รายงานการคาดการแนวโน้มของสถานการณ์ทางสังคม (ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท อ ุทัยธานี นครสวรรค์ พิจิตร) ส านักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 7 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
สถานการณ์เด็กและ เยาวชน 01ข้อมูลพื้นฐาน 02 04 05 03 06 สถานการณ์ ผู้สูงอายุ สถานการณ์ คนพิการ สถานการณ์สตรี สารบัญ สถานการณ์ ครอบครัว 07 ส ถ า น ก า ร ณ์ กล ุ่มเปราะบาง
50.43% 49.57% จ ำนวนประชำกร (คน) รวม 6 จังหวัด 3,070,994 (คน) ช 1,522,264 ญ 1,548,730 ที่ จังหวัด อัตรำกำรเป็นภำระ วัยสูงอำยุ 3 สิงห์บุรี 43.01 5 ชัยนาท 40.70 11 พิจิตร 36.60 14 นครสวรรค์ 36.02 17 อุทัยธานี 35.20 21 ลพบุรี 33.44 เขตกำรปกครอง ข้อมูลพื้นฐำน ส ำนักงำนส่งเสริมและสนับสนุนวิชำกำร 7 (ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนำท อุทัยธำนี นครสวรรค์ พิจิตร) พื้นที่ 30,792.77 ตร.กม. (6 จังหวัด) 60 อ ำเภอ 525 ต ำบล 4,962 หมู่บ้ำน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 6 อบจ. 1 ทน. 12 ทม. 120 ทต. 397 อบต. 2563 2564 2565 สัดส่วนเด็ก 0-14 ปี 14.8 14.4 14.0 สัดส่วนวัยแรงงาน 15-59 ปี 63.1 62.6 63.1 สัดส่วนวัยสูงอายุ 60 ปีขึ้นไป 21.7 22.5 22.9 - 20.0 40.0 60.0 80.0 100.0 สัดส่วนประชำกร ปี 2563 - 2565 (หน่วย : ร้อย ละ) ค่ำดัชนีควำมมั่นคงของมนุษย์ปี 2565 (รำยมิติ) ภำพรวมประเทศ 69.63 ที่มา:กระทรวง พม. ปี 2565 สัดส่วนประชากร ปี 2563 - 2565 ที่มา : ส านักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง ล ำดับอัตรำส่วนกำรเป็นภำระวัยสูงอำยุประเทศไทย ปี 2565 ที่มา:กรมกิจการผู้สูงอายุ 1
38 185 49 27 10 153 73 168 31 7 3 27 0 50 100 150 200 พิจิตร นครสวรรค์อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์ ลพบุรี เด็กและเยำวชนที่มีพฤติกรรมไม่เหมำะสม ปี 2564 ปี 2565 ที่มา : ส านักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง จ ำนวนเด็กและเยำวชนในพื้นที่รับผิดชอบ (ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนำท อุทัยธำนี นครสวรรค์ พิจิตร) พบว่ำ จ านวนเด็กและเยาวชนจ าแนกตามอายุ ทุกช่วงอายุมีจ านวนลดลง และ มีแนวโน้มลดลง จากข้อมูลปี 2564 จ านวน 84,799 คน ปี 2565 จ านวน 820,525 คน จ านวนเด็กและเยาวชนลดลงคิดเป็นร้อยละ 2.41 สถานการณ์เด็กและเยาวชน 150,524 143 304 ,928 ,946 298,516 145,688 146,743 239,641 231,338 - 100,000 200,000 300,000 400,000 2564 2565 จ านวนเด็กและเยาวชนจ าแนกกลุ่มอายุ (หน่วย : คน) เด็ก 0 -5 ปี เด็ก 6 -14 ปี เยาวชน 15 -18 ปี เยาวชน 19 -24 ปี สถำนกำรณ์เด็กและเยำวชนที่มีพฤติกรรม