The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การแสดงชุดศุภลักษณ์อุ้มสม จัดเป็นการแสดงประเภทอวดฝีมืออีกชุดหนึ่งเนื่องจาก
ผู้แสดงเป็น พระอุณรุท และนางศุภลักษณ์ซึ่งเป็นตัวละครเอกที่แสดงบทบาทนี้ในเรื่องอุณรุท ต้องมี
พื้นความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติท่ารำของตัวพระและนางเป็นอย่างดี มีลีลาที่สัมพันธ์กัน
รวมถึงต้องมีปฏิภาณไหวพริบดีประกอบด้วย การแสดงชุดนี้เป็นการรำคู่ที่แตกต่างจากการรำคู่ใน
บทอื่นเนื่องจากผู้แสดง 2 คน คือ นางศุภลักษณ์และพระอุณรุทนั้นจะต้องใช้อวัยวะของร่างกาย
อย่างหนึ่งอย่างใดสัมผัสกันและกันตลอดการแสดง เพื่อแสดงว่านางศุภลักษณ์กำลังอุ้มพระอุณรุท
พาเหาะไปในอากาศ ทำให้ผู้แสดงทั้งสองจะต้องฝึกหัดร่วมกันเพื่อให้เกิดความพร้อมเพรียงใน
การรำและเห็นการรำของผู้แสดงทั้งสองคนเป็นคนคนเดียวกัน เมื่อการแสดงชุดนี้ มีเพลงประกอบที่
ไพเราะและการรำอันงดงามจึงทำให้เกิดสุนทรียรสทางนาฏศิลป์ มากขึ้น นับว่าการแสดงชุดนี้มีความ
น่าสนใจเป็นพิเศษ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by banthursaneaw, 2021-08-14 00:22:09

การรำชุดศุภลักษณ์อุ้มสม

การแสดงชุดศุภลักษณ์อุ้มสม จัดเป็นการแสดงประเภทอวดฝีมืออีกชุดหนึ่งเนื่องจาก
ผู้แสดงเป็น พระอุณรุท และนางศุภลักษณ์ซึ่งเป็นตัวละครเอกที่แสดงบทบาทนี้ในเรื่องอุณรุท ต้องมี
พื้นความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติท่ารำของตัวพระและนางเป็นอย่างดี มีลีลาที่สัมพันธ์กัน
รวมถึงต้องมีปฏิภาณไหวพริบดีประกอบด้วย การแสดงชุดนี้เป็นการรำคู่ที่แตกต่างจากการรำคู่ใน
บทอื่นเนื่องจากผู้แสดง 2 คน คือ นางศุภลักษณ์และพระอุณรุทนั้นจะต้องใช้อวัยวะของร่างกาย
อย่างหนึ่งอย่างใดสัมผัสกันและกันตลอดการแสดง เพื่อแสดงว่านางศุภลักษณ์กำลังอุ้มพระอุณรุท
พาเหาะไปในอากาศ ทำให้ผู้แสดงทั้งสองจะต้องฝึกหัดร่วมกันเพื่อให้เกิดความพร้อมเพรียงใน
การรำและเห็นการรำของผู้แสดงทั้งสองคนเป็นคนคนเดียวกัน เมื่อการแสดงชุดนี้ มีเพลงประกอบที่
ไพเราะและการรำอันงดงามจึงทำให้เกิดสุนทรียรสทางนาฏศิลป์ มากขึ้น นับว่าการแสดงชุดนี้มีความ
น่าสนใจเป็นพิเศษ

1

เชิดฉ่ิง: การราชุดศุภลกั ษณ์อ้มุ สม

นายบณั ฑูร สะเนาว์
รหสั นักศึกษา 6321163044

รายงานนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลกั สูตร
รายวชิ าสุนทรียภาพทางนาฏยศิลป์
สาขาวชิ านาฏยศิลป์ คณะครุศาสตร์

มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ปี การศึกษา2563
สารบญั

2

สารบัญ
เรื่อง หนา้
บทนา......................................................................................................1

วตั ถุประสงค.์ .............................................................................1
ขอบเขตระยะเวลาการศึกษา......................................................1
ประโยชนท์ ่ีคาดจะไดร้ ับ...........................................................1
เน้ือหา......................................................................................................2
ที่มาของการแสดงชุดราศุภลกั ษณ์อุม้ สม...................................2
สุนทรียรส..................................................................................3
บทละครเร่ืองอุณรุทฉบบั พระราชนิพนธ์ในรัชกาลท่ี 1..............4
องคป์ ระกอบการแสดง ชุดศภุ ลกั ษณ์อุม้ สม..............................................6
ผแู้ สดง.........................................................................................6
ดนตรีและเพลงร้อง......................................................................6
บทร้องการแสดงชุดศุภลกั ษณ์อุม้ สมและวงดนตรี……………...6
โอกาสที่ใชแ้ สดง..........................................................................9
ท่าราเชิดฉิ่ง ชุดเชิดฉิ่งศุภลกั ษณ์อุม้ สม.......................................................11
วเิ คราะห์สุนทรียภาพ..................................................................................28
บรรณานุกรม..............................................................................................29

3

บทนา

รายงานเล่มน้ีจดั ทาเพื่อการศึกษา การแสดง การราชุดศุภลกั ษณ์อุม้ สม เป็นการราคู่ ในการ
ประกอบการแสดงเพ่อื อวดฝี ไมล้ ายมือของผแู้ สดง 2 คน คือ อุณรุท และนางศุลกั ษณ์ ซ่ึงเป็นตวั ละครเอก
ของการแสดง เร่ืองอุณรุท นบั วา่ การแสดงน้ีเป็นที่น่าสนใจเป็นพิเศษ ดงั ต่อไปน้ี

วตั ถุประสงค์

1.เพื่อเป็ นการอธิบายท่ีมาของการแสดงการแสดง: การราชุดศุภลกั ษณ์อุม้ สม
2.สามารถนาเสนอขอ้ มูลเก่ียวกบั การการแสดง การราชุดศุภลกั ษณ์อุม้ สม ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
3.สามารถศึกษาท่าราศุภลกั ษณ์อุม้ สม สาหรับผทู้ ี่สนใจ
4.เพอื่ ใชป้ ระกอบการแสดงเรื่องอุณรุท ชุดศุภลกั ษณ์อุม้ สม
5.เพ่ือเป็ นการฝึกทกั ษะการวเิ คราะห์การแสดง

ขอบเขตระยะเวลาการศึกษา

1.วนั ท่ี 5 เมษายน 2564 กาหนดหวั ขอ้ เรื่องของรายงาน
2.วนั ท่ี 12-15 เมษายน 2564 คน้ หาขอ้ มูลของรายงาน
3.วนั ท่ี 20-21 เมษายน 2564 ทาการเลือก การแสดง: การราชุดศุภลกั ษณ์อุม้ สม
5.วนั ที่ 3-5 พฤษภาคม 2564 เรียบเรียงขอ้ มูล
6.วนั ท่ี 14 พฤษภาคม 2564 นาเสนอและปรับปรุงรายงาน
7.วนั ท่ี 30 พฤษภาคม 2564 นาเสนอรายงาน

