The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by กมลชนก ยิ้มช้อย, 2021-09-19 02:33:51

พอลิเมอร์์

พอลิเมอร์์

พอลเิ มอร์
(Polymer)

นกั เรยี นเคยสงสัยหรอื ไม่ว่าสิ่งของเครื่องใชต้ ่างๆทใ่ี ช้ในชวี ติ ประจาวนั น้นั ทามา
จาก วสั ดุอะไรบา้ ง



พอลเิ มอร์ (Polymers)

พอลิเมอร์ (Polymers) เปน็ สารท่มี ีโมเลกลุ ขนาดใหญ่

เกิดจากหน่วยยอ่ ยทีซ่ ้าๆกันที่เรียกวา่ มอนอเมอร์ (monomer)
จา้ นวนมากเชอ่ื มตอ่ กนั ด้วย พันธะโคเวเลนต์

การเกิดพอลเิ มอร์ (Polymers)

กระบวนการที่มอนอเมอร์มารวมตัวกนั ทางเคมจี น
เกดิ เป็นพอลิเมอร์ เรียกวา่ การเกดิ พอลิเมอร์ หรือ
พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

++

มอนอเมอร์ มอนอเมอร์ มอนอเมอร์ พอลเิ มอร์

ประเภทของพอลิเมอร์แบ่งเปน็

1) พอลเิ มอร์ธรรมชาต(ิ Natural Polymers)
เปน็ พอลเิ มอรท์ ่เี กดิ ขึนเองตามธรรมชาติ

สามารถพบได้ในสิ่งมชี ีวิตทกุ ชนิด เปน็ ส่งิ ที่
ส่งิ มีชวี ติ ผลิตขนึ โดยอาศัยกระบวนการทางเคมี
ต่าง ๆทเี่ กดิ ขนึ ภายในเซลล์ และมีการเก็บ
สะสมไวใ้ ช้ประโยชน์ตามสว่ นต่าง ๆ ดงั นัน
พอลิเมอร์ธรรมชาตจิ งึ มคี วามแตกตา่ งกัน
ไปตามชนิดของสง่ิ มชี วี ิตและต้าแหนง่ ท่พี บใน
สง่ิ มีชีวิต

ประเภทของพอลิเมอร์แบง่ เป็น

2) พอลเิ มอรส์ ังเคราะห์ (Synthetic Polymers)
เกิดจากการสงั เคราะหข์ นึ โดยมนษุ ย์ ด้วยวิธกี ารนา้ สารมอนอเมอรจ์ า้ นวนมากมาทา้

ปฏกิ ริ ิยาเคมภี ายใตส้ ภาวะทเี่ หมาะสม ท้าให้มอนอเมอรเ์ หลา่ นันเกิดพันธะโคเวเลนต์ตอ่ กนั
กลายเป็นโมเลกลุ พอลิเมอร์ โดยสารมอนอเมอรท์ ม่ี กั ใช้เปน็ สารตังต้นในกระบวนการ
สังเคราะหพ์ อลิเมอร์ คือ สารไฮโดรคารบ์ อนท่เี ปน็ ผลพลอยได้จากการกลัน่ นา้ มนั ดบิ และการ
แยกแกส๊ ธรรมชาติ เชน่ พลาสติก ไนลอน เมลามนี ยางสงั เคราะห์ เปน็ ตน้

การแบ่งประเภทของพอลิเมอร์โดยพิจารณาจาก
สว่ นประกอบ แบ่งเปน็ 2 ประเภท ดงั น้ี

1. โฮโมพอลิเมอร์ (Homopolymer)
เป็นพอลิเมอรท์ ีป่ ระกอบด้วยมอนอเมอรช์ นดิ เดียวกัน เช่น พอลไิ วนลิ
คลอไรด์ (PVC) เกิดจากไวนลิ คลอไรด์ (CH2 = CHCl) หลายๆ โมเลกลุ เชอ่ื มตอ่
กันโครงสรา้ งของพอลิไวนลิ คลอไรด์ แป้ง ไกลโคเจน เซลลูโลส ซิลิโคน