ไม่เหมำะสม ในพื้นที่รับผิดชอบ พบว่ำ มีแนวโน้ม ที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง จากกราฟแสดงจ านวนเด็กและ เยาวชนที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม ย้อนหลัง ปี 2564 - 2565 จะเห็นได้ว่ า จ านวนลดลงอย่ างต่อเนื่อง ในทุกจังหวัด เมื่อเทียบกับจ านวนเด็กและเยาวชน จะเห็นได้ว่าสอดคล้องกับจ านวนที่มีอัตราการลดลง อย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับข้อมูลจ านวนเด็กและ เยาวชนที่มีจ านวนลดลง และคาดว่าสถานการณ์เด็กและ เยาวชนที่มีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมจะมีสถานการณ์ ที่ลดลง ในปีต่อๆ ไป กระทรวง พม. เป็นเจ้าภาพหลักร่วมกับภาคีเครือข่ายภาคเอกชน โดยเฉพาะองค์กรด้านเด็กและเยาวชน ทั้งระดับประเทศและนานาชาติ ในการพัฒนาช่องทางการสื่อสารกับเด็กและเยาวชนผ่านการใช้สื่อสังคมออนไลน์และ รูปแบบกิจกรรมที่เด็กและเยาวชนให้ความสนใจในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์กิจกรรมสาธารณะประโยชนที่ เปิดโอกาส/ สนับสนุนให้เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมท ากิจกรรมสาธารณประโยชนทั้งที่มีประเด็นให้ท ากิจกรรม หรือ ให้เด็กและ เยาวชนเสนอแผนงาน/โครงการกิจกรรมเพื่อขอรับทุนสนับสนุน เช่น การสนับสนุนทุนโครงการกิจกรรม ค่ายอาสาพัฒนา สังคม หรือการจัดกิจกรรมประกวดแข่งขันแฮกกาธอน (Hackathon) การสร้างนวัตกรรมแบบเร่งด่วน เพื่อเสริมสร้าง นวัตกรรม การพัฒนาสังคมรูปแบบต่างๆ รวมถึงการสร้างพื้นที่สร้างสรรค์ให้เด็กและเยาวชนได้แสดงความสามารถ ในทุกระดับและหลากหลายรูปแบบตามความสนใจเด็ก เช่น อปท. จัดสถานที่สาธารณะและอานวยความสะดวกให้เด็ก และเยาวชนมีวัน/เวลา/สถานที่/สิ่งอ านวยความสะดวกและการดูแลอ านวยความสะดวกสามารถแสดงความสามารถ ด้านการแสดงความสามารถทางทักษะด้านดนตรีละคร ศิลปะ การค้าขาย เป็นต้น ในที่ที่ทางการจัดให้ ที่มา : รายงานสถานการณ์ทางสังคมระดับประเทศ 2565 2
พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี ลพบุรี ปี 2564 16 292 0 51 0 10 ปี 2565 21 203 39 47 2 50 0 100 200 300 400 สตรีที่ถูกท ำร้ำยร่ำงกำย/ จิตใจ ปี 2564 ปี 2565 จากข้อมูล ในระหว่างปี พ.ศ. 2564 – 2565 จังหวัดที่มีแนวโน้มจ านวนสตรีลดลงได้แก่ พิจิตร นครสวรรค์ และชัยนาท จังหวัดที่มีแนวโน้มจ านวนสตรีเพิ่มขึ้นได้แก่ อุทัยธานีลพบุรีและสิงห์บุรี สถานการณ์สตรี สถำนกำรณ์ด้ำนสตรีและครอบครัวในพื้นที่ รับผิดชอบ (ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนำท อุทัยธำนี นครสวรรค์ พิจิตร) พบว่า สถานการณ์สตรี ที่ถูกท าร้ายร่างกายและจิตใจ ระหว่างปี พ.