ประโยชน์ทคี่ าดจะได้รับ
1.ไดร้ ู้จกั การราเชิดฉิ่งมากข้ึน
2.สามารถนาไปประกอบการแสดง ชุดศุภลกั ษณ์อุม้ สมได้
3.เพอ่ื ใหร้ ู้จกั การวเิ คราะห์การแสดงใหแ้ ตกฉาน

4

เนื้อหา

การแสดงชุดศุภลกั ษณ์อุม้ สม จดั เป็นการแสดงประเภทอวดฝี มืออีกชุดหน่ึงเน่ืองจาก
ผแู้ สดงเป็น พระอุณรุท และนางศุภลกั ษณ์ซ่ึงเป็ นตวั ละครเอกที่แสดงบทบาทน้ีในเร่ืองอุณรุท ตอ้ งมี
พ้ืนความรู้ ความสามารถในการปฏิบตั ิท่าราของตวั พระและนางเป็ นอยา่ งดี มีลีลาที่สัมพนั ธ์กนั
รวมถึงตอ้ งมีปฏิภาณไหวพริบดีประกอบดว้ ย การแสดงชุดน้ีเป็นการราคู่ท่ีแตกตา่ งจากการราคู่ใน
บทอ่ืนเนื่องจากผแู้ สดง 2 คน คือ นางศุภลกั ษณ์และพระอุณรุทน้นั จะตอ้ งใชอ้ วยั วะของร่างกาย
อยา่ งหน่ึงอยา่ งใดสมั ผสั กนั และกนั ตลอดการแสดง เพือ่ แสดงวา่ นางศุภลกั ษณ์กาลงั อุม้ พระอุณรุท
พาเหาะไปในอากาศ ทาใหผ้ ูแ้ สดงท้งั สองจะตอ้ งฝึกหดั ร่วมกนั เพอ่ื ใหเ้ กิดความพร้อมเพรียงใน
การราและเห็นการราของผแู้ สดงท้งั สองคนเป็นคนคนเดียวกนั เม่ือการแสดงชุดน้ี มีเพลงประกอบท่ี
ไพเราะและการราอนั งดงามจึงทาใหเ้ กิดสุนทรียรสทางนาฏศิลป์ มากข้ึน นบั วา่ การแสดงชุดน้ีมีความ
น่าสนใจเป็ นพิเศษ
ทม่ี าของการแสดงชุดราศุภลกั ษณ์อ้มุ สม

ศุภลกั ษณ์อุม้ สมเป็นการแสดงชุดหน่ึงอยใู่ นละครในเร่ืองอุณรุท ซ่ึงเป็ นพระราชนิพนธ์ใน
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก โดยบทละครในเรื่องอุณรุทน้ี กรมศิลปากรไดใ้ หเ้ จา้ หนา้ ท่ี
ตรวจสอบชาระและไดจ้ ดั พมิ พเ์ ป็นคร้ังแรกในงานพระราชทานเพลิงศพ พลตรีหม่อมเจา้ ฉตั รมงคล โสณ
กลุ เมื่อ พ.ศ.2508 ที่มาของบทละครเรื่องอุณรุท นายธนิต อยโู่ พธ์ิ อดีตอธิบดีกรมศิลปากรไดก้ ล่าวไวว้ า่
เรื่อง อุณรุท ปรากฎวา่ รู้จกั กนั ดีมาต้งั แต่สมยั กรุงศรีอยธุ ยา แต่ที่เป็นท่ีรู้จกั กนั ทว่ั ไปคือปรากฎเป็น
วรรณคดีเร่ืองสาคญั คือ " อนิรุทธคาฉนั ท์ " ของศรีปราชญ์ ในรัชกาลสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราชซ่ึงเน้ือ
เรื่องตลอดจนช่ือคน และสถานท่ีในอนิรุทธคาฉนั ท์ มกั กล่าวถึงตรงกนั กบั ท่ีปรากฎในคมั ภีร์วษิ ณุปุราณะ
ดงั ขอ้ ความตอนหน่ึงมีวา่
" อุษา ธิดาของพาณะ ไดเ้ ห็นพระแม่เจา้ บารพตี กาลงั สาเริงกรีฑาอยกู่ บั พระสัมพผุ พู้ ระมหาสวามี ก็ดลใจ
ใหน้ างปรารถนากระทาเช่นน้นั บา้ ง พระแม่เจา้ เคารีผทู้ รงโฉม ซ่ึงทรงทราบวาระน้าจิตของปวงประชา
สตั ว์ จึงตรัสแก่อุษาวา่ " อยา่ เสียใจ เธอจะมีสามี " อุษาราพึงกบั ตนเองวา่ " แลว้ เมื่อไหร่จะมี ผใู้ ดหนอจะ
มาเป็นสามีของเรา " พระแม่เจา้ จึงตรัสต่อไปวา่ " ผใู้ ดปรากฎแก่เจา้ ในความฝัน ณ วนั ข้ึน 12 ค่า แห่ง
เดือนไพศาข เขาผนู้ ้นั แหละจะเป็นสามีของเจา้ " เหตุน้ีคร้ันถึงวนั ตามที่พระแม่เจา้ ทรงพยากรณ์ไวห้ นุ่ม
นอ้ ย ผหู้ น่ึงกป็ รากฎในสุบินนิมิตรของนางอุษา ซ่ึงเธอรักใคร่ใฝ่ ฝัน คร้ันเธอตื่นข้ึนภายในสุบินนิมิตรก็
อนั ตรธานไปไมเ่ ห็นหนุ่มนอ้ ยผนู้ ้นั เธอจึงเศร้าโศกเสียใจไมส่ ามารถระงบั ไวไ้ ด้ พร่าบ่นถึงใคร่จะไปได้
อยรู่ ่วมกบั บุคคลท่ีเธอเห็นในความฝันน้นั อุษามีเพื่อนหญิงคนหน่ึงชื่อวา่ จิตรเลขา ธิดาของกมุ ภาณฑผ์ ู้
เป็นเสนาบดีของพาณะ จิตรเลขาถามอุษาวา่ บน่ ถึงใคร เธอไดส้ ติรู้สึกตวั ก็มีความละอายจึงนิ่งเสีย อยา่ งไร
กด็ ีเมื่อนางจิตรเลขาเฝ้าปลอบโยนใหเ้ ช่ือใจแลว้ ซกั ถามอยเู่ ป็นเวลานาน อุษาก็ไดเ้ ล่าเร่ืองซ่ึงไดเ้ กิดข้ึนกบั
ตน และเล่าคาที่พระแมเ่ จา้ บารพตีทรงพยากรณ์ไวใ้ หจ้ ิตรเลขาฟัง คร้ันแลว้ ก็วงิ วอนเพ่ือนใหช้ ่วยหาวธิ ีได้

