The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบหลักสูตรศิลปะ ป.3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by waridsara.pk, 2022-03-07 23:49:34

เอกสารประกอบหลักสูตรศิลปะ ป.3

เอกสารประกอบหลักสูตรศิลปะ ป.3

Keywords: เอกสารประกอบหลักสูตรศิลปะ,ป.3

1

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศึกษา
โรงเรียนเทศบาล ๒ (วดั หลวงปรีชากูล)
รายวิชาพน้ื ฐาน ศ๑๓๑๐๑ กล่มุ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ

ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓
ตามหลักสูตรสถานศกึ ษา พุทธศักราช ๒๕๕๑

(ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐)

เอกสารทางวชิ าการ
ฝ่ายวิชาการ โรงเรยี นเทศบาล ๒ (วดั หลวงปรชี ากลู )
สังกดั เทศบาลเมอื งปราจีนบรุ ี อาเภอเมอื งปราจนี บุรี จงั หวัดปราจีนบรุ ี
กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถิน่ กระทรวงมหาดไทย

2

การอนุมัติใชห้ ลักสตู รสถานศึกษา

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๓
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
(ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) โดยคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน

คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้นื ฐานได้พจิ ารณาหลักสตู รสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี๓
ของโรงเรียนเทศบาล ๒ (วัดหลวงปรชี ากูล) แลว้ เหน็ วา่ มีความเหมาะสมจงึ อนมุ ัตใิ ห้ใชห้ ลกั สตู รสถานศึกษาได้

ลงชอ่ื .........................................
(.....................................................)
ตาแหน่ง ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน)

ลงชอ่ื ......................................... ลงชื่อ.........................................
(.....................................................) (.....................................................)

ตาแหน่ง รองประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน) ตาแหนง่ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน)

ลงชอื่ ......................................... ลงชื่อ.........................................
(.....................................................) (.....................................................)

ตาแหนง่ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน) ตาแหน่ง คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน)

ลงชื่อ......................................... ลงชอ่ื .........................................
(.....................................................) (.....................................................)

ตาแหนง่ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้นื ฐาน) ตาแหน่ง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐาน)

ลงชื่อ......................................... ลงชือ่ .........................................
(.....................................................) (.....................................................)

ลงช่ือ......................................... ตาแหนง่ คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐาน)
(.....................................................)
ลงชือ่ .........................................
ตาแหน่ง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน) (.....................................................)

ลงชื่อ......................................... ตาแหน่ง คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน)
(.....................................................)

ตาแหนง่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐาน

3

คานา

โรงเรยี นเทศบาล ๒ (วดั หลวงปรชี ากูล) ได้จดั ทาหลักสตู รสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๓ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑(ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช
๒๕๖๐ ) เลม่ น้ีขน้ึ เพอ่ื ใช้เปน็ กรอบและทศิ ทางในการพฒั นาหลักสตู รและการจดั การเรยี นการสอน เปน็ การจดั ทาหลักสตู รสู่
ชั้นเรยี น โดยกาหนดขอบข่าย ดงั น้ี จดุ ม่งุ หมาย สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชว้ี ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
คาอธบิ ายรายวชิ า โครงสร้างรายวชิ า หน่วยการเรียนร้อู งิ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๓ ซง่ึ
ครผู ้สู อนจะต้องนาไปจัดทาแผนการจัดการเรยี นร้สู ชู่ ั้นเรยี นตอ่ ไป

ขอขอบคณุ คณะทางานทกุ ฝา่ ยท่เี กยี่ วข้อง คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ตลอดจนผู้บรหิ าร
สถานศกึ ษา พนักงานครู / พนกั งานจา้ ง และบคุ ลากรทุกท่านที่ใหค้ วามร่วมมอื ในการจัดทาเอกสารประกอบหลกั สูตร
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ ที่ไดท้ างานอย่างเป็นระบบ ต่อเนอ่ื ง ในการวางแผน ดาเนนิ การส่งเสรมิ สนบั สนุน ตรวจสอบ
ตลอดจนปรับปรุงแกไ้ ขเอกสารประกอบหลักสูตรเลม่ น้ี ให้มีความสมบูรณเ์ หมาะสมสาหรบั การจดั การเรยี นการสอนกลมุ่
สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ในชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๓ และสามารถพัฒนาผ้เู รียนไปสู่คุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ทกี่ าหนด
ไวไ้ ด้เปน็ อย่างดี