ศ. 2564 – 2565 จังหวัดมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ จังหวัดพิจิตร จังหวัดอุทัยธานี จังหวัดสิงห์บุรี และจังหวัดลพบุรี จังหวัดที่มีแนวโน้มลดลง ได้แก่ จังหวัดนครสวรรค์ และจังหวัดชัยนาท 0 200,000 400,000 600,000 พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี ลพบุรี ปี 2564 272,659 532929 81582 83179 52089 186513 ปี 2565 137,069 268964 83311 82110 52585 187995 จ ำนวนสตรี : คน ปี 2564 ปี 2565 การรณรงค์ในเรื่องของการยุติความรุนแรงต่อสตรีควรมุ่งเน้นไปในทางการเปลี่ยนทัศนคติ ท าให้สตรีที่ถูกกระท ากล้าที่จะพูด บอกกล่าวถึงปัญหาความรุนแรงที่ถูกกระท าต่อคนรอบข้าง เพื่อน าไปสู่การแก้ไขปัญหาไม่ให้ก่อเกิดความรุนแรงจนถึงขั้นฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งต้องเสียชีวิต รวมถึง การปรับเปลี่ยนความคิดทัศนคติ ค่านิยม เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมให้คู่รัก หรือสามีภรรยามีความเคารพ ให้เกียรติ ยอมรับฟังความคิดเห็นต่อกัน จะเป็นรากฐานของความรักที่ยั่งยืนและครอบครัวที่มั่นคง 3
แนวโน้มที่เพิ่มขึ้นของ อัตราการหย่า ย่อมส่งผลกระทบไปถึงสถาบันครอบครัว ซึ่งเป็นสถาบันที่มีความส าคัญ เนื่องจากเป็นจุดเริ่มต้นของทุกอย่าง ทั้งการให้ความรัก ความอบอุ่น รวมถึงเป็นสถานที่แรกที่ให้การศึกษาอบรมสมาชิก ในครอบครัว เพื่อให้มีการด ารงชีวิตได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม หากการหย่าเกิดขึ้นกับคู่สมรสที่มีบุตร ย่อมอาจท าให้ บุตรมีปัญหาด้วยเช่นกัน 0 100000 200000 300000 400000 500000 พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์ ลพบุรี จ ำนวนครอบครัว ปี 2564 ปี 2565 ที่มา : กรมการปกครอง การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรที่มีสัดส่วนประชากรสูงวัยมากขึ้นท าให้โครงสร้างครอบครัวไทยและรูปแบบการ อยู่อาศัยของครอบครัวเปลี่ยนแปลงไปจากเติม โดย ครัวเรือนมีขนาดเล็กลง และยังมีแนวโน้มเล็กลงต่อไปในอนาคต ซึ่งส่วนใหญ่จะมีสมาชิกไม่เกิน 3 คน ในขณะที่ ครัวเรือนอยู่คนเดียวเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในประชากรวัยแรงงานผู้สูงอายุ คาดการณ์ว่า ประชากรวัยแรงงานที่อาศัยอยู่คนเดียวจะเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกับสัดส่วนผู้สูงอายุอยู่คนเดียวที่อาจเพิ่มรวมถึง ครัวเรือนข้ามรุ่นที่มีประชากรวัยพึ่งพิงอย่างเด็กและผู้สูงอายุอยู่อาศัยร่วมกัน ก็มีสัดส่วนเพิ่มขึ้น ที่มำ : สถำบันวิจัยประชำกรและสังคม มหำวิทยำลัยมหิดล สถำนกำรณ์ด้ำนครอบครัว พบว่าสถานการณ์ การหย่าร้างในครอบครัว เมื่อเปรียบเทียบระหว่างปี 2564 - ปี 2565 จะเห็นได้ว่า สถานการณ์การหย่าร้าง ในพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.7 มีแนวโน้มการหย่าร้าง ลดลง เกือบทุกจังหวัด ยกเว้น จังหวัดลพบุรี และจังหวัด ชัยนาท ที่มีแนวโน้มการหย่าร้างเพิ่มขึ้น ซึ่งถ้าเทียบ อัตราการหย่าร้างระดับประเทศ กลุ่มจังหวัดที่อยู่ใน ความรับผิดชอบของ สสว.7 จะอยู่ในอันดับท้ายๆ ของ ระดับประเทศ (ที่มา : รายงานความมั่นคงของมนุษย์ประเทศไทย ปี 2565) 856 1810 522 515 433 1543 786 1744 504 520 400 1912 0 500 1000 1500 2000 2500 พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธำนี ชัยนำท สิงห์ ลพบุรี ครอบครัวหย่ำร้ำง ปี 2565 ปี 2564 สถานการณ์ครอบครัว 4
สถานการณ์คนพิการ สถานการณ์ด้านคนพิการในพื้นที่รับผิดชอบสสว.7 (ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท อุทัยธานี นครสวรรค์ พิจิตร) พบว่า สัดส่วนคนพิการที่ได้รับการจดทะเบียนต่อประชากรมีตั้งแต่ ปี 2563-2565 แนวโน้ม เพิ่มขึ้นทุกปีโดยปี 2564 ปัจจัยมาจาก การประชาสัมพันธ์ของภาครัฐ อีกทั้งการสื่อสารผ่านสื่อออนไลน์ สามารถเข้าถึงทุกกลุ่มคนท าให้คนพิการหรือผู้ดูแลทราบข้อมูล การเข้าถึงสิทธิ์และสวัสดิการมากขึ้น 111,047 112,659 114,916 3.7 3.7 3.8 3.6 3.6 3.7 3.7 3.8 3.8 3.9 109,000 110,000 111,000 112,000 113,000 114,000 115,000 116,000 2563 2564 2565 สัดส่วนคนพิกำรที่ได้รับกำรจดทะเบียนต่อประชำกร จ านวนคนพิการที่ได้รับการจดทะเบียน (คน) สัดส่วนคนพิการที่ได้รับการจดทะเบียน ต่อประชากร (ร้อยละ) สิทธิประโยชน์คนพิกำรควรได้รับ คนพิการที่มีบัตรประจ าตัวคนพิการแล้วสามารถยื่นค าขอ ใช้สิทธิประโยชน์สิ่งอานวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะ ตลอดจนสวัสดิการและความช่วยจากรัฐตามมาตรา 20 แห่ง พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ.2556 หรือ ตามกฎหมายอื่นก าหนด ได้แก่ 1. การฟื้นฟูสมรรถภาพโดยกระบวนการทางการแพทย์ 2. การคุ้มครองสิทธิคนพิการทางการศึกษา 3. การส่งเสริมอาชีพและคุ้มครองการมีงานทาของคนพิการ 4. การคุ้มครองสิทธิคนพิการทางสังคมและสวัสดิการ 5. การจัดให้มีสิ่งอานวยความสะดวก 6. บริการให้กู้ยืมเงินทุนประกอบอาชีพดอกเบี้ย 7. การปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยสาหรับคนพิการ 8.การจัดบริการล่ามภาษามือ 9.การสนับสนุนผู้ช่วยคนพิการ 10. การลดหย่อนค่าโดยสารขนส่งสาธารณะสาหรับคนพิการ สัดส่วนคนพิการแต่ละประเภทความพิการ ปี2563-2565 พบว่า พิการทางการเคลื่อนไหวหรือ ทางร่างกาย เพิ่มขึ้นทุกปี ปี2565 อยู่ร้อยละ 54.2 เพิ่มขึ้นจาก 2564 ร้อยละ 0.93 5