5

อยรู่ ่วมกบั บุคคลท่ีเธอไดเ้ ห็นในความฝัน แต่ไม่ทราบวา่ เป็ นใครน้นั จิตรเลขาจึงวาดรูปของบรรดาเทวดา
ผมู้ ีมหิทธิฤทธ์ิ วาดรูปของพวกแพตย์ คนธรรพ์ และมวลมนุษยท์ ่ีมีฤทธ์ิยงิ่ ใหญ่แลว้ นามาใหด้ ู อุษาก็ปัด
รูปเทวดา คนธรรพ์ และอสูรเหล่าน้นั ทิง้ เสีย เลือกไวแ้ ต่รูปมนุษย์ คร้ันเธอไดเ้ ห็นรูปของพระกฤษณ์และ
พระราม ซ่ึงละมา้ ยคลา้ ยหนุ่มนอ้ ยท่ีปรากฎในความฝันก็รู้สึกละอาย พอมาถึงรูปพระปรัทยมุ น์เธอก็
ชะมอ้ ยชายตาเมินไป แตพ่ อเธอไดเ้ ห็นรูปโอรสของพระปรัทยมุ น์ ดวงตาท้งั สองของเธอกเ็ บิกกวา้ ง ความ
ขวยเขินสะเทิน้ ใจหายไปหมด ร้องบอกแก่จิตรเลขาวา่ "คนน้ี คนน้ี " สหายของเธอจึงบอกอุษาใหย้ มิ้ แยม้
แจ่มใสไดแ้ ลว้ จิตรเลขาก็เหาะไปยงั กรุงทวารกา นาเอาพระอนิรุทธมายงั ปราสาทของนางอุษา"

ขอ้ ความขา้ งตน้ เป็นตอนหน่ึงที่กล่าวไวใ้ นคมั ภีร์วษิ ณุปุราณะ ( พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า
จุฬาโลก, 2515 ) จิตรเลขาในคมั ภีร์วษิ ณุปุราณะ ในอนิรุทธคาฉนั ท์ เรียกวา่ พิจิตรเลขา แต่ในบทละคร
เร่ืองอุณรุทเรียกช่ือไปอีกอยา่ งหน่ึงวา่ ศุภลกั ษณ์ และวา่ ศุภลกั ษณ์เป็นชื่อของนางพระพเี่ ล้ียงคนหน่ึงใน
พระพ่ีเล้ียงท้งั หา้ ของนางอุษา นางเอกในบทละครเร่ืองอุณรุท (ราศุภลกั ษณ์อุม้ สม,สิงหาคม 2543,
ออนไลน์) https://www.baanjomyut.com/library_2/tell_dance_appearance_match/02.html (สืบคน้ 12
เมษายน 2564)

สุนทรียรส หมายความวา่ กระบวนการพรรณนาท่ีเหมาะสม ไดแ้ ก่ความงามในดา้ นกระบวนการ
พรรณนา หรือความงดงามในดา้ นอารมณ์สะเทือนใจอนั เกิดจากกระบวนการพรรณนาและกลวธิ ีในการ
ประพนั ธ์ ซ่ึงแบ่งไดต้ ามที่มาเป็น 2 ลกั ษณะ
1.รสของวรรณคดีไทย มี 4 รส ไดแ้ ก่

1.1เสารจนี คือ บทชมโฉม ซ่ึงหมายถึงการชมความงาม
1.2นารีปราโมทย์ คือ บทเก้ียว บทโอโ้ ลม เป็นรสแห่งความรักใคร่
1.3พโิ รธวาทงั คือ บทตดั พอ้ ต่อวา่ หึงหวง โกรธ วา่ กล่าวประชดประชนั
1.4สัลลาปังคพิไสย คือ บทโศกเศร้า คร่าครวญ อาลยั อาวรณ์
2 รสวรรณคดีสันสกฤต มี 9 รส ไดแ้ ก่
2.1ศฤงคาร คือ รสแห่งความรัก
2.2หาสยรส คือ รสแห่งความขบขนั
2.3กรุณารส คือ รสแห่งความเมตตากรุณา
2.4รุทธรส คือ รสแห่งความโกรธเคือง
2.5วรี รส คือ รสแห่งความเพียร และความกลา้ หาญ
2.6ภยานกรส คือ รสแห่งความกลวั
2.7พีภติรส คือ รสแห่งความชงั ความรังเกียจ
2.8อพั ภูตรส คือ รสแห่งความพิศวง
2.9ประหลาดใจศานติรส คือ รสแห่งความสงบ

6

อนิรุทธ์คาฉนั ท์ แต่งในยคุ สมยั อยธุ ยา โดยผแู้ ต่ คือ ศรีปราชญ์ มีคาประพนั ธ์ประเภท ฉนั ท์

ฉนั ทลกั ษณ์ กาพยฉ์ บงั , กาพยส์ ุรางคนางค์ มีเน้ือเรื่องยอ่ ดงั ตอ่ ไปน้ี “พระอนิรุทธ์ิทูลลาพระกฤษณะผู้

เป็นอยั กาและลาสาวสนมก่อนออกจากเมืองทวารพดีไปล่าสัตวใ์ นป่ า คร้ันค่าลงก็ประทบั พกั ใตร้ ่มไทร

พระไทรมีความเอน็ ดูจึงอุม้ ไปสมนางอุษาธิดาเจา้ กรุงพาณท่ีโสณินคร แลว้ พากลบั ก่อนรุ่งสางนางอุษาต่ืน

บรรทมมีความโศกเศร้า จึงส่ังนางพจิ ิตรเลขาพ่ีเล้ียงใหว้ าดรูปหาตวั ผมู้ าสมนาง คร้ันพบวา่ เป็น

พระอนิรุทธ์ิ ก็ใหน้ างพีเ่ ล้ียงเหาะไปลอบรับมาหาอยรู่ ่วมกนั ในตาหนกั ตอ่ มามีผรู้ ู้และเกิดข่าวลือออกไป

กรุงพาณหรือพาณาสูรราชบิดาทราบเรื่องกก็ ริ้ว จึงจดั ขบวนทพั มารบแผลงศรนาคไดช้ ยั ชนะ จึงจบั

พระอนิรุทธ์ิมดั ประจานไวห้ นา้ พระลาน พอดีพระนารทฤาษีดีดพิณพลางเหาะผา่ นมาเห็นเขา้ กร็ ีบไป

บอกแก่พระกฤษณะ พระกฤษณะจึงมีโองการประชุมพลหาพระปรัทยมุ นแ์ ละพลเทพมาพร้อมเสด็จดว้ ย

พาหนะครุฑไปยงั โสณินครนาคท่ีรัดพระอนิรุทธ์ิทนฤทธ์ิครุฑไมไ่ ดจ้ ึงคลายขนดหนีไปฝ่ ายกรุงพาณมี

พระเพลิงและพระองั คีรสเป็ นกองหนา้ ออกสู้รบกพ็ า่ ยแพพ้ าณาสูรจึงรีบไปฟ้องพระอิศวรให้เสด็จมาช่วย

พร้อมท้งั ขนั ทกุมารและพระวฆิ เนศวร์ สองฝ่ ายต่อสู้กนั ก้าก่ึงไม่แพช้ นะแก่กนั พระอิศวรคิดจะลืมพระ

เนตรท่ีสามแต่เทวดาและฤาษีพากนั ขอร้องใหท้ รงยบั ย้งั เพราะเกรงโลกท้งั สามจะพนิ าศ พาณาสูรจึงเขา้ สู้

รบดว้ ยตนเองถูกพระกฤษณะจบั ไดแ้ ลว้ ตดั กรท้งั พนั ใหเ้ หลือเพียงสองพระอิศวรทรงขอชีวติ ไวใ้ ห้เป็น

