The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อุ่นไอแว้งตามรอยออยเลอร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Mimee M, 2019-12-16 04:55:31

คู่มือการท่องเที่ยว

อุ่นไอแว้งตามรอยออยเลอร์

คูม่ อื

กำรท่องเที่ยวโดยชุมชน

อำเภอแวง้

“ไมง้ ำม นำตก นกเงอื ก”

เสน้ ทางการเดนิ ทาง

ประวตั คิ วามเป็นมา

อาเภอแว้ง เดิมชื่อ “อาเภอโต๊ะโม๊ะ” ต้ังเม่ือประมาณ พ.ศ. 2445 อยู่ท่ีบ้านโต๊ะโม๊ะ
หมู่ท่ี 3 ตาบลภูเขาทอง อาเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส ในปัจจุบัน แต่เดิมเป็นท้องที่
ทุรกันดาร การคมนาคมใช้ทางเดินเท้าและช้าง ราษฎรชาวไทยและต่างประเทศมาตั้ง
บ้านเรือน เพื่อขุดแร่ทองคาอยู่เป็นจานวนมาก คาว่า “โต๊ะโม๊ะ” เป็นคาพื้นเมืองแปลว่า
ตา ทิ่มหรอื กระแทก

ประมาณปี พ.ศ. 2478 ได้ย้ายทวี่ า่ การอาเภอโต๊ะโม๊ะ มาตั้งอยู่ท่ีตาบลฆอเลาะ ซ่ึงอยู่
คนฝ่ังคลอง กับท่ีตั้งอาเภอในปัจจุบันและลดฐานะเป็นก่ิงอาเภอ ชื่อว่ากิ่งอาเภอปาโจ ต่อมา
ไดย้ บุ เลกิ กิ่งอาเภอปาโจเป็นตาบลภูเขาทองในปจั จบุ ัน

ปี พ.ศ. 2482 ได้ย้ายท่ีว่าการอาเภอมาตั้งอยู่ท่ีบ้านแว้ง ซ่ึงเป็นที่ต้ังอาเภอในปัจจุบัน
และได้เปลยี่ นชือ่ จากอาเภอโตะ๊ โม๊ะ เปน็ อาเภอแว้ง เม่ือ พ.ศ. 2496

คาขวัญอาเภอ

“ไม้งาม นา้ ตก นกเงอื ก”

ลักษณะทต่ี งั้

อาเภอแว้งอยู่ห่างจากศาลากลางจังหวัดนราธิวาส เป็นระยะทาง
86 กิโลเมตร ปี พ.ศ. 2482 ได้ย้ายท่ีว่าการอาเภอมาต้ังอยู่ที่บ้านแว้ง ซ่ึงเป็นท่ีตั้ง
อาเภอในปจั จบุ นั และได้เปล่ยี นชื่อจากอาเภอโตะ๊ โม๊ะ เป็นอาเภอแวง้ เมอ่ื พ.ศ. 2496

ขนาดท่ีตงั้

อาเภอแว้งมีเนื้อที่ประมาณ 347 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 217,047 ไร่
คดิ เปน็ ร้อยละ 7.76 ของพนื้ ทจี่ ังหวดั นราธวิ าส

อาณาเขตติดต่อ

ทศิ เหนอื ติดกบั อาเภอสุไหงปาดี และอาเภอสุไหงโก-ลก จังหวดั นราธวิ าส
ทศิ ใต้ ติดกับ อาเภอตาเนาะแมเราะ รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซยี
ทิศตะวนั ออก ตดิ กบั อาเภอปาเสมัส รฐั กลันตัน ประเทศมาเลเซีย
ทศิ ตะวนั ตก ติดกับอาเภอสุคิรนิ จังหวดั นราธิวาส

ลักษณะภูมปิ ระเทศ

สภาพพน้ื ทส่ี ่วนใหญ่เป็นพื้นท่ีราบเชิงเขา มีป่าเชิงเขา และลาห้วย หนอง บึงในบาง
พ้ืนที่ มีเทือกเขาสันกาลาคีรี และแม่น้าสุไหงโก-ลก เป็นเขตแบ่งกั้นพรมแดนกับประเทศ
มาเลเซีย พ้นื ทีส่ ่วนใหญ่ใชใ้ นการเกษตร จานวน 130,693 ไร่