23.2 24.1 25.1 21.0 21.8 20.4 21.3 22.1 23.1 19.8 20.5 21.6 24.2 25.1 26.1 20.7 21.3 21.0 - 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 ชัยนาท นครสวรรค์ พิจิตร ลพบุรี สิงห์บุรี อุทัยธานี สัดส่วนผู้สูงอำยุต่อประชำกร (หน่วย : ร้อยละ) 10.7 11.0 8.1 11.6 11.5 11.2 8.5 6.5 10.8 8.5 11.9 12.2 - 2.0 4.0 6.0 8.0 10.0 12.0 14.0 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 ชัยนาท นครสวรรค์ พิจิตร ลพบุรี สิงห์บุรี อุทัยธานี ผู้สูงอำยุที่อยู่คนเดียว (หน่วย : ร้อยละ) สถำนกำรณ์ด้ำนผู้สูงอำยุในพื้นที่ (ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนำท อุทัยธำนี นครสวรรค์ พิจิตร) จากตาราง สัดส่วน ของผู้สูงอายุปี 2563-2565 ข้อมูลโดยส านักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง ทุกจังหวัดมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นทุกปี และอยู่ร้อยละ 20 ขึ้นไปทุกในจังหวัด แสดงให้เห็นว่าในพื้นที่ได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอย่างสมบูรณ์และมีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปี จนถึงปี2574 จากการรายงานการคาดประมาณประชากร ของประเทศไทย พ.ศ. 2553 - 2583 (ฉบับปรับปรุง) ข้อมูลโดย ส านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ ท าให้แนวโน้มครัวเรือนผู้สูงอายุ ที่อยู่คนเดียวเพิ่มขึ้น สถำนกำรณ์ ประชำกรผู้สูงอำยุที่อยู่คนเดียว พบได้ว่า จังหวัดชัยนาท จังหวัดนครสวรรค์ และ จังหวัดอุทัยธานีมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากสัดส่วน ของประชากรที่เป็นผู้สูงอายุมีจ านวนเพิ่ม บริบทพื้นที่ ส่วนใหญ่ เป็นพื้นที่ราบลุ่ม หน้าน้ าหลากพื้นที่จะเกิด น้ าท่วม และหน้าแล้งจะเกิดปัญหาขาดน้ าและพื้นที่ แห้งแล้ง ท าให้วัยแรงงานต้องเข้าไปหางานท าในเมือง ส่งผล ให้ผู้สูงอายุต้องอยู่บ้านล าพังคนเดียว ซึ่งเทียบกับพื้นที่จังหวัดพิจิตร จังหวัดสิงห์บุรี และ จังหวัดลพบุรีมีแนวโน้มที่ผู้สูงอายุอยู่คนเดียวลดลง ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร และมีการ สืบทอดอาชีพต่อกันมาเป็นรุ่นๆ อีกทั้งในพื้นที่มีการ อยู่ร่วมกันเป็นครอบครัวใหญ่ เป็นสังคมชนบท สถานการณ์ผู้สูงอายุ ที่มา : ส านักงานสถิติแห่งชาติ ผู้สูงอายุในสังคมไทยถูกทอดทิ้งให้อยู่อย่างโดดเดี่ยว มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกปี จากสภาพเศรษฐกิจและสังคม ที่เปลี่ยนไป ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างครอบครัวให้กลายเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น ท าให้ความรักความผูกพันใน ครอบครัวน้อยลง และผู้สูงอายุอาจถูกมองข้ามจากลูกหลาน แทบไม่เหลือความเป็นสังคมไทยในอดีต “สังคมไทยในปัจจุบันเริ่มกลายเป็ นสังคมไร้ลูกหลาน ค่านิยมเรื่องการมีคู่เปลี่ยนไป