ทวารบาลพระกฤษณะจึงอนุโลมตามแลว้ พาพระอนิรุทธ์ิ นางอุษา ข้ึนทรงครุฑร่วมกบั พระองคแ์ ละ

พระปรัทยมุ น์ กลบั คืนสู่เมืองไลยบุรี (น่าจะเป็นเมืองทวารพดีของพระกฤษณะน้นั เอง)” (อนิรุทธ์คาฉนั ท์

,มปป,ออนไลน์) http://www.pkn.ac.th/person_1 (สืบคน้ 13 พฤษภาคม 2564)

บทละครเร่ืองอณุ รุทฉบับพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 1

บทละครเรื่องอุณรุท ๒ ฉบบั ในสมยั รัชกาลที่ ๑ คือ ฉบบั พระราช นิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จ

พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และฉบบั พระราช นิพนธ์ ในสมเด็จพระเจา้ ลูกยาเธอ เจา้ ฟ้ากรมหลวง

อิศรสุนทร (พระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั ) มีความคลา้ ยคลึงใกลเ้ คียงกนั มาก

ตอนเทวาอ้มุ สม

พระราชนิพนธ์รัชกาลที่ ๑ พระราชนิพนธ์รัชกาลที่ ๒

๏ พิศพิศแลว้ คิดคานึงไป ๏ เทวาแลเล็งเพง่ พิศ

แมน้ จะใหพ้ ระองคส์ งสาร คร้ันแลว้ ขกุ คิดข้ึนได้

ปราศรัยดว้ ยองคน์ งคราญ แมน้ กจู ะใหพ้ ระภูวนยั

ปางกาลพาสมภิรมยา ปราศรัยดว้ ยองคก์ ลั ยา

ก็จะรู้จกั วงศพ์ งศน์ าม ก็จะรู้จกั วงศพ์ งศน์ าม

จะยวนยว่ั มวั ความเสน่หา จะปลุกปล้ืมดว้ ยความเสน่หา

จะเป็นห่วงหน่วงหนกั ชกั ชา้ จะเป็นห่วงหน่วงหนกั ชกั ชา้

พระราชนิพนธ์รัชกาลท่ี ๑ พระราชนิพนธ์รัชกาลที่ ๒

7

เกลือกพาณารู้จะเป็ นภยั เกลือกพาณารู้จะเป็ นภยั

จาจะผกู โอษฐส์ องกษตั ริย์ จาจะผกู โอษฐไ์ วด้ ว้ ยมนตรา

อยา่ ใหต้ รัสเจรจาดว้ ยกนั ได้ อยา่ ใหเ้ จรจาดว้ ยกนั ได้

แต่พอสู่สมภิรมยใ์ จ แต่พอสู่สมภิรมยใ์ จ

จะพาไปมิใหร้ ุ่งราตรี จะพาไปมิใหร้ ุ่งสุริยา

(บทละครเรื่องอุณรุท,มปป,ออนไลน)์ https://vajirayana.org (สืบคน้ 12 เมษายน 2564)

จากคากลอนดงั กล่าวจะเห็นความใกลเ้ คียงคลา้ ยคลึงกนั บางบท บางตอนแทบจะกล่าวไดว้ า่ เป็น

สานวนเดียวกนั โดยมีขอ้ สนั นิฐาน คือ

มีตน้ เคา้ มาจากบทละครเรื่องอุณรุทฉบบั เดียวกนั คืออุณรุทสมยั กรุงศรีอยธุ ยาท่ีอาจจะหาฉบบั ได้

ในขณะน้นั หรืออาจจะพอยงั จากนั ไดม้ าพระราช นิพนธ์แตง่ เสริมเติมเตม็ จนสมบูรณ์ข้ึนเพื่อเป็นการเฉลิม

พระนคร

บทละครเรื่องอุณรุทฉบบั พระราชนิพนธ์ในรัชกาลท่ี 1 ไดท้ รงพระราชนิพนธ์ข้ึนใหมจ่ ากฉบบั

พระราชนิพนธ์ใน สมเด็จฯ เจา้ ฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ซ่ึงทรงพระราชนิพนธ์ข้ึนก่อน ตามท่ีนายธนิต อยู่

โพธ์ิ ไดอ้ ธิบายไวใ้ น “ท่ีมาของอนิรุทธคาฉนั ทแ์ ละบทละครเร่ืองอุณรุท” วา่ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธ

เลิศหลา้ นภาลยั เมื่อคร้ังดารงพระยศเป็นสมเด็จพระเจา้ ลูกยาเธอ เจา้ ฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทรไดท้ รงพระ

ราชนิพนธ์บทละครเร่ืองน้ีข้ึน โดยทรงนาบทละครเรื่องอุณรุทสมยั กรุงศรีอยธุ ยามาตดั ปรับใหเ้ หมาะแก่

การแสดงละคร ซ่ึงบทละครเร่ืองอุณรุทฉบบั ของพระองคน์ ้นั สันนิษฐานวา่ เป็นบทละครฉบบั ท่ีใชแ้ สดง

ละครผหู้ ญิงคราวสมโภชพระแกว้ มรกตและสมโภชวดั พระศรีรัตนศาสดาราม เม่ือ พ.ศ. 2328 เพราะบท

ละครเรื่องอุณรุทฉบบั รัชกาลที่ 1 ไดท้ รงพระราชนิพนธ์ข้ึนในปี ที่ 6 ของรัชกาล คืออีก 2 ปี หลงั จากน้นั

ซ่ึงหากบทละครอุณรุทฉบบั รัชกาลที่ 1 มีท่ีมาจากบทละครฉบบั น้ี ก็ไม่นบั วา่ เป็นการผดิ อนั ใดที่ “พอ่ ” นา

ของ “ลูก” มาแต่งใหม่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกจึงนาเอาเคา้ โครงเรื่องเดิมมาปรับปรุง

เร่ืองใหมใ่ หเ้ หมาะสมดงั พระราชประสงคท์ ่ีทรงไวท้ า้ ยเร่ืองวา่

อนั พระราชนิพนธ์อุณรุท สมมติไมม่ ีแก่นสาร

ทรงไวต้ ามเร่ืองโบราณ สาหรับการเฉลิมพระนคร

ใหร้ าร้องคร้ืนเครงบรรเลงเล่น เป็ นท่ีแสนสุขสโมสร

แก่หญิงชายไพร่ฟ้าประชากร ก็ถาวรเสร็จสิ้นบริบูรณ์

(พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลก, 2545, หนา้ 449)

8

องค์ประกอบการแสดง ชุดศุภลกั ษณ์อ้มุ สม

ผู้แสดง
การแสดงชุดศุภลกั ษณ์อุม้ สมเป็นการราคู่ ประกอบดว้ ยผแู้ สดง 2 คน คือ ตวั พระ อุณรุท และนาง

ศุภลกั ษณ์ มีวธิ ีการคดั เลือกผูแ้ สดง ดงั น้ี
ผแู้ สดงเป็นพระอุณรุท ตอ้ งเป็นผทู้ ี่มีรูปร่างสูงโปร่ง ใบหนา้ งาม มีบุคลิกลกั ษณะงามตาม

ลกั ษณะของชายงามในวรรณคดี มีพ้นื ฐานและทกั ษะดา้ นนาฏศิลป์ ไทยดี จงั หวะแมน่ ยาและมีลีลาทา่ รา
เป็ นแบบละครใน