การแบ่งประเภทของพอลิเมอร์โดยพิจารณาจาก
ส่วนประกอบ แบ่งเปน็ 2 ประเภท ดงั น้ี

2. โคพอลิเมอร์ หรือ พอลิเมอร์รว่ ม หรือเรียกอกี อย่างว่า
เฮเทอโรพอลิเมอร์ (Heteropolymer)

เป็นพอลิเมอรท์ ่ปี ระกอบด้วยมอนอเมอร์ตา่ งชนิดกนั เช่น พอลเิ มอรท์ ่ี
มชี ื่อสามัญวา่ ไนลอน 6,6 (เฮกซะเมทลิ นี ไดเอมนี กับกรดอะดปิ ิก) โปรตนี

การแบง่ ประเภทของพอลิเมอร์โดยพจิ ารณาจาก
สว่ นประกอบ แบง่ เปน็ 2 ประเภท ดงั น้ี

2. โคพอลิเมอร์ หรอื พอลิเมอร์รว่ ม หรอื เรียกอกี อยา่ งว่า
เฮเทอโรพอลิเมอร์ (Heteropolymer)

พอลเิ มอไรเซชนั (Polymerization) แบง่ เปน็

1. ปฏกิ ิริยาพอลิเมอไรเซชนั แบบควบแน่น
(condensation polymerization)

2. ปฏิกริ ยิ าพอลเิ มอไรเซชนั แบบเตมิ
(addition polymerization)

1. ปฏิกริ ิยาพอลิเมอไรเซชันแบบควบแนน่ (condensation
polymerization)
เกดิ จากการรวมตัวของมอนอเมอร์ที่มีหมู่ฟงั กช์ ันอย่างน้อย 2 หมู่

ใน 1 โมเลกุล และไดโ้ มเลกุลของเลก็ ๆ ออกมาเช่น นา้ และเป็นพอลิ
เมอร์ท่ีประกอบดว้ ยมอนอเมอรช์ นดิ เดียวกัน เช่น พอลิไวนิลคลอไรด์
(PVC) เกดิ จากไวนลิ คลอไรด์ (CH2 = CHCl) หลายๆ โมเลกุลเช่อื มต่อ
กนั โครงสร้างของพอลิไวนลิ คลอไรด,์ แปง้ , เซลลูโลส, โปรตีน

1. ปฏกิ ริ ิยาพอลิเมอไรเซชันแบบควบแน่น (condensation
polymerization)

2. ปฏิกิรยิ าพอลเิ มอไรเซชันแบบเตมิ (addition polymerization)
เกดิ จากการรวมตวั ของมอนอเมอร์ท่ีมพี นั ธะคอู่ ยภู่ ายใน

โครงสรา้ งจะได้พอลิเมอร์เพียงอยา่ งเดยี ว ไมม่ ีโมเลกลุ ขนาดเล็ก
เกิดข้ึนเชน่ พอลิเอทลิ ีน (เกดิ จากอีเทนท่ีได้จากการกลนั่ ปโิ ตรเลยี ม
แล้วน้ามาปรบั เปลี่ยนเป็นเอทิลีน แลว้ น้ามาท้าปฏิกริ ยิ าเคมใี นสภาวะที่
เหมาะสมจะได้พอลิเอทลิ ีน) โพรพิลีน ไวนลิ คลอไรด์ และ สไตรนี

2. ปฏกิ ิรยิ าพอลิเมอไรเซชนั แบบเตมิ (addition polymerization)

การแบ่งประเภทตามโครงสรา้ งของพอลเิ มอร์
แบง่ ออกเป็น 3 แบบ คือดงั น้ี

1. พอลิเมอร์แบบเส้น (Chain length polymer)
2. พอลเิ มอร์แบบกิง่ (Branched polymer)
3. พอลิเมอร์แบบรา่ งแห (Croos -linking polymer)

1. พอลิเมอร์แบบเสน้

พอลิเมอร์แบบเสน้ เกิดจากมอนอเมอรส์ รา้ งพนั ธะโคเวเลนต์
ต่อกันเป็นโซย่ าว ไม่มีกงิ่ แยก

