรมทางทันตสุขภาพดีขนึ้
5.นกั เรยี นโรงเรยี นบ้านสระบวั มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รปู แบบ และกระบวนการการดาเนนิ งานกจิ กรรม
สง่ เสรมิ ทนั ตสุขภาพในโรงเรียนประถมศกึ ษาในรปู แบบเครือขา่ ยและมีการพัฒนารูปแบบกิจกรรมสง่ เสรมิ ทนั ต
สขุ ภาพทมี่ ีคุณภาพอยา่ งยั่งยืน
ผู้เสนอโครงการ ผูต้ รวจสอบโครงการ
ลงช่ือ ................................... ลงชื่อ..................................
(นายมนตรี พรมแสง ) (นางสาวกลุ ฐรัตน์ มงั่ คั่ง )
เลขานุการกองทนุ
ผูอ้ านวยการโรงเรียนบ้านสระบวั
ผอู้ นุมัตโิ ครงการ
ลงชอ่ื ......................................
(นายณรงค์ เกิดสุข)
ประธานกรรมการกองทุนฯ
กาหนดการจดั อบรมโครงการส่งเสริมทนั ตสุขภาพและทันตกรรมป้องกันโรงเรียนบา้ นสระบัว
ประจาปี ๒๕๖5
ณ.โรงเรียนบ้านสระบัว
เวลา กิจกรรม วิทยากร หมาย
เหตุ
๐๘.๐๐-๐๘.๓๐ น ลงทะเบียน คณะครู โรงเรียนบ้านสระบวั
๐๘.๓๐-๐๘.๔๕ น พิธีเปิดการอบรม นายกองคก์ ารบริหารส่วนตาบลสระ
บัว
๐๘. ๔๕น-๐๙.๔๕ น บรรยายเรื่องโรคในช่องปากและการ นางสาวอโนทัย ใหญร่ มั ย์ เจา้
ดแู ลสุขภาพช่องปากในเด็ก พนกั งานทนั ตสาธารณสุขชานาญงาน
ประถมศึกษา งานทันตกรรม รพ.แคนดง
๐๙.๔๕น -๑๐.๐๐ น พักรับประทานอาหารว่าง
๑๐.๐๐น- ๑๒.๐๐ น สาธติ การแปรงฟันทีถ่ ูกวธิ ีและฝึก ๑.นางสาวอโนทัย ใหญ่รมั ย์ เจา้
ปฏบิ ัตจิ ริงในกลมุ่ เด็กประถมศกึ ษา พนกั งานทนั ตสาธารณสุขชานาญงาน
งานทนั ตกรรม รพ.แคนดง
๒.นางสาวพนัสชนก วงเวยี น
เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข
ปฏิบตั ิงาน
งานทันตกรรม รพ.แคนดง
๑๒.๐๐ น-๑๓.๐๐ น พักรับประทานอาหารกลางวนั
๑๓.๐๐ น-๑๔.๐๐ น บรรยายเร่ืองอาหารที่เป็นโทษต่อ ๒.นางสาวพนสั ชนก วงเวียน
สขุ ภาพช่องปากและการเลอื ก เจา้ พนักงานทนั ตสาธารณสขุ
รบั ประทานอาหารท่เี ปน็ ประโยชน์ ปฏิบัติงาน
งานทนั ตกรรม รพ.แคนดง
๑๔.๐๐ น-๑๔.๑๕ น พักรบั ประทานอาหารว่าง
๑๔.๑๕น-๑๕.๐๐ น กจิ กรรมสนั ทนาการ เคลื่อนไหวตาม คณะครู รร บ้านสระบัว
จงั หวะ
๑๕.๐๐ น-๑๖.๓๐ น ซกั ถามปญั หา-ตอบ ปิดการอบรม คณะครู/จนท งานทันตกรรม