ผแู้ สดงเป็นนางศุภลกั ษณ์ มีรูปร่างทว้ มเลก็ นอ้ ย มีรูปหนา้ ใกลเ้ คียงกบั ตวั พระ แตเ่ ม่ือแต่งหนา้
แลว้ ควรดูมีอายมุ ากกวา่ ตวั พระเป็นผทู้ ่ีมีพ้นื ฐานและทกั ษะดา้ นนาฏศิลป์ ไทยดี จงั หวะแม่นยา และมีลีลา
ทา่ ราเป็นแบบละครใน อยา่ งไรก็ตามท่าราของนางศุภลกั ษณ์ตอ้ งมีท่วงทีลีลาเขม้ แขง็
ดนตรีและเพลงร้อง

เพลงท่ีใชป้ ระกอบการราชุดศุภลกั ษณ์อุม้ สม เป็นเพลงท่ีบรรเลงดว้ ยทางใน กล่าวคือมีจงั หวะ
ดนตรีที่เช่ืองชา้ นุ่มนวล มีบทร้องประกอบ บทที่ใชป้ ระกอบการแสดง ไดม้ ีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
แตกต่างไปจากบทพระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชในบางส่วนไป
บา้ ง โดยเฉพาะเพลงหนา้ พาทย์ และเพลงขบั ร้อง
บทร้องการแสดงชุดศุภลกั ษณ์อ้มุ สมและวงดนตรี

ป่ี พาทย์ทาเพลงเชิด ร้องร่าย
เมื่อน้นั ศุภลกั ษณ์ผมู้ ีอชั ฌาสัย
ไดฟ้ ังบรรหารภูวไนย อรทยั ช่ืนชมยนิ ดี

ร้องเพลงเชิดฉิ่ง
จึงโอบอุม้ องคพ์ ระเยาวเรศ
ประไพเพศเพยี งทอ่ นมณีศรี
ออกโดยบญั ชรรูจี เทวกี ็พาออกไป

ป่ี พาทย์ทาเพลงเชิดฉ่ิง
ร้องเพลงปะหลม่ิ

เลื่อนลอยมากลางนภากาศ โอภาสงามแข่งแขไข
แสงจนั ทร์จบั องคภ์ ูวไนย วไิ ลล้ากวา่ นวลจนั ทรา
สีดาวจบั เคร่ืองพระโฉมฉาย อร่ามพรายกวา่ ดาวในเวหา
นวลพระองคจ์ บั ทรงกลั ยา รจนางามเน้ือนวลผจง

9

ร้องเพลงเบ้าหลดุ
งามนางเป็นพาหนะรอง ทานองดง่ั นางราชหงส์
งามภูวนาทนง่ั ดารงทรง ดงั องคพ์ รหมเมศฤทธี
ด้นั หมอกออกเมฆมาไวไว เทเวศอวยชยั อึงมี่
รีบเร่งเร็วมาในราตรี หมายมุ่งบุรีรัตนา

ป่ี พาทย์ทาเพลงเชิด
วงดนตรีประกอบการแสดงการแสดงชุดราศุภลกั ษณ์อุม้ สม ใชว้ งปี่ พาทยไ์ มน้ วมเครื่องหา้ เคร่ือง
คูห่ รือเคร่ืองใหญต่ ามโอกาสและความเหมาะสมในการแสดง เคร่ืองดนตรีในวงปี่ พาทยเ์ ครื่องหา้
ประกอบดว้ ย ระนาดเอก ฆอ้ งวงใหญ่ ป่ี ใน ตะโพน กลองทดั ฉิ่ง

ภาพประกอบ วงปี่ พาทยเ์ ครื่องหา้

( ท่ีมา : https://som3737np.wordpress.com, ออนไลน์ )

ตัวพระ (พระอุณรุท) แต่งยืนเคร่ืองพระ ดงั นี้ 1. เส้ือแขนยาว (สีเหลือง) 16. ศีรษะสวมชฎา

2. ผา้ นุ่ง (แดงหรือม่วง) 17. อุบะดอกไมท้ ดั

3. สนบั เพลา

4. หอ้ ยหนา้

5. หอ้ ยขา้ ง

6. รัดสะเอว

7. กรองคอ

8. ทบั ทรวง

9. สังวาล

10. เขม็ ขดั พร้อมหวั

11. อินทนู

ภาพประกอบ การแตง่ กายของพระอุณรุท 12. ทองกร
( ท่ีมา https://www.pinterest.com, ออนไลน์ ) 13. ปะวะหล่า
14. แหวนรอบ

15. กาไลเทา้

16) ศีรษะสวมชฎา

17) อุบะดอกไมท้ ดั

10

ตวั นาง (นางศุภลกั ษณ์) แต่งยืนเคร่ืองนางห่มสะไบสองชาย ดังนี้

ภาพประกอบ การแตง่ กายของนางศุภลกั ษณ์ 1. ผา้ ห่มนาง
( ที่มา https://www.pinterest.com, ออนไลน์ ) 2. ผา้ นุ่ง
3. เส้ือในนาง
4 .นวมนาง
5. จ้ีนาง
6.เขม็ ขดั พร้อมหวั
7. สะอิ้ง
8. ทองกร
9. ปะวะหล่า
10. แหวนรอบ
11. กาไลเทา้
12. ศีรษะใส่รัดเกลา้ เปลว
13. อุบะดอกไมท้ ดั

ภาพประกอบ พระขรรคข์ องพระอุณรุท

( ท่ีมา http://www.pahurad.com, ออนไลน์ )

พระขรรค์ เป็นอาวธุ ส้ันใชส้ าหรับรบหรือเหน็บท่ีเอวดา้ นซา้ ยเป็นอาวธุ ประจากายของพระอุณรุทที่ตอ้ ง

นาไปดว้ ยในขณะที่นางศุภลกั ษณ์พาเหาะไปยงั กรุงรัตนาดงั ปรากฏในบทพระราชนิพนธ์ลงสรง

พระอุณรุทก่อนไปพบนางอุษา ดงั น้ี

งามทรงเพยี งองคอ์ มเรศ ประไพเพศรัศมีฉวเี หลือง

พระกรกมุ พระขรรคค์ ่าเมือง แลว้ กรายหตั ถย์ า่ งเย้อื งลีลาศมา

(พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลก, 2545, หนา้ 203)

11

โอกาสทใ่ี ช้แสดง
การแสดงชุดศุภลกั ษณ์อุม้ สมสามารถนาไปใชแ้ สดงในโอกาสต่างๆ ดงั น้ี
1.การแสดงเหตุการณ์ช่วงหน่ึงในการแสดงละคร เร่ืองอุณรุท ตอนศุภลกั ษณ์อุม้ สม
2.การแสดงชุดหน่ึงในหลายๆชุดในการแสดงประเภทวพิ ิธทศั นาหรือนาเป็ นชุดเบิกโรง หรือนามา
เป็นการแสดงอวดฝี มือผแู้ สดงเป็ นเอกเทศเพยี งชุดเดียวก็ได้

ทา่ ราในชุดศุภลกั ษณ์อุม้ สมท่ีใชม้ ือของผแู้ สดงแตะหลงั ซ่ึงกนั และกนั
( ที่มา เพจนาฏยศาสตร์แห่งราชอาณาจกั รไทย, ออนไลน์ )