สมบัติ เนื่องจากโซ่ของพอลเิ มอรย์ าว ไมม่ กี ง่ิ สายของพอลิเมอรจ์ ึงชดิ กนั
มาก แรงยดึ เหนีย่ วจึงสูง ความหนาแนน่ สงู เช่น พอลิเอทลิ ีนความ
หนาแน่นสูง (HDPE) เน้ือขุน่ จึงนยิ มใชท้ ้าขวดใสเ่ ครอื่ งส้าอาง มคี วาม
เหนียว ดงึ ให้ยดื ตวั ได้ ออ่ นตวั เม่อื ถูกความรอ้ น

ไดแ้ ก่ พอลิเอทิลนี พอลโิ พรพิลีน พอลิเอทลิ นี เทเรฟทาเลต

2. พอลิเมอร์แบบกงิ่

พอลิเมอร์แบบก่ิงมีโครงสร้างของพอลิเมอร์แยกออกไปจากโซห่ ลกั
อาจเปน็ กิง่ สน้ั หรอื ก่งิ ยาวก็ไดท้ าใหส้ ายของพอลิเมอรอ์ ยหู่ า่ งกันจงึ มี
ความหนาแน่นตา่ ยิ่งก่ิงยาวมากความหนาแน่นยง่ิ ตา่

สมบตั ิ นอกจากจะมีความหนาแน่นตา่้ มคี วามใส มีความยดื หย่นุ จุด
หลอมเหลวต่ากวา่ พอลเิ มอรแ์ บบเส้น

ได้แก่ พอลิเอทลิ ีน (LDPE = Low Density Polyethylene)

3. พอลิเมอร์แบบรา่ งแห

พอลิเมอร์แบบร่างแห เปน็ พอลิเมอร์ทมี่ กี ารสร้างพนั ธะเชอื่ มโยงกนั
ระหว่างโซข่ องพอลิเมอรท์ ีม่ ีโครงสรา้ งแบบเสน้ หรือกง่ิ ตอ่ กนั เปน็ ร่างแห
สว่ นใหญ่เกิดจากมอนอเมอรท์ ม่ี ีหมฟู่ งั กช์ นั ตง้ั แต่ 3 หมู่

สมบตั ิ แข็ง ทนความรอ้ น ถกู ความรอ้ นจะแตกรา้ ว ไม่มียืดหยุน่ ถ้ามี
พันธะเชอ่ื มระหว่างโซห่ ลักมากยิ่งแข็งและไมย่ ืดหย่นุ เมอ่ื ขึนรปู แลว้ จะไมอ่ อ่ น
ตัวน้ากลบั มาใช้ใหม่อกี ไม่ได้
ได้แก่ พอลฟิ นี อลฟอรม์ าลดไี ฮด์ทีร่ จู้ กั กนั ดใี นชอ่ื เบกาไลต์ พอลเิ มลามนี
ฟอร์มาลดไี ฮด์

กาว

กาว บางชนดิ ทา้ มาจากพอลิไวนิลแอซเี ตต (Polyvinyl acetate) มี
ลกั ษณะเปน็ ของเหลวสขี าว

สว่ นกาวทเ่ี ป็นของเหลวใสบางชนดิ ท้ามาจาก พอลิไวนลิ แอลกอฮอล์
(polyvinyl alcohol) ซึ่งทังสองชนดิ มโี ครงสรา้ งแบบเส้น เม่อื ผสมสารเคมี
บางอย่างกบั กาวทงั สองมโี ครงสรา้ งแบบเสน้

เม่ือเตมิ บอแรกซ์ (Na2B4O7) จะเกิดพนั ธะเคมีเช่ือมระหว่างสายโซ่ของ
พอลิเมอร์ ทาให้โมเลกลุ ของพอลิเมอร์มขี นาดใหญข่ ึ้น และมีโครงสร้าง
บางสว่ นเป็นรา่ งแห สารละลายจงึ มคี วามเหนยี วและหนืดเพมิ่ ขึน้