ฝ่ายวิชาการ
โรงเรียนเทศบาล ๒ (วดั หลวงปรีชากูล)

4

สารบัญ

คานา ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๓ หน้า
สารบัญ ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๓

๑.จดุ มงุ่ หมาย ๑
๒.สาระของกลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ๒
๓.สาระและมาตรฐานการเรยี นศิลปะ ๒
๔.คุณภาพผเู้ รยี น ๔
๕.ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรียนร้แู กนกลาง ๗
๖.โครงสร้างเวลาเรยี น ๘
๗.คาอธบิ ายรายวิชาทศั นศลิ ป์ ดนตรีและนาฏศลิ ป์ ๙
๘.โครงสร้างรายวชิ าทัศนศิลป์ ดนตรแี ละนาฏศลิ ป์

1

หลกั สูตรสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ
ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓

***********************************************************************

๑. จุดมุ่งหมาย (การเรยี นรูข้ องกลุม่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ)

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเป็นกลุ่มสาระท่ีช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ มีจินตนาการทางศิลปะ

ช่ืนชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคณุ ค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ กิจกรรมทางศิลปะช่วยพัฒนาผู้เรียนทั้งด้าน

ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจน การนาไปสู่การพัฒนาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเชื่อมั่นใน

ตนเอง อนั เป็นพนื้ ฐาน ในการศกึ ษาตอ่ หรือประกอบอาชีพได้

๒. สาระของกลุม่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ

กลุม่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะมุ่งพฒั นาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะวิธีการทางศิลปะ เกิดความซาบซ้ึงใน

คณุ ค่าของศิลปะ เปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นแสดงออกอยา่ งอสิ ระในศลิ ปะแขนงต่าง ๆ ประกอบดว้ ยสาระสาคัญคอื

 ทศั นศลิ ป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบศิลป์ ทัศนธาตุ สร้างและนาเสนอผลงานทางทัศนศิลป์จาก

จินตนาการ โดยสามารถใช้อุปกรณ์ท่ีเหมาะสม รวมท้ังสามารถใช้เทคนิค วิธีการของศิลปินในการสร้างงานได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์

ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คุณค่างานศิลปะท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทยและสากล

ชนื่ ชม ประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจาวนั

 ดนตรี มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบดนตรีแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์
วิจารณค์ ณุ ค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ทางดนตรีอย่างอิสระ ช่ืนชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน เข้าใจความสัมพันธ์

ระหวา่ งดนตรี ประวตั ศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คุณค่าดนตรีท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย

และสากล รอ้ งเพลง และเลน่ ดนตรีในรูปแบบต่าง ๆ แสดงความคดิ เห็นเกีย่ วกับเสียงดนตรี แสดงความรู้สึกที่มีต่อดนตรีใน

เชงิ สนุ ทรยี ะ เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งดนตรีกบั ประเพณวี ฒั นธรรม และเหตกุ ารณ์ในประวัติศาสตร์

 นาฏศลิ ป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบนาฏศิลป์ แสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ ใช้ศัพท์

เบ้ืองต้นทางนาฏศิลป์ วิเคราะห์วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ สร้างสรรค์การ

เคลื่อนไหวในรปู แบบต่าง ๆ ประยุกตใ์ ช้นาฏศลิ ป์ ในชวี ิตประจาวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์กับประวัติศาสตร์

วัฒนธรรม เห็นคณุ ค่าของนาฏศลิ ปท์ ี่เปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญั ญาท้องถนิ่ ภูมปิ ัญญาไทย และสากล

2

๓. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ ๑ ทศั นศิลป์
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สรา้ งสรรคง์ านทัศนศิลปต์ ามจินตนาการ และความคดิ สร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์