ท่าราในชุดศุภลกั ษณ์อุม้ สมที่ใชเ้ ทา้ ของผแู้ สดงตวั พระเหยยี บหนา้ ขาของผแู้ สดงตวั นาง
( ท่ีมา เพจนาฏยศาสตร์แห่งราชอาณาจกั รไทย, ออนไลน์ )

12

ทา่ ราในชุดศุภลกั ษณ์อุม้ สม
ท่ีใชเ้ ทา้ ผแู้ สดงตวั พระเหยยี บส้นเทา้ ของผแู้ สดงตวั นางท่ีกระดกอยดู่ า้ นหลงั

( ท่ีมา เพจนาฏยศาสตร์แห่งราชอาณาจกั รไทย, ออนไลน์ )

ท่าราในชุดศุภลกั ษณ์อุม้ สม
ที่ใชป้ ลายเทา้ ผแู้ สดงตวั พระเหยยี บฝ่ ามือผแู้ สดงตวั นางที่แบหงายรออยู่

( ท่ีมา เพจนาฏยศาสตร์แห่งราชอาณาจกั รไทย, ออนไลน์ )
การปฏิบตั ิทา่ ราในการแสดงชุดน้ีนอกจากผแู้ สดงตอ้ งเขา้ ใจเร่ืองทานองเพลงร้อง จงั หวะและ
การตีบทตามเพลงร้องแลว้ ผแู้ สดงยงั ตอ้ งเขา้ ใจถึงความหมายของการแสดงในเหตุการณ์น้ีที่กล่าวถึง
นางศภุลกษั ณ์ที่มีฤทธ์ิกาลงั พาพระอุณรุทที่เป็นมนษุยเ์ หาะไปในอากาศ ดงั น้นั ผแู้ สดงจึงตอ้ งแตะส่วนใด
ส่วนหน่ึงซ่ึงกนั และกนั ตลอดเวลา ดงั จะไดศ้ ึกษาทา่ ราจากตารางการบนั ทึกการปฏิบตั ิทา่ ราแยกตามเพลง

13

ท่าราเชิดฉ่ิง ชุดเชิดฉิ่งศุภลกั ษณ์อุ้มสม

ท่าจึงโอบ

ลาดบั เน้ือร้อง อธิบายท่าราและทิศทางการเคล่ือนไหว

1 จึงโอบ หนั ดา้ นหนา้ เวที

-พระ ท่ายนื พระ

-นาง คุกเข่า ถวายบงั คม

ท่าอุม้

ลาดบั เน้ือร้อง อธิบายทา่ ราและทิศทางการเคลื่อนไหว

2 อุม้ หนั ดา้ นหนา้ เวที

-พระ ยอ่ เข่าซา้ ย กม้ ตวั ลงเล็กนอ้ ย

-นาง ต้งั เข่าซา้ ย มือท้งั สองโอบตรงรัดพระองค์

14

ท่าองคพ์ ระเยาวเรศ

ลาดบั เน้ือร้อง อธิบายทา่ ราและทิศทางการเคลื่อนไหว

3 องคพ์ ระเยาวเรศ หนั ดา้ นหนา้ เวที

-พระ ท่ายมิ้

-นาง ทา่ อาย เทา้ แขนซา้ ยกบั พ้นื มือขวาแนบแกม้ เอียงขวา

ทา่ ประไพเพศ

ลาดบั เน้ือร้อง อธิบายท่าราและทิศทางการเคล่ือนไหว

4 ประไพเพศเพยี ง หนั ดา้ นหนา้ เวที

ทอ่ นมณีศรีออกนอก -พระ ยกเทา้ ซา้ ยวางบนมือนาง มือขวาเทา้ เอว มือซา้ ยวางที่หนา้

บญั ชรรูจี ขาซา้ ย เอียงขวา

-นางยนื ดว้ ยขาซา้ ย ขาขวากระดกวางบนเตียง มือขวาแตะที่รัด

พระองคพ์ ระ มือซา้ ยหงายมือระดบั เอว เพอื่ พระวางเทา้ เอียงขวา

15

ทา่ เทวกี พ็ า

ลาดบั เน้ือร้อง อธิบายท่าราและทิศทางการเคล่ือนไหว

5 เทวกี ็พา หนั ดา้ นหนา้ เวที

-พระ กา้ วลงจากเตียง แลว้ เทา้ ซา้ ยกา้ วหนา้ มือซา้ ยแตะท่ีเอวนาง

มือขวาท่านางนอน เอียงขวา

-นาง เทา้ ซา้ ยกา้ วหนา้ มือขวาแตะที่เอวตวั พระและทา่ ผาลา

ลาดบั เน้ือร้อง ทา่ เอ้ือน1
6 เอ้ือน1... เหาะไป อธิบายทา่ ราและทิศทางการเคล่ือนไหว
เอ้ือน
หนั ดา้ นขวาของเวที
พระนาง
-ท่ากลางอมั พรมือต่าระดบั เอว

16

ท่าเอ้ือน2

ลาดบั เน้ือร้อง อธิบายท่าราและทิศทางการเคลื่อนไหว

7 เอ้ือน2 หนั ดา้ นขวาของเวที

พระนาง

-จากน้นั เทา้ ซา้ ยกา้ วหนา้ มือคา้ งท่าเดิมไวเ้ อียงขวา

-แลว้ กา้ วขา้ งขวา เอียงซา้ ย หนั ตามไหล่ขวาไปดา้ นซา้ ยของเวที

ทา่ ป่ี พาทยร์ ับ

ลาดบั เน้ือร้อง อธิบายทา่ ราและทิศทางการเคลื่อนไหว

8 ปี่ พาทยร์ ับ หนั ดา้ นซา้ ยของเวที

พระนาง

-ข้ึนท่าผาลาเพยี งไหล่ขวาสูง นางกระดกเทา้ ซา้ ย พระยกขา้ ง

ดา้ นดว้ ยขาซา้ ย

17

เชิดฉ่ิงท่าท่ี1.1 เชิดฉ่ิงท่าที่1.2
ลาดบั เน้ือร้อง อธิบายทา่ ราและทิศทางการเคลื่อนไหว
เชิดฉิ่ง
หนั ดา้ นหนา้ เวที
1.1 พระนาง
-ท่าราร่าย ยนื ผสมเหลี่อมเทา้ ขวา มือซา้ ยต้งั วงหนา้ มือขวาต้งั
1.2 วงบนเฉียงมาดา้ นหนา้ เอียงขวา
-จากน้นั เทา้ ขวากา้ วหนา้ เทา้ ซา้ ยวางส้นเทา้ พร้อมวาดมือขวา
ลงหยบิ จีบแลว้ ปล่อยต้งั วงหนา้ มือซา้ ยส่งหลงั เอียงซา้ ย