คนหนุ่มสาวเลือกที่จะอยู่เป็ น โสดมากขึ้น แต่งงานกันช้าลง ต้องการมีบุตรน้อยลง หรือเลือกที่จะไม่มีบุตรเลย” การจัดบริการทางสังคมควรเป็นในลักษณะสามารถเคลื่อนเข้าไปหาผู้สูงอายุในที่อยู่อาศัย ส าหรับผู้ที่ไม่สามารถ ออกมารับบริการได้ด้วยตนเอง และควรสนับสนุนการมี“ระบบช่วยเหลือการเข้าถึงบริการแบบครบวงจร” ในการไปรับที่ บ้านพาไปยังจุดหมายปลายทางและส่งกลับบ้าน ในรูปแบบอาสาสมัคร หรือธุรกิจเพื่อสังคมสูงวัย 6
841 198 334 1,662 755 1,439 2,420 966 862 547 4,667 2,580 583 3 55 359 715 390 6,709 2,071 5,391 15,656 5,306 4,608 539 0 286 47 0 0 0 2,000 4,000 6,000 8,000 10,000 12,000 14,000 16,000 18,000 ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท นครสวรรค์ พิจิตร อุทัยธานี มิติสุขภาพ มิติความเป็นอยู่ มิติการศึกษา มิติรายได้ มิติการเข้าถึงบริการภาครัฐ จำกฐำนข้อมูลระบบสมุดพก ครอบครัวอิเล็กทรอนิกส์ MSO – Logbook มีจ ำนวนครัวเรือนเปรำะบำง ในพื้นที่สสว.7 (ลพบุรีสิงห์บุรีชัยนำท อุทัยธำนี นครสวรรค์ พิจิตร) มีทั้งสิ้น 50,810 ครัวเรือน จำกฐำนข้อมูลระบบสมุดพกครอบครัว อิเล็กทรอนิกส์ MSO – Logbook มีจ ำนวน ครัวเรือนเปรำะบำงในพื้นที่สสว.7 (ลพบุรีสิงห์บุรี ชัยนำท อุทัยธำนีนครสวรรค์ พิจิตร) ประชากร ส่วนใหญ่ในพื้นที่ประสบปัญหาด้านรายได้มากที่สุด เนื่องจากบริบท ในพื้นที่กลุ่มจังหวัดเป็นสังคม เกษตรกร มีสัดส่วนหนี้สินเพื่อใช้ทางการเกษตร ในปี 2564 มากถึงร้อยละ 20.5 และมีแนวโน้มเพิ่มมาก ขึ้น ครัวเรือนเกษตรกรมีรำยได้น้อย รำยได้ ไม่แน่นอนสูง และมีปัญหำสภำพคล่อง ครัวเรือน มีรายได้รวมทั้งปีไม่พอรายจ่ายจาเป็น มีรายได้เหลือ จากการใช้จ่ายจาเป็นไม่พอชาระหนี้และไม่พอลงทุน ในการทาเกษตรรอบต่อไป รายได้ทั้งในและนอก ภาคเกษตรมีความไม่แน่นอนสูง และมีความเสี่ยง เชิงระบบที่อาจบริหารจัดการได้ยาก เช่น ภัยพิบัติ และราคาตลาดที่ผันผวน ที่มา:สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วยอึ๊งภากรณ์ กำรด ำเนินงำนในพื้นที่ สสว.7 (ลพบุรีสิงห์บุรี ชัยนำท อุทัยธำนี นครสวรรค์ พิจิตร) ช่วยเหลือโดยให้การสงเคราะห์ในเบื้องต้น และมีการพัฒน าอาชีพให้กับกลุ่มเปราะบาง เพื่อส่งเสริมการมีงานทา มีอาชีพ และรายได้เช่น โครงการพัฒนาทักษะการประกอบอาชีพประชาชน รวมถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านความเป็นอยู่ โดยการปรับปรุงซ่อมแซมที่อยู่อาศัยให้แก่คนพิการ ผู้สูงอายุผู้มีรายได้น้อย ที่อยู่อาศัยไม่มั่นคงแข็งแรง โดยมีทั้งภาคราชการ ภาคธุรกิจ เอกชน ผู้น าท้องที่ ผู้นาท้องถิ่น เข้ามามีส่วนร่วม - 5,000 10,000 15,000 20,000 11,092 2,670 6,928 5,471 17,764 6,885 สถานการณ์กล ุ่มเปราะบาง 7