วจิ ารณ์คณุ คา่ งานทศั นศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ ตอ่ งานศิลปะอยา่ งอิสระ
ชน่ื ชม และประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวัน
มาตรฐาน ศ ๑.๒ เขา้ ใจความสมั พันธร์ ะหว่างทัศนศลิ ป์ ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คณุ ค่างาน
ทัศนศลิ ปท์ เ่ี ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน ภูมปิ ัญญาไทย และสากล

สาระท่ี ๒ ดนตรี
มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรีถ่ายทอด

ความร้สู ึก ความคิดต่อดนตรีอยา่ งอสิ ระ ช่นื ชม และประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวัน
มาตรฐาน ศ ๒.๒ เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคณุ ค่าของดนตรี

ที่ เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น ภมู ิปัญญาไทยและสากล

สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์วิจารณ์คุณคา่

นาฏศลิ ป์ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคดิ อย่างอสิ ระ ชื่นชม และประยกุ ตใ์ ช้
ในชวี ติ ประจาวนั
มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสมั พันธ์ระหวา่ งนาฏศิลป์ ประวตั ิศาสตรแ์ ละวฒั นธรรม เหน็ คุณคา่
ของนาฏศลิ ปท์ เี่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ ภมู ปิ ญั ญาไทยและสากล

๔. คุณภาพผู้เรยี น

จบชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓

 รู้และเข้าใจเก่ียวกับรูปร่าง รูปทรง และจาแนกทัศนธาตุของส่ิงต่าง ๆ ในธรรมชาติส่ิงแวดล้อมและงาน
ทัศนศิลป์ มที กั ษะพน้ื ฐานการใชว้ สั ดุอุปกรณใ์ นการสร้างงานวาดภาพระบายสี โดยใช้เส้น รูปร่าง รูปทรง สี และพ้ืนผิว
ภาพปะตดิ และงานปน้ั งานโครงสรา้ งเคล่อื นไหวอย่างง่าย ๆ ถ่ายทอดความคิด ความรู้สึกจากเร่ืองราว เหตุการณ์ ชีวิต
จรงิ สร้างงานทศั นศิลป์ตามท่ีตนช่ืนชอบ สามารถแสดงเหตุผลและวธิ กี ารในการปรับปรุงงานของตนเอง

 รู้และเข้าใจความสาคัญของงานทัศนศิลป์ในชีวิตประจาวัน ที่มาของงานทัศนศิลป์ในท้องถ่ิน ตลอดจน
การใช้วัสดุ อุปกรณ์ และวิธกี ารสรา้ งงานทศั นศลิ ปใ์ นท้องถิ่น

 รู้และเข้าใจแหล่งกาเนิดเสียง คุณสมบัติของเสียง บทบาทหน้าที่ ความหมาย ความสาคัญของบทเพลง
ใกล้ตัวท่ีได้ยิน สามารถท่องบทกลอน ร้องเพลง เคาะจังหวะ เคล่ือนไหวร่างกายให้สอดคล้องกับบทเพลง อ่าน เขียน
และใช้สัญลักษณ์แทนเสียงและเคาะจังหวะ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับดนตรี เสียงขับร้องของตนเอง มีส่วนร่วมกับ
กจิ กรรมดนตรีในชวี ิตประจาวัน

3

 รู้และเขา้ ใจเอกลกั ษณ์ของดนตรีในท้องถ่ิน มีความชื่นชอบ เห็นความสาคัญ และประโยชน์ของดนตรีต่อ
การดาเนินชีวิตของคนในทอ้ งถิ่น

 สร้างสรรค์การเคล่ือนไหวในรูปแบบต่าง ๆ สามารถแสดงท่าทางประกอบจังหวะเพลงตามรูปแบบ
นาฏศิลป์ มีมารยาทในการชมการแสดง รู้หน้าที่ของผู้แสดงและผู้ชม รู้ประโยชน์ ของการแสดงนาฏศิลป์ใน
ชวี ติ ประจาวัน เขา้ รว่ มกิจกรรมการแสดงทเี่ หมาะสมกับวัย