18

เชิดฉ่ิงทา่ ท่ี2

ลาดบั เน้ือร้อง อธิบายทา่ ราและทิศทางการเคลื่อนไหว

2 หนั ดา้ นซา้ ยของเวที

พระนาง

-ท่าสอดสร้อย ถอนเทา้ ซา้ ยวางหลงั เทา้ ขวากา้ วขา้ ง มือซา้ ยจีบ

หงายท่ีชายพก มือขวาต้งั วงบน เอียงซา้ ย แลว้ หนั ตวั ตาม ไหล่

ขวาไปดา้ นขวาของเวที

19

เชิดฉ่ิงทา่ ที่3

ลาดบั เน้ือร้อง อธิบายทา่ ราและทิศทางการเคลื่อนไหว

3 หนั ดา้ นขวาของเวที

พระนาง

-ท่าป้องหนา้ เทา้ ขวากา้ วหนา้ เทา้ ซา้ ยกระทุง้ เทา้ แลว้ กระดกมือ

ซา้ ยป้องหนา้ มือขวาหงายมืองอแขนขา้ งตวั เอียงซา้ ย แลว้ ห่ม

เข่าตามจงั หวะฉ่ิงพร้อมกล่อมหนา้ กล่อมไหล่ หมดทา่ ดว้ ยเอียง

ซา้ ย

20

เชิดฉิ่งทา่ ท่ี4

ลาดบั เน้ือร้อง อธิบายท่าราและทิศทางการเคลื่อนไหว

4 หนั ดา้ นขวาของเวที

พระนาง

-ท่าชะนีร่ายไมย้ ดื ตวั ข้ึน เทา้ ซา้ ยกา้ วหนา้ เทา้ ซา้ ยจรดเทา้ มือ

ซา้ ยแทงมือเป็นต้งั วง มือขวาแทงมือเป็ นหงายมือแขนตึงระดบั

ไหล่ เอียงซา้ ย แลว้ หนั ตวั ตามไหล่ขวาไปดา้ นซา้ ยเวที

21

เชิดฉ่ิงท่าที่5.1 เชิดฉ่ิงทา่ ที่5.2
ลาดบั เน้ือร้อง อธิบายทา่ ราและทิศทางการเคลื่อนไหว

5.1 หนั ดา้ นซา้ ยของเวที
พระนาง
5.2 -ท่ารากระบี่ส่ีท่า เทา้ ซา้ ยกา้ วขา้ ง เทา้ ขวากา้ วหนา้ มือวา้ ยหงาย
มือแลว้ พลิกต้งั วงบน มือขวาจีบคว่าแลว้ พลิกเป็นจีบหงายแขน
ตึงระดบั ไหล่ เอียงขวา
-จากน้นั ขยน่ั เทา้ พร้อมกบั ตีไหล่ไปซา้ ย มือทา่ ประลยั วาต เอียง
ซา้ ย สลบั กบั ตีไหล่ไปขวา มือท่ากระบี่สี่ทา่ เอียงขวา มหด
จงั หวะดว้ ยท่ีรากระบี่ส่ีทา่ เทา้ ขวากา้ วหนา้ เทา้ ซา้ ยวางหลงั
เอียงขวา

22

เชิดฉ่ิงท่าที่6.1 เชิดฉ่ิงทา่ ที่6.2
ลาดบั เน้ือร้อง
6.1 อธิบายทา่ ราและทิศทางการเคล่ือนไหว

6.2 หนั ดา้ นซา้ ยของเวที
พระนาง
-ท่ากลางอมั พรต่า ถอนเทา้ ซา้ ย ยกเทา้ ขวา มือซา้ ยจีบคว่าแลว้
คลายเป็นหงายมืองอแขนขา้ งตวั มือขวาหงายมือแลว้ ต้งั มือ
แขนตึงระดบั ไหล่ เอียงซา้ ย
-จากน้นั เทา้ ขวากา้ วหนา้ หนั ตามไหล่ขวาไปหนา้ เวที จรดเทา้
ซา้ ย มือขวาจีบคว่าแลว้ คลายเป็นมือหงายมืองอขา้ งลาตวั มือ
ซา้ ยหงายมือแลว้ ต้งั มือแขนตึงระดบั ไหล่ เอียงขวา จากน้นั จรด
เทา้ วง่ิ ซอยเทา้ ข้ึนลง เปล่ียนมือทา่ กลางอมั พรต่าตามจงั หวะ
แลว้ อยเู่ ทา้ อยกู่ บั ท่ี

23

ทา่ ที่7.1 เชิดฉ่ิงท่าท่ี7.2
ลาดบั เน้ือร้อง อธิบายท่าราและทิศทางการเคลื่อนไหว
7.1
หนั ดา้ นหนา้ เวที
7.2 พระนาง
-เทา้ ซา้ ยกา้ วขา้ ง มือทา่ นางนอนขวาต่า เอียงขวา ยอ้ นตวั มาขาขวา
เอียงซา้ ย แลว้ ถ่ายน้าหนกั ที่ขาซา้ ย กระดกขาขวา ปาดแขนซา้ ยมา
ดึงจีบคว่าแขนตึงขา้ งลาตวั มือขวาต้งั วงล่าง เอียงขวาห่มเข่าตาม
จงั หวะฉ่ิง แลว้ หมดจงั หวะดว้ ยเอียงขวา
-จากน้นั เทา้ ขวากา้ วขา้ ง มือท่านางนอนซา้ ยต่า เอียงซา้ ยยอ้ นตวั มา
ขาซา้ ยเอียงขวา แลว้ ถ่ายน้าหนกั ท่ีขาขวา กระดกขาซา้ ย ปาด
แขนขวามาดึงจีบควา่ แขนตึงขา้ งตวั มือซา้ ยต้งั วงล่างเอียงซา้ ย ห่ม
เข่าตามจงั หวะฉ่ิง แลว้ หมดจงั หวะดว้ ยเอียงซา้ ย

