The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thanyapat Montha, 2022-06-04 11:05:58

รูปแบบของเครือข่าย

ใบงานที่ 3.

ใบงานที่ 3

รู ป แ บ บ ข อ ง เ ค รื อ ข่ า ย

เสนอ
อาจารย์ปิยนุช เวชประสิทธิ์

จัดทำโดย
นางสาวธัญภัทร์ มณฑา สบค.2/2 รหัส 049.
นางสาวนันทิกานต์ วงษ์คำ สบค.2/2 รหัส 055.

เ ค รื อ ข่ า ย แ บ บ บั ส

(BUS TOPOLOGY)

เครือข่ายแบบบัส เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ ด้วยสายเคเบิ้ล
(bus topology) ต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ โดยจะมีคอนเน็กเตอร์เป็นตัวเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
และอุปกรณ์เข้ากับสายเคเบิ้ล ในการส่งข้อมูล จะมีคอมพิวเตอร์เพียง

ตัวเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลได้ในช่วงเวลา หนึ่งๆ การจัดส่ง
ข้อมูลวิธีนี้จะต้องกำหนดวิธีการ ที่จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูลพร้อมกัน
ข้อดี เพราะจะทำให้ข้อมูลชนกัน วิธีการที่ใช้อาจแบ่งเวลาหรือให้แต่ละสถานี
ข้อเสีย ใช้ความถี่ สัญญาณที่แตกต่างกัน การเซตอัปเครื่องเครือข่ายแบบบัสนี้
ทำได้ไม่ยากเพราะคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ แต่ละชนิด ถูกเชื่อมต่อ
ด้วยสายเคเบิ้ลเพียงเส้นเดียวโดยส่วนใหญ่เครือข่ายแบบบัส มักจะใช้
ในเครือข่ายขนาดเล็ก ซึ่งอยู่ในองค์กรที่มีคอมพิวเตอร์ใช้ไม่มากนัก

- ใช้สื่อนำข้อมูลน้อย ช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่าย และถ้าเครื่อง
คอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งเสียก็จะไม่ส่งผลต่อการ
ทำงาน ของระบบโดยรวมไป

- การตรวจจุดที่มีปัญหา กระทำได้ค่อนข้างยาก และถ้ามีจำนวน
เครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายมากเกินไป จะมีการส่งข้อมูลชนกัน
มากจนเป็นปัญหาข้อจำกัด คือ จำเป็นต้องใช้วงจรสื่อสารและ
ซอฟต์แวร์เข้ามาช่วยเพื่อหลีกเลี่ยงการชนกันของ สัญญาณข้อมูล
และถ้ามีอุปกรณ์ตัวใดตัวหนึ่งเสียหาย อาจส่งผลให้ทั้งระบบหยุด
ทำงานได้

นางสาวธัญภัทร์ มณฑา สบค.2/2 รหัส 049.
นางสาวนันทิกานต์ วงษ์คำ สบค.2/2 รหัส 055.

เ ค รื อ ข่ า ย แ บ บ ด า ว

(STAR NETWORK)

เครือข่ายแบบดาว เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ เข้ากับอุปกรณ์ที่เป็น
(Star Network) จุดศูนย์กลาง ของเครือข่าย โดยการนำสถานีต่าง ๆ มาต่อ
ร่วมกันกับหน่วยสลับสายกลางการติดต่อสื่อสารระหว่าง
ข้อดี สถานีจะกระทำได้ ด้วยการ ติดต่อผ่านทางวงจรของหน่วน
ข้อเสีย สลับสายกลางการทำงานของหน่วยสลับสายกลางจึงเป็น
ข้อจำกัด ศูนย์กลางของการติดต่อ วงจรเชื่อมโยงระหว่างสถานีต่าง ๆ
ที่ต้องการติดต่อกัน

- ถ้าต้องการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่ก็สามารถทำได้
ง่ายและไม่กระทบต่อ เครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ในระบบ

- ค่าใช้จ่ายในการใช้สายเคเบิ้ลจะค่อนข้างสูง และเมื่อฮับ
ไม่ทำงาน การสื่อสารของคอมพิวเตอร์ทั้งระบบก็จะหยุด
ตามไปด้วย

- ถ้าฮับเสียหายจะทำให้ทั้งระบบต้องหยุดซะงัก และมีความ
สิ้นเปลืองสายสัญญาณมากกว่าแบบอื่นๆ

นางสาวธัญภัทร์ มณฑา สบค.2/2 รหัส 049.
นางสาวนันทิกานต์ วงษ์คำ สบค.2/2 รหัส 055.