 รู้และเข้าใจการละเล่นของเด็กไทยและนาฏศิลป์ท้องถิ่น ชื่นชอบและภาคภูมิใจ ในการละเล่นพื้นบ้าน
สามารถเช่ือมโยงสิ่งท่ีพบเห็นในการละเล่นพื้นบ้านกับการดารงชีวิตของคนไทย บอกลักษณะเด่นและเอกลักษณ์ของ
นาฏศลิ ป์ไทยตลอดจนความสาคัญของการแสดงนาฏศลิ ป์ไทยได้

4

๕. ตัวช้ีวดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

สาระที่ ๑ ทัศนศลิ ป์

มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศลิ ป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษว์ จิ ารณ์คณุ คา่

งานทศั นศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สกึ ความคิดต่องานศิลปะอย่างอสิ ระ ชืน่ ชม และประยุกต์ใชใ้ น

ชีวิตประจาวัน

ชั้น ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

ป.๓ ๑. บรรยาย รปู รา่ ง รปู ทรงในธรรมชาติ  รูปรา่ ง รปู ทรงในธรรมชาติสง่ิ แวดล้อมและ

ส่ิงแวดลอ้ ม และงานทศั นศลิ ป์ งานทศั นศลิ ป์

๒. ระบุ วสั ดุ อุปกรณท์ ่ีใช้สร้างผลงาน  วัสดุ อุปกรณท์ ีใ่ ชส้ ร้างงานทัศนศลิ ป์

เม่อื ชมงานทัศนศลิ ป์ ประเภทงานวาด งานปัน้ งานพมิ พภ์ าพ

๓. จาแนกทัศนธาตขุ องสงิ่ ต่าง ๆ  เสน้ สี รปู ร่าง รปู ทรง พื้นผิว ในธรรมชาติ

ในธรรมชาตสิ ่งิ แวดลอ้ มและงานทศั นศิลป์ ส่งิ แวดลอ้ มและงานทัศนศิลป์

โดยเนน้ เร่อื ง เสน้ สี รูปรา่ ง รปู ทรง และ

พ้ืนผวิ

๔. วาดภาพ ระบายสีสง่ิ ของรอบตัว  การวาดภาพระบายสี สง่ิ ของรอบตัว

ด้วยสีเทยี น ดนิ สอสี และสีโปสเตอร์

๕. มีทักษะพื้นฐาน ในการใชว้ สั ดุอุปกรณ์  การใชว้ ัสดอุ ุปกรณ์ในงานปัน้
สรา้ งสรรคง์ านปนั้

๖. วาดภาพถา่ ยทอดความคิดความร้สู ึก  การใช้เสน้ รูปรา่ ง รปู ทรง สี และพื้นผิว
จากเหตุการณ์ชีวิตจริง โดยใช้เสน้ รปู ร่าง วาดภาพถ่ายทอดความคิดความรู้สกึ
รูปทรง สี และพืน้ ผวิ

๗. บรรยายเหตผุ ลและวิธีการในการ  วัสดุ อุปกรณ์ เทคนคิ วธิ ีการในการสรา้ งงาน
สรา้ งงานทัศนศิลป์ โดยเน้นถึงเทคนคิ ทัศนศลิ ป์
และวสั ดุ อปุ กรณ์

๘. ระบสุ ่งิ ที่ช่ืนชมและสง่ิ ที่ควรปรับปรุงใน  การแสดงความคดิ เหน็ ในงานทัศนศิลป์ของ

งานทศั นศลิ ป์ของตนเอง ตนเอง

๙. ระบุ และจัดกลุม่ ของภาพตามทัศนธาตุ  การจัดกลมุ่ ของภาพตามทัศนธาตุ
ท่เี น้นในงานทัศนศลิ ปน์ ัน้ ๆ
๑๐. บรรยายลักษณะรูปรา่ ง รปู ทรง  รูปร่าง รปู ทรง ในงานออกแบบ
ในงานการออกแบบสง่ิ ต่าง ๆ ที่มใี นบ้าน
และโรงเรียน

มาตรฐาน ศ ๑.๒ เขา้ ใจความสัมพนั ธร์ ะหว่างทัศนศลิ ป์ ประวตั ิศาสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คุณค่า

5

งานทัศนศิลป์ท่เี ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ภมู ิปญั ญาไทย และสากล