พลาสตกิ

• เทอร์มอพลาสติก
• พลาสตกิ เทอมอเซต

พลาสติก

เทอร์มอพลาสตกิ (themoplastic) เป็นพลาสติกที่
ไดร้ บั ความร้อนแลว้ อ่อนตัว เมอ่ื อุณหภมู ิต่้าลงจะกลบั มาคงรูป
โดยคุณสมบัติไม่เปลย่ี นแปลง จงึ สามารถนากลับมาใช้ใหมไ่ ด้
มโี ครงสร้างแบบกิ่ง เช่น พอลิเอทลิ ีน พอลิไวนลิ คลอไรด์
พอลิโพรพลิ ีน

พลาสติก

พลาสติกเทอมอเซต เป็นพลาสตกิ ท่ขี นึ รปู ดว้ ยการผา่ น
ความรอ้ นหรอื แรงดัน ไม่สามารถนากลับมาใช้ใหมไ่ ด้ อาจเกดิ
การแตกหัก พลาสตกิ ประเภทนมี ีโครงสรา้ งแบบร่างแห เมือ่
แข็งตัวแล้วจะมคี วามแขง็ มาก ทนตอ่ ความรอ้ นและความดนั ได้
ดี เมื่ออณุ หภมู สิ ูงมากจะแตกและเผาไหม้ เช่น เมลามนี
ซลิ ิโคน เบกาไลต์



ชนิดของพลาสติกรีไซเคลิ

พลาสติกกล่มุ ที่ 1 คือ เพท (PETE) สญั ลักษณค์ ือ 1
เป็นพลาสติกที่ส่วนใหญม่ ีความใส มองทะลไุ ด้ มีความ
แข็งแรงทนทานและเหนียว ปอ้ งกนั การผา่ นของกา๊ ซไดด้ ี
มีจุดหลอมเหลว 250-260 องศาเซลเซยี ส มีความ
หนาแน่น 1.38-1.39 นยิ มน้ามาใช้ท้าบรรจภุ ัณฑต์ า่ งๆ
เชน่ ขวดนา้ ด่ืม ขวดนา้ ปลา ขวดน้ามันพืช เปน็ ต้น

พลาสตกิ กลุม่ ที่ 2 คือ HDPE สัญลักษณค์ ือ 2
เปน็ พลาสติกที่มีความหนาแน่นสูง ค่อนข้างนมิ่ มี
ความเหนยี วไมแ่ ตกง่าย มีจดุ หลอมเหลว 130 องศา
เซลเซยี ส มคี วามหนาแนน่ 0.95-0.92 นยิ มน้ามาใช้
ท้าบรรจภุ ัณฑ์ทา้ ความสะอาด เช่น แชมพู ถงุ รอ้ น
ชนิดขนุ่ ขวดนม เปน็ ต้น

ชนิดของพลาสติกรีไซเคลิ

พลาสตกิ กลุ่มท่ี 3 คือ พีวซี ี (PVC) สัญลกั ษณค์ ือ 3
เป็นพลาสตกิ ทม่ี ลี ักษณะทงั แข็งและนิ่ม สามารถผลิตเปน็
ผลติ ภณั ฑ์ไดห้ ลายรูปแบบ มสี ีสันสวยงาม มีจดุ
หลอมเหลว 75-90 องศาเซลเซยี ส เป็นพลาสตกิ ท่นี ยิ มใช้
มาก เช่น ท่อพวี ีซี สายยาง แผ่นฟิลม์ หอ่ อาหาร เป็นตน้

พลาสตกิ กลมุ่ ท่ี 4 คอื LDPE สญั ลักษณ์คือ 4 เป็น
พลาสตกิ ทีม่ คี วามหนาแนน่ ตา่้ มคี วามนมิ่ กว่า HDPE
มีความเหนียว ยดื ตัวได้ในระดบั หน่งึ สว่ นใหญ่ใส
มองเห็นได้ จดุ หลอมเหลว 110 องศาเซลเซียส มี
ความหนาแน่น 0.92-0.94 นยิ มน้ามาใช้ท้า
แผน่ ฟลิ ม์ หอ่ อาหารและห่อของ