เ ค รื อ ข่ า ย แ บ บ ว ง แ ห ว น

(RING TOPOLOGY)

เครือข่ายแบบวงแหวน เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ด้วยสายเคเบิลยาว
(ring topology) เส้นเดียว ในลักษณะวงแหวน การรับส่งข้อมูลในเครือข่าย

วงแหวน จะใช้ทิศทางเดียวเท่านั้น เมื่อคอมพิวเตอร์เครื่อง
หนึ่งส่งข้อมูล มันก็จะส่งไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องถัดไป
ข้อดี ถ้าข้อมูลที่รับมาไม่ตรงตามที่คอมพิวเตอร์เครื่องต้นทาง
ข้อเสีย ระบุ มันก็จะส่งผ่านไปยัง คอมพิวเตอร์เครื่องถัดไปซึ่งจะ
เป็นขั้นตอนอย่างนี้ไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะถึงคอมพิวเตอร์
ปลายทางที่ถูกระบุตามที่อยู่

- ใช้สายเคเบิ้ลน้อย และถ้าตัดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เสียออก
จากระบบ ก็จะไม่ส่งผลต่อการทำงานของระบบเครือข่ายนี้
และจะไม่มีการชนกันของข้อมูลที่แต่ละเครื่องส่ง

- ถ้าเครื่องใดเครื่องหนึ่งในเครือข่ายเสียหาย อาจทำให้ทั้งระบบ
หยุดทำงานได้

นางสาวธัญภัทร์ มณฑา สบค.2/2 รหัส 049.
นางสาวนันทิกานต์ วงษ์คำ สบค.2/2 รหัส 055.

เ ค รื อ ข่ า ย แ บ บ ผ ส ม

(HYBRIDTOPOLOGY)

โครงสร้างเครือข่ายแบบผสม เป็นเครือข่ายที่ผสมผสานกันทั้งแบบดาว,วงแหวน
(Hybrid Topology) และบัส เช่น วิทยาเขตขนาดเล็กที่มีหลายอาคาร
เครือข่ายของแต่ละอาคารอาจใช้แบบบัสเชื่อมต่อกับ
อาคารอื่นๆที่ใช้แบบดาว และแบบวงแหวน

ข้อดี - สามารถเข้าถึงเครือข่ายที่อยู่ในระยะไกลได้

- ทำให้การสื่อสารข้อมูลมีประสิทธิภาพ

ข้อเสีย - ดูแลระบบยาก และเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาสูง
- โครงสร้างมีความซับซ้อนมีรูปแบบไม่แน่นอน

นางสาวธัญภัทร์ มณฑา สบค.2/2 รหัส 049.
นางสาวนันทิกานต์ วงษ์คำ สบค.2/2 รหัส 055.

เ ค รื อ ข่ า ย ไ ร้ ส า ย

(WIRELESS LAN TECHNOLOGY)

ระบบการสื่อสารข้อมูลที่มีรูปแบบในการสื่อสารแบบไม่ใช้สาย โดยใช้การส่งคลื่น
ความถี่วิทยุในย่านวิทยุ RF และ คลื่นอินฟราเรด ในการรับและส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์
แต่ละเครื่อง ผ่านอากาศ, ทะลุกำแพง, เพดานหรือสิ่งก่อสร้างอื่นๆ โดยปราศจากความ
ต้องการของการเดินสาย นอกจากนั้นระบบเครือข่ายไร้สายก็ยังมีคุณสมบัติครอบคลุมทุกอย่าง
เหมือนกับระบบ LAN แบบใช้สาย