ชัน้ ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.๓ ๑. เล่าถึงท่ีมาของงานทัศนศลิ ปใ์ นท้องถนิ่  ทีม่ าของงานทัศนศลิ ปใ์ นท้องถ่นิ

๒. อธบิ ายเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์และ  วสั ดุ อปุ กรณ์ และวิธีการสร้างงานทศั นศลิ ป์
วิธกี ารสรา้ งงานทัศนศลิ ป์ในท้องถิ่น ในทอ้ งถิน่

สาระที่ ๒ ดนตรี

มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วจิ ารณค์ ุณค่าดนตรี

ถา่ ยทอด

ความรู้สกึ ความคิดตอ่ ดนตรอี ยา่ งอสิ ระ ชืน่ ชม และประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจาวนั

ชนั้ ตวั ชี้วดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง

ป.๓ ๑. ระบุรปู ร่างลกั ษณะของเครื่องดนตรี  รูปรา่ งลักษณะของเครื่องดนตรี
ทเ่ี หน็ และได้ยินในชีวิตประจาวัน  เสียงของเคร่อื งดนตรี

๒. ใชร้ ปู ภาพหรือสญั ลักษณ์แทนเสยี ง และ  สญั ลกั ษณแ์ ทนคุณสมบตั ิของเสยี ง (สูง-ตา่

จงั หวะเคาะ ดงั -เบา ยาว-สนั้ )

 สัญลักษณแ์ ทนรูปแบบจงั หวะ

๓. บอกบทบาทหนา้ ทีข่ องเพลงท่ีได้ยนิ  บทบาทหน้าที่ของบทเพลงสาคัญ

- เพลงชาติ

- เพลงสรรเสรญิ พระบารมี

- เพลงประจาโรงเรยี น

๔. ขบั รอ้ งและบรรเลงดนตรงี ่าย ๆ  การขบั ร้องเดี่ยวและหมู่

 การบรรเลงเคร่ืองดนตรีประกอบเพลง

๕. เคล่อื นไหวท่าทางสอดคล้องกับอารมณ์  การเคลื่อนไหวตามอารมณข์ องบทเพลง
ของเพลงท่ีฟงั

๖. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั เสียงดนตรี  การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงรอ้ ง

เสียงขบั ร้องของตนเองและผู้อ่ืน และเสยี งดนตรี

- คุณภาพเสยี งร้อง

- คุณภาพเสียงดนตรี

๗. นาดนตรีไปใช้ในชีวิตประจาวันหรือ  การใช้ดนตรีในโอกาสพิเศษ
โอกาสต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม - ดนตรใี นงานรื่นเรงิ

- ดนตรีในการฉลองวนั สาคัญของชาติ

6

มาตรฐาน ศ ๒.๒ เขา้ ใจความสมั พันธ์ระหวา่ งดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคณุ คา่

ของดนตรที เี่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ ภูมปิ ัญญาไทยและสากล

ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.๓ ๑. ระบลุ ักษณะเด่นและเอกลักษณ์  เอกลกั ษณ์ของดนตรีในท้องถ่ิน
ของดนตรีในท้องถนิ่ - ลกั ษณะเสียงร้องของดนตรีในท้องถิ่น

- ภาษาและเนื้อหาในบทร้องของดนตรี

ในทอ้ งถิ่น

- เครือ่ งดนตรีและวงดนตรใี นท้องถ่ิน

๒. ระบคุ วามสาคัญและประโยชน์ของ  ดนตรีกบั การดาเนินชวี ติ ในท้องถ่นิ
ดนตรตี อ่ การดาเนนิ ชวี ติ ของคนในท้องถิน่ - ดนตรีในชวี ิตประจาวนั

- ดนตรีในวาระสาคญั

สาระท่ี ๓ นาฏศิลป์

มาตรฐาน ศ ๓.๑เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ป์อยา่ งสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษว์ ิจารณ์

คณุ คา่ นาฏศลิ ป์ ถา่ ยทอดความรูส้ ึก ความคดิ อยา่ งอสิ ระ ช่นื ชม และประยุกต์ใช้