ลักษณะภูมิอากาศ

ลกั ษณะภมู ิอากาศเป็นแบบมรสมุ มี 2 ฤดู คือ
ดรู ้อน เรม่ิ ตัง้ แต่เดอื นกุมภาพนั ธ์ – เดอื นเมษายน
ฤดฝู น เร่มิ ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม – เดือนมกราคม

การคมนาคม

ตดิ ต่อระหวา่ งจังหวัด สามารถเดินทางไดส้ ะดวกทงั้ ทางรถยนต์ รถไฟ และเครอื่ งบิน

ทางรถยนต์ จากหาดใหญ่สามารถเดินทางไปจังหวัดนราธิวาสได้โดยใช้เส้นทางหลวง
หมายเลข 43 (หาดใหญ่-ปัตตานี) แล้วเล้ียวซ้ายเข้าสู่จังหวัดปัตตานี ไปยังจังหวัดนราธิวาส
โดยใชท้ างหลวงหมายเลข 42 (ปัตตาน-ี นราธิวาส) อกี ประมาณ 100 กิโลเมตร

ทางรถโดยสาร มีรถโดยสารท้ังธรรมดาและปรับอากาศของบริษัทขนส่งจากัด
บริการระหวา่ งกรุงเทพ-สไุ หงโก-ลกทกุ วัน จากสถานีขนสง่ สายใต้ ถนนปน่ิ เกลา้ -นครชยั ศรี

ทางรถไฟ การรถไฟเปดิ บริการรถด่วนและรถเร็วทุกวัน จากกรุงเทพฯ (สถานีหัวลาโพง) ถึง
สถานีสไุ หงโก-ลก

ทางเคร่ืองบิน มีเท่ียวบินพาณิชย์ข้ึน-ลงประจาทุกวัน วันละ 4 เท่ียวบิน (วันละ 6 เท่ียวบิน
เฉพาะทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์ และเสาร์) ดงั น้ี

- เท่ยี วบนิ ท่ี FD3130 สายการบนิ ไทยแอร์เอเชยี เสน้ ทาง ดอนเมือง - นราธวิ าส
ถงึ เวลา 12.05 น. (ทุกวัน)

- เท่ยี วบินท่ี FD3131 สายการบินไทยแอร์เอเชีย เส้นทางนราธิวาส - ดอนเมือง
ออกเวลา12.30 น. (ทกุ วัน)

- เท่ียวบินที่ FD3507 สายการบินไทยแอร์เอเชยี เส้นทาง ดอนเมอื ง - นราธวิ าส
ถึงเวลา 14.00 น. (ทุกวันจนั ทร์,พธุ ,ศกุ ร์ และ เสาร์)

- เทย่ี วบินที่ FD3508 สายการบนิ ไทยแอรเ์ อเชยี เส้นทาง นราธวิ าส - ดอนเมือง
ออกเวลา 14.30 น. (ทกุ วันจันทร,์ พธุ ,ศุกร์ และ เสาร์)

- เทยี่ วบินท่ี WE291 สายการบนิ ไทยสมายล์ เสน้ ทาง สุวรรณภมู ิ - นราธิวาส
ถงึ เวลา 16.20 น. (ทกุ วนั )

- เที่ยวบินที่ WE292 สายการบนิ ไทยสมายล์ เสน้ ทาง นราธวิ าส - สวุ รรณภมู ิ
ออกเวลา 16.50 น. (ทกุ วัน)

ติดต่อระหว่างอาเภอ รวมท้งั การคมนาคมภายในตาบลและหมู่บา้ น โดยมีเส้นทางสายหลกั ดังนี้
1. ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4056 มะนงั ตะยอ – อาเภอสไุ หงปาดี ระยะทาง 76 กโิ ลเมตร
2. ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4057 ตากใบ – สไุ หงโก-ลก ระยะทาง 83 กิโลเมตร
3. เสน้ ทางเชอ่ื มตอ่ ระหว่างตาบลและหมู่บา้ น เปน็ ถนนลาดยาง และถนนลูกรัง จานวน 50 สาย

ระยะทางจากจังหวัดนราธิวาสไปยังจังหวัดใกล้เคียง

นราธวิ าส

ปตั ตานี 92 กิโลเมตร

ยะลา 128 กโิ ลเมตร

สงขลา 194 กิโลเมตร

อาเภอแว้ง

อาเภอเมอื ง 83 กโิ ลเมตร

อาเภอย่งี อ 77 กโิ ลเมตร

อาเภอระแงะ 60 กโิ ลเมตร

อาเภอบาเจาะ 92 กิโลเมตร

อาเภอตากใบ 55