ชนิดของพลาสติกรไี ซเคลิ

พลาสติกกลมุ่ ที่ 5 คอื pp สัญลกั ษณค์ อื 5 เปน็ พลาสติก
ทส่ี ่วนใหญม่ คี วามหนาแนน่ คอ่ นข้างต่้า มีความแขง็ และ
เหนยี ว คงรปู ดี ทนตอ่ ความร้อน และสารเคมี มจี ดุ
หลอมเหลว 160-170 องศาเซลเซียส ความหนานน่
0.90-0.91 นิยมนา้ มาใช้ท้าบรรจภุ ณั ฑส์ า้ หรบั อาหารใน
ครัวเรือน เช่น ถุงรอ้ นชนิดใส จาน ชาม อุปกรณ์ไฟฟ้า

พลาสติกกลุ่มท่ี 6 คือ PS สญั ลักษณค์ ือ 6 เป็น
พลาสตกิ ที่มีความใส แขง็ แตเ่ ปราะแตงา่ ย สามารถ
ทา้ เปน็ โฟมได้ มีจดุ หลอมเหลว 70-115 องศา
เซลเซยี ส ความหนาแน่น 0.90-0.91 นิยมนา้ มาใช้
ท้าบรรจุภัณฑ์ เช่น กลอ่ งไอศกรมี กล่องโฟม ฯลฯ

ชนดิ ของพลาสติกรไี ซเคลิ

พลาสตกิ กลุม่ ที่ 7 คอื อ่นื ๆ เปน็ พลาสติกท่ี
นอกเหนือจากพลาสติกทัง 6 กลมุ่ พบมากมาย
หลากหลายรูปแบบ



โฟม

เป็นพลาสตกิ ทมี่ ลี ักษณะเป็นรพู รนุ เหมือนฟองนา้ มี
นา้ หนักเบา โฟมมีทงั ชนดิ แขง็ ปานกลาง และยืดหยุ่นไดด้ ี
พลาสตกิ ท่ีนยิ มใช้ทา้ โฟมกันมากคอื พอลยิ รู ีเทน พอลเิ อทลิ ีน
และพอลิสไตรีน



ยาง

ยาง

เป็นวัสดุที่มคี วามยดื หยุ่นสงู ยางที่
มีตน้ ก้าเนดิ จากธรรมชาติจะมาจาก
ของเหลวของพืชบางชนิด ซึ่งมีลกั ษณะ
เป็นของเหลวสีขาว คล้ายน้านม มีสมบัติ
เป็นคอลลอยด์ อนภุ าคเล็ก มตี วั กลางเป็น
นา้ ยางในสภาพของเหลวเรียกว่าน้ายาง
ยางทเี่ กิดจากพชื นเี รยี กวา่ ยางธรรมชาติ
ในขณะเดียวกนั มนษุ ย์สามารถสร้างยาง
สังเคราะหไ์ ด้จากปิโตรเลยี ม

ยาง

แบ่งเป็น 2 ประเภท
• ยางธรรมชาติ
• ยางสงั เคราะห์

ยาง เป็นพอลิเมอรท์ ีม่ ชี อ่ื ทางเคมวี ่า พอลิไอโซพรนี

(Polyisoprene) ประกอบดว้ ยมอนอเมอรท์ ม่ี ี ช่อื วา่
ไอโซพรนี (isoprene : C2H8) จ้านวน 1,500 –
150,000 มารวมตัวกันทางเคมี ซง่ึ ยางธรรมชาติได้มา
จากตน้ ยางพารา

ยางพารา มสี มบตั ิคอื ความต้านทานแรงดงึ
สูง ทนต่อการขดั ถู เปน็ ฉนวนท่ีดีมาก ทนน้า ทน
น้ามันจากพืชและสตั ว์ แตไ่ ม่ทนต่อนา้ มนั เบนซนิ และ
ตัวทาละลายอนิ ทรยี ์ เมอ่ื อณุ หภูมสิ ูงหรอื แสงจ้ามากๆ
จะออ่ นตวั และเหนยี ว แตเ่ มอื่ อุณหภมู ติ ่าจะแขง็ และ
เปราะ