ในชวี ติ ประจาวัน

ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.๓ ๑. สร้างสรรคก์ ารเคล่ือนไหวในรูปแบบ  การเคลอ่ื นไหวในรูปแบบต่าง ๆ
ต่าง ๆ ในสถานการณ์สนั้ ๆ - ราวงมาตรฐาน

- เพลงพระราชนิพนธ์

- สถานการณ์สั้น ๆ

- สถานการณ์ท่กี าหนดให้

มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ

นาฏศิลป์ ทีเ่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน ภมู ปิ ญั ญาไทยและสากล

ชั้น ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.๓ ๑. เลา่ การแสดงนาฏศิลปท์ ่เี คยเหน็  การแสดงนาฏศิลป์พืน้ บา้ นหรือท้องถ่นิ
ในทอ้ งถนิ่ ของตน

๒. ระบุสิง่ ทีเ่ ป็นลักษณะเด่นและเอกลักษณ์  การแสดงนาฏศลิ ป์

ของการแสดงนาฏศิลป์ - ลกั ษณะ

- เอกลักษณ์

๓. อธบิ ายความสาคัญของการแสดง  ทีม่ าของการแสดงนาฏศิลป์

นาฏศลิ ป์ - สิ่งทีเ่ คารพ

7

๖. โครงสรา้ งเวลาเรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๒ เวลาเรียน (ช่ัวโมง/ปี)
๘๘๐
รายวชิ า/กจิ กรรม ๒๐๐
รายวชิ าพื้นฐาน ๒๐๐
ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๘๐
ค๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๘๐
ว๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๔๐
ส๑๓๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๘๐
ส๑๓๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๘๐
พ๑๓๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐
ศ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐
ง๑๓๑๐๑ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๔๐
อ๑๓๑๐๑ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ๔๐
รายวชิ า/กิจกรรมเพิ่มเตมิ ๑๒๐
ส๑๓๒๓๑ หนา้ ที่พลเมือง ๔๐
กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน
 กิจกรรมแนะแนว ๓๐
 กจิ กรรมนักเรียน ๔๐
ลูกเสอื /เนตรนารี/ยวุ กาชาด
ชุมนุม/ชมรม ๑๐

 กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ ๑,๐๔๐
 กิจกรรมลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้

รวมเวลาเรียนท้งั ส้ิน

8

คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

ศ 13101 วิชาศลิ ปะ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ

ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 เวลา 80 ชัว่ โมง

.............................................................................................................................................................

ถ่ายทอดความคดิ จนิ ตนาการ ประทบั ใจรปู ร่าง รูปทรงในธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อม และงานทศั นศลิ ป์ นา

วสั ดอุ ุปกรณม์ าสร้างงานวาด งานป้ัน งานพมิ พ์ภาพได้อย่างเหมาะสม สงั เกตเส้น สี รูปรา่ ง รปู ทรง พน้ื ผิวธรรมชาติ

มาสร้างงานทัศนศิลปด์ ว้ ยความช่ืนชม ใชส้ ีเทยี น ดนิ สอสี และสโี ปสเตอร์ มาถา่ ยทอดตามจนิ ตนาการ ความรสู้ กึ

ความคิด แสดงความคิดเห็น เสนอแนะส่งิ ท่คี วรปรับปรุง จัดกลุม่ งานทัศนศิลป์ นารปู ร่าง รปู ทรงมาสรา้ งสรรค์ตาม

จนิ ตนาการ

สังเกต รู้ เข้าใจ รปู รา่ ง ลักษณะของเครื่องดนตรี เสียงของเครอื่ งดนตรี ขบั ร้องตามทานอง เข้าใจสัญลกั ษณ์

แทนคณุ สมบตั ขิ องเสยี ง สงู – ตา่ ดัง – เบา ยาว – สนั้ สญั ลกั ษณ์แทนจงั หวะ วิเคราะห์บทเพลง แสดงความคดิ เปน็

จากบทเพลงชาติ เพลงสรรเสริญพระบารมี เพลงประจาโรงเรียน การแสดงออกทางดนตรี การขับร้องเด่ยี ว การขบั

รอ้ งหมู่ การบรรเลงเครื่องดนตรีประกอบเพลงง่าย ๆ เคล่ือนไหวตามอารมณเ์ พลง การแสดงออกในงานร่นื เรงิ งาน