24

เชิดฉ่ิงท่าที่ 8

ลาดบั เน้ือร้อง อธิบายทา่ ราและทิศทางการเคลื่อนไหว

8 หนั ดา้ นหนา้ เวที

พระนาง

-ทา่ กงั หนั ร่อน ยกเทา้ ขวา แลว้ จรดเทา้ ซา้ ย ท่ากงั หนั ร่อนมือซา้ ย

จีบหงาย เอียงขวา จรดแลว้ ซอยเทา้ สลบั มือ ซอยเทา้ ข้ึนลง 2 เท่ียว

จากน้นั ซอยเทา้ อยกู่ บั ท่ีพร้อมท้งั สลบั มือ แลว้ หนั ตวั ตามไหล่ซา้ ย

ไปดา้ นซา้ ยของเวที

25

เชิดฉ่ิงท่าท่ี 9

ลาดบั เน้ือร้อง อธิบายทา่ ราและทิศทางการเคลื่อนไหว

9 หนั ดา้ นซา้ ยของเวที

พระนาง

-ทา่ สอดสร้อย หนั ดา้ นซา้ ย ถอนเทา้ ซา้ ยวางหลงั เทา้ ขวากา้ วขา้ ง มือ

ซา้ ยจีบหงายชายพกมือขวาต้งั วงบน เอียงซา้ ย แลว้ หนั ตวั ตามไหล่

ขวาไปดา้ นขวาของเวที

26

เชิดฉิ่งท่าที่10.1 เชิดฉ่ิงทา่ ท่ี10.2

ลาดบั เน้ือร้อง อธิบายท่าราและทิศทางการเคล่ือนไหว

10.1 หนั ดา้ นซา้ ยของเวที

พระนาง

-ทา่ เหาะ ประเทา้ ซา้ ยแลว้ กา้ วขา้ ง มือทาทา่ กลางอมั พรต่า มือขวาจีบ

ควา่ แลว้ คลายเป็นหงายมือ งอแขนขา้ งลาตวั มือซา้ ยหงายมือแลว้ ต้งั

มือแขนตึงสูงกวา่ ระดบั ไหล่ เอียงขวาแลว้ ยกั ตวั 6จงั หวะ

10.2 หนั ดา้ นซา้ ยของเวที

-จากน้นั ถอนเทา้ ขวา ยกหนา้ เทา้ ซา้ ย

-มือทา่ กลางอมั พร มือขวาแบหงายระดบั ศีรษะเอียงซา้ ย ขยบั เทา้

เลื่อนไปดา้ นหนา้ เวทีเล็กนอ้ ย แลว้ เทา้ ซา้ ยกา้ วขา้ ง มือทา่ กลางอมั พร

ต่า โดยมือซา้ ยแขนตึงสูงกวา่ ระดบั ไหล่เอียงขวา ยดื ยบุ วงิ่ ซอยเทา้

เป็นวงกลมตามไหล่ซา้ ย 1 รอบ กลบั มาอยหู่ นา้ เวที

27

เชิดฉิ่งท่าท่ี 11

ลาดบั เน้ือร้อง อธิบายทา่ ราและทิศทางการเคลื่อนไหว

11 หนั ดา้ นหนา้ เวที

พระนาง

-ทา่ ชกั แป้งผดั หนา้ ซอยเทา้ อยกู่ บั ท่ี มือทาท่าชกั แป้งผดั หนา้

-จากน้นั ทาทา่ ราร่าย ยนื ผสมเหลี่ยมเทา้ ขวา มือซา้ ยต้งั วงหนา้

มือขวาต้งั วงบนเฉียงมาดา้ นหนา้ เอียงขวา

-จากน้นั เทา้ ขวากา้ วหนา้ เทา้ ซา้ ยวางส้นเทา้ พร้อมวาดมือขวาลง

หยบิ จีบแลว้ ปล่อยต้งั วงหนา้ มือซา้ ยส่งหลงั เอียงซา้ ยแลว้ หนั ตวั

ตามไหล่ซา้ ยไปดา้ นซา้ ยของเวที

28

เชิดฉิ่งทา่ ที่ 12

ลาดบั เน้ือร้อง อธิบายท่าราและทิศทางการเคล่ือนไหว

12 หนั ดา้ นซา้ ยของเวที

พระนาง

-ท่าสอดสร้อย หนั ดา้ นซา้ ย ถอนเทา้ ซา้ ยวางหลงั เทา้ ขวากา้ ว

ขา้ ง มือซา้ ยจีบหงายชายพก มือขวาต้งั วงบน เอียงซา้ ย แลว้ หนั

ตวั ตามไหล่ขวาไปดา้ นขวาของเวที

29

เชิดฉ่ิงทา่ ที่13

ลาดบั เน้ือร้อง อธิบายทา่ ราและทิศทางการเคล่ือนไหว

13 หนั ดา้ นขวาของเวที

พระนาง

-ท่าป้องหนา้ เทา้ ขวากา้ วหนา้ เอียงซา้ ยยกหนา้ มือซา้ ยป้องหนา้

มือขวาหงายมืองอแขนขา้ งตวั เอียงซา้ ย

30

วเิ คราะห์สุนทรียภาพ

สุนทรียะทางดนตรีและการขับร้อง
ทานองเพลง ใชล้ ูกเล่นทางระนาดมีทานองเพลงท่ีขา้ เนื่องจากเป็นการแสดงกิริยาของตวั ละคร

โขนและละคร ซ่ึงเป็นการแสดงท่ีใชใ้ นการเดินทาง ติดตาม ไล่จบั คน้ หา หรือใชอ้ าวธุ จึงทาใหเ้ พลงท่ีใช้
คือเพลงเชิดฉ่ิงน้นั มีความชา้ นุ่มนวล จึงจะทาใหผ้ แู้ สดงไดแ้ สดงไดอ้ ยา่ งงดงามและมีจงั หวะในการห่ม
เข่าทา่ เขา้ กบั เสียงฉ่ิงไดด้ ี และยงั บรรเลงเพลงเชิดฉ่ิงที่ไม่ซ้าทอ่ นกนั ทาใหเ้ กิดอารมณ์ที่น่าฟังมากข้ึน ส่วน
การขบั ร้องน้นั ผขู้ บั ร้องจะตอ้ งมีเสียงท่ีใส น่าฟังละยงั ตอ้ งใส่อารมณ์ในการร้องเพือ่ ใหไ้ ดอ้ รรถรสในการ
แสดงมากยงิ่ ข้ึนโดยจะตอ้ งเป็ นผทู้ ่ีชานาญในการร้องเพ่ือท่ีจะไดอ้ ารมณ์ตามที่ผปู้ ระพนั ธ์ไดเ้ ขียนเอาไว้
และจะตอ้ งมีไหวพริบในการเอ้ืนเพือ่ ที่จะใหก้ ารร้องมีสมั ผสั ท่ีดีไม่สะดุด
สุนทรียจากลลี าท่ารา

ทา่ ทางและลีลาในการแสดงน้ีขอ้ นขา้ งท่ีจะไมซ่ ้ากนั เน่ืองดว้ ยเป็นการจาลองหอ้ งบรรทม จะตอ้ ง
มีการราที่หนั หนา้ ไปทางซา้ ย ทางขวาและขา้ งหนา้ เพอื่ ให้เกิดลีลาท่าราที่ไม่น่าเบ่ือ ทาใหผ้ ชู้ มที่รับชมการ
แสดงมีความคลอ้ ยตามกบั ผทู้ ่ีแสดงแต่ผทู้ ี่แสดง จะตอ้ งมีความชานาญเป็นอยา่ งมากเน่ืองจากเป็นการราคู้
ที่จะตอ้ งใชล้ าตวั เทา้ มือและแขนในการแสดงพร้อมกนั ดงั น้นั ผทู้ ี่ราจะตอ้ งชานาญในการแสดงน้ีและยงั
จะตอ้ งมีไหวพริบเพราะการราเพลงน้ีจะใชม้ ือขา้ งหน่ึงแตะไวด้ า้ นหลงั ของผรู้ ่วมแสดงและตอ้ งมีรูปแบบ
ท่ีสัมพนั ธ์กบั การแสดง ฉากท่ีคือ หอ้ งบรรทม

31

บรรณานุกรม

ราศุภลกั ษณ์อุม้ สม. (สิงหาคม 2543). สืบคน้ 12 เมษายน 2564:https://www.baanjomyut.com/library
_2/tell_dance_appearance_match/02.html

อนิรุทธ์คาฉนั ท.์ (มปป). สืบคน้ 13 พฤษภาค,2564:https://vajirayana.org/%E0%B8%9A%E0%B8%
97%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A3%E

0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%93%
E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%97/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%99%E0%B8%B3%
E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87
ศุภลกั ษณ์อุม้ สม. (26 กมุ ภาพนั ธ์ 2564). สืบคน้ 19 พฤษภาคม 2564https://www.youtube.com/watch?v

=gaHu1j8UVVg


Click to View FlipBook Version