ยาง

การนา้ ยางธรรมชาตมิ าท้าผลติ ภณั ฑ์จงึ ต้องน้ามาผ่านกระบวนการ
ปรับปรุงคณุ ภาพใหด้ ีขนึ โดยการเติมผงกามะถัน และ สารตัวเรง่ ลงในยาง
แลว้ ให้ความร้อนท้าใหย้ างมคี วามยดื หยุ่นเพ่ิมขึน เหมาะกบั การนา้ ไปทา้
ผลติ ภัณฑต์ า่ งๆ เชน่ ยางมัดของ สายยาง เบาะที่นอนยาง ถงุ มอื ยาง

ยาง

การใช้ยางธรรมชาติเปน็ วัตถดุ บิ ในการท้าผลิตภณั ฑ์ มขี ้อจา้ กัด
คอื ไมท่ นตอ่ ความรอ้ น แสง และตวั ทาละลาย จงึ ตอ้ งมกี ารปรบั ปรุง
คุณภาพใหด้ ขี ึน แต่กย็ ังไม่เหมาะแกก่ ารใช้งานจงึ ตอ้ งสังเคราะห์ยางขึนมา
เพือ่ ใหม้ สี มบตั ติ รงตามวตั ถุประสงค์ของการใชง้ านเรียกกวา่ ยางสงั เคราะห์
หรือ ยางเทยี ม (synthetic rubber)

ยาง

ชาร์ล กดู เยยี ร์ (Charles Goodyear )
ผู้คน้ พบวธิ กี ารปรับปรุงคณุ ภาพยาง เรียกวา่
วลั คาไนเซชนั (Valcanization) พ.ศ. 2343-2403

วัลคาไนเซชัน

วลั คาไนเซชนั (Vulcanization process) คือ กระบวนการท่ี
ใช้ในการเพ่มิ คณุ ภาพของยางธรรมชาติ (ยางดบิ ) ใหม้ คี วามยืดหยนุ่ ได้
ดขี ึ้น มคี วามคงตัวสงู ไมส่ กึ กร่อนงา่ ย และไม่ละลายในตัวทาละลาย
อินทรยี ์ สมบตั ิเหล่านจี ะยงั คงอยู่ ถึงแมว้ ่าอุณหภมู จิ ะเปล่ียนแปลงก็
ตาม

ยาง

วธิ กี ารท้ายางแผน่ ท้าได้โดย
1. นา้ น้ายางท่ไี ดม้ าเตมิ สารละลาย

แอมโมเนีย เพอื่ ป้องกันสารกันบดู
2. ยกเนอื ยางออกจากนา้ ยาง โดยการ

เติมกรดแอซตี ิก เพอ่ื ทา้ ให้ยางจับตวั
ตกตะกอน
3. น้าตะกอนทไี่ ด้รีดนา้ ออก ทา้ ใหเ้ ปน็
แผ่นโดยใชเ้ ครอ่ื งรดี ล้างนา้ ให้
สะอาดแลว้ ผงึ่ ลมหรือรมควันจะได้
แผน่ ยางดบิ ซ่ึงเป็นวตั ถุดบิ ในการ
ผลติ ยาง

ยางซลิ ิโคน

ยางซิลโิ คน (Silicone rubber) เปน็ ยางสงั เคราะห์ทใี่ ชง้ าน
เฉพาะอย่าง ราคาสงู ประกอบดว้ ยธาตซุ ลิ กิ อนกบั ออกซิเจน เป็น
หลัก มสี มบัตคิ อื ไมว่ ่องไวในการท้าปฏกิ ิริยาเคมี จงึ สลายตวั ไดย้ าก
ทนตอ่ การเปลยี่ นแปลงของอุณหภมู ิได้มาก จึงใช้หุ้มอปุ กรณ์อปุ กรณ์
อเิ ล็กทรอนกิ ส์หรอื อุปกรณ์ เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าต่างๆ

เส้นใย

หมายถงึ วัสดุหรือสารใดๆทังท่ีเกิดจากธรรมชาติ
และมนษุ ยส์ รา้ งขึน ท่ีมีอตั ราส่วนระหวา่ งความยาวต่อเสน้ ผา่ น
ศูนยก์ ลางเทา่ กบั หรือมากกวา่ 100 สามารถขึนรูปเป็นผา้ ได้
และตอ้ งเปน็ องค์ประกอบทเ่ี ลก็ ทส่ี ดุ ของผา้ ไมส่ ามารถแยก
ย่อยในเชิงกลได้อกี