สาคญั ของชาติ

รู้ เขา้ ใจ นาฏศิลปเ์ บื้องตน้ เคลื่อนไหวประกอบเพลงในรปู แบบต่าง ๆ ราวงมาตรฐาน เพลงพระราชนพิ นธ์

สถานการณ์ท่กี าหนดให้ สถานการณ์อนื่ ๆ แสดงท่าทางตามหลักนาฏศิลป์ ภาษา ท่าทางการสื่ออารมณ์ นาฏศลิ ป์

สว่ นขาชื่นชมการแสดงของผู้อืน่ ร่วมกิจกรรมการแสดงในวนั สาคัญต่าง ๆ

โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการฝึกปฏบิ ตั ิ กระบวนการความคิดสร้างสรรค์ จาแนก เปรยี บเทียบ

ลักษณะการแสดง เหน็ ความสาคัญของการแสดง

เพอ่ื ให้เหน็ คุณค่าชน่ื ชมผลงานของตนเอง และของผูอ้ ื่น และรบั รู้ท่มี าของงานทศั นศิลปใ์ นทอ้ งถน่ิ จาแนก

เสียงรอ้ ง เสียงดนตรใี นท้องถ่ิน เห็นคณุ คา่ ของภาษา เน้ือหาในบทเพลง นาดนตรีไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั รทู้ ม่ี าของ

นาฏศิลป์ทอ้ งถนิ่ ภมู ใิ จ ชื่นชมนาฏศลิ ปท์ ้องถน่ิ ในวนั สาคัญตา่ ง ๆ

รหสั ตัวชี้วัด
ศ 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9, ป.3/10
ศ 1.2 ป.3/1, ป.3/2
ศ 2.1 ป.3/1,ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7
ศ 2.2 ป. 3/1, ป.3/2
ศ 3.1ป.3/1,ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5
ศ 3.2 ป. 3/1, ป.3/2, ป.3/3
รวมท้ังหมด 29 ตัวช้ีวัด

9

๘. โครงสรา้ งรายวิชา ทศั นศลิ ป์ ดนตรแี ละนาฏศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓

ท่ี ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชีว้ ัด เวลา นา้ หนัก
(ชั่วโมง) (คะแนน)

1 ศิลปะในธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม ศ 1.1 ป. 3/1 ศ 1.1 ป. 3/2 ศ 1.1 ป. 11 15
3/3

2 สรา้ งสรรค์งานศลิ ป์ ศ 1.1 ป. 3/4 ศ 1.1 ป. 3/5 ศ 1.1 ป. 16 20
3 งานศลิ ปถ์ น่ิ ไทย 3/6 ศ 1.1 ป. 3/7 ศ 1.1 ป. 3/8 ศ 1.1 9 5
ป. 3/9 ศ 1.1 ป. 3/10

ศ 1.2 ป. 3/1 ศ 1.2 ป. 3/2

4 ลกั ษณะดนตรี ศ 2.1 ป. 3/1 ศ 2.1 ป. 3/2 45

5 สรา้ งสรรคด์ นตรี ศ 2.1ป. 3/3 ศ 2.1 ป. 3/4 ศ 2.1 ป. 12 20
6 ดนตรีในทอ้ งถ่นิ 3/5 ศ 2.1 ป. 3/6
ศ 2.1 ป. 3/7

ศ 2.2 ป. 3/1 ศ 2.2 ป. 3/2 55

7 นาฏศิลปไ์ ทย ศ 3.2 ป. 3/1 ศ 3.2 ป. 3/2 ศ 3.2 ป. 5 5
8 การแสดงนาฏศลิ ปเ์ บ้อื งต้น 3/3 ศ 3.1 ป. 3/5

ศ 3.1 ป. 3/1 ศ 3.1 ป. 3/2 12 20

9 บทบาทหน้าทขี่ องผทู้ ่ีมสี ่วนรว่ มในกิจกรรมการแสดง ศ 3.1 ป. 3/3 ศ 3.1 ป. 3/4 25

รวมตลอดปี/ภาคเรียน 76 100

1


Click to View FlipBook Version