ตัวอย่างรูปแบบการเชื่อมต่อของระบบเครือข่ายไร้สาย

1. Peer-to-peer ( ad hoc mode ) 2. Client/server (Infrastructure mode)

1. Peer-to-peer ( ad hoc mode )

รูปแบบการเชื่อมต่อระบบแลนไร้สายแบบ Peer to Peer เป็นลักษณะ การเชื่อมต่อแบบโครงข่ายโดยตรงระหว่าง
เครื่องคอมพิวเตอร์ จำนวน 2 เครื่องหรือมากกว่านั้น เป็นการใช้งานร่วมกันของ wireless adapter cards โดยไม่ได้
มีการเชื่อมต่อกับเครือข่ายแบบใช้สายเลย โดยที่เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะมีความเท่าเทียมกัน สามารถทำงาน
ของตนเองได้และขอใช้บริการเครื่องอื่นได้ เหมาะสำหรับการนำมาใช้งานเพื่อจุดประสงค์ในด้าน
ความรวดเร็วหรือติดตั้งได้โดยง่ายเมื่อไม่มีโครงสร้างพื้นฐานที่จะรองรับ

2. Client/server (Infrastructure mode)

เป็นลักษณะการรับส่งข้อมูลโดยอาศัยAccess Point (AP) หรือเรียกว่า “Hot spot” ทำหน้าที่เป็นสะพานเชื่อมต่อ
ระหว่างระบบเครือข่ายแบบใช้สายกับเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (client) โดยจะกระจายสัญญาณคลื่นวิทยุเพื่อ รับ-ส่ง
ข้อมูลเป็นรัศมีโดยรอบ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในรัศมีของ AP จะกลายเป็น เครือข่ายกลุ่มเดียวกันทันที โดยเครื่อง
คอมพิวเตอร์ จะสามารถติดต่อกัน หรือติดต่อกับ Serverเพื่อแลกเปลี่ยนและค้นหาข้อมูลได้

นางสาวธัญภัทร์ มณฑา สบค.2/2 รหัส 049.
นางสาวนันทิกานต์ วงษ์คำ สบค.2/2 รหัส 055.

เครือข่ายแบบต้ นไม้

(TREE TOPOLOGY)

เครือข่ายแบบต้นไม้ มีลักษณะเชื่อมโยงคล้ายกับโครงสร้างแบบดาว โดยมีสายนำ
(Tree Topology) สัญญาณแยกออกไปเป็นแบบกิ่งไม่เป็นวงรอบ โครงสร้างแบบนี้
จะเหมาะกับการประมวลผลแบบกลุ่มจะประกอบด้วยเครื่อง

คอมพิวเตอร์ระดับต่างๆกันอยู่หลายเครื่องแล้วต่อกันเป็นชั้น ๆ ดู
ราวกับแผนภาพองค์กร แต่ละกลุ่มจะมีโหนดแม่ละโหนดลูกใน
ข้อดี กลุ่มนั้นที่มีการสัมพันธ์กัน การสื่อสารข้อมูลจะผ่านตัวกลางไป
ข้อเสีย ยังสถานีอื่นๆได้ทั้งหมด เพราะทุกสถานีจะอยู่บนทางเชื่อม และ
รับส่งข้อมูลเดียวกัน ดังนั้นในแต่ละกลุ่มจะส่งข้อมูลได้ทีละสถานี
โดยไม่ส่งพร้อมกัน

- รองรับการขยายเครือข่ายในแต่ละจุด
- รองรับอุปกรณ์จากผู้ผลิตที่แตกต่างกัน

- ความยาวของแต่ละเซ็กเมนต์อาจแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับสาย
สัญญาณที่ใช้
- หากสายสัญญาณแบ๊กโบนเสียหาย เครือข่ายจะไม่สามารถ
สื่อสารกันได้
- การติดตั้งทำได้ยากกว่าเครือข่ายแบบอื่น

นางสาวธัญภัทร์ มณฑา สบค.2/2 รหัส 049.
นางสาวนันทิกานต์ วงษ์คำ สบค.2/2 รหัส 055.


Click to View FlipBook Version