เสน้ ใย

เสน้ ใยแบง่ ออกเปน็ 3 ประเภท
1. เส้นใยธรรมชาติ ไดม้ าจากพชื สัตว์ หรอื แรธ่ าตุ ดังนี

เสน้ ใยพืช มาจากเสน้ ใยที่หมุ้ เมล็ด ไดแ้ ก่ ฝา้ ย น่นุ ใยมะพรา้ ว
มากจากเปลือกไม้ ได้แก่ ลินนิ ปอ
มากจากเส้นใยของใบ ได้แก่ ปอ สับปะรด ผักตบชวา

เส้นใยสตั ว์ เป็นสารประเภทโปรตีน เชน่ ขนสัตว์ ไหม ผม
เสน้ ใยท่ีได้จากแร่ เชน่ แร่ใยหนิ ทไี่ ดจ้ ากสนิ แร่

เส้นใย

ใยหนิ ทนต่อการกดั กรอ่ นของ
สารเคมี ไม่น้าไฟฟ้า ทนตอ่ ความร้อน
สูงๆได้ นยิ มนา้ มาทาชุดดับเพลงิ
กระเบือ้ งยาง มา่ นเวทีในโรงละคร เป็น
ส่วนผสมในสินคา้ ตา่ งๆ เช่น กระเบ้อื ง
หลงั คา ท่อซีเมนต์ หรือผา้ เบรกรถยนต์
ซ่ึงมีอันตรายต่อระบบหายใจอาจท้าใหเ้ กิด
โรคมะเร็งได้

เส้นใย

2. เสน้ ใยสังเคราะห์ เชน่ ไนลอน โอรอน และทนี่ ยิ มมาก
คอื ดาครอนหรือโทเรเทโทรอน

เสน้ ใยสังเคราะหต์ ่างจากเสน้ ใยธรรมชาติคือ ทนต่อจุลนิ ทรยี ์
เชือรา แบคทีเรยี ทนต่อสารเคมี ไม่ยับง่าย ไม่ดูดน้า ซักงา่ ย
แห้งเร็ว ผลติ ไดค้ รงั ละมากๆและรวดเร็ว

เสน้ ใย

เสน้ ใยธรรมชาติและเสน้ ใยสงั เคราะหต์ ่างก็มีขอ้ ดีและขอ้ เสีย
เชน่ เส้นใยธรรมชาติ มีลักษณะฟองฟจู ึงดดู ซับความชืนได้ดีกว่า
แต่สิ่งสกปรกเกาะติดไดด้ ีกวา่ ความแข็งแรงคงทนก็นอ้ ยกว่าเสน้ ใย
สงั เคราะห์ ดงั นนั ในการน้าเสน้ ใยไปใช้ท้าผลิตภัณฑ์ จะต้องพิจารณา
สมบตั ิหลายๆประการ

เสน้ ใย

3. เส้นใยกงึ่ สังเคราะห์ เป็นเสน้ ใยท่ีได้จากการน้าสารจาก
ธรรมชาติ มาปรับปรงุ ใหเ้ หมาะกบั การใชง้ าน เช่น เซลลโู ลสแอซีเตต
เตรยี มได้จากปฏิกิรยิ าระหว่างเซลลโู ลสจากพืชกับกรดแอซิตกิ โดยมี
กรดซัลฟวิ รกิ เปน็ ตัวเร่งปฏิกิริยา หรือ เรยอน

เซลลูโลสแอซเี ตต ใช้ผลิตแผน่ พลาสติก แผงสวติ ซ์ หมุ้ สายไฟ

ผลกระทบ

• ดนิ ขาดความอุดมสมบรู ณ์
• พืชเจริญเติบโตไมด่ ี
• แหล่งน้าเนา่ เสยี
• สงิ่ มชี ีวิตในนา้ ตาย
• ขัดขวางทางไหลของนา้
• เกดิ ขยะ
• เกิดควนั พิษ




Click to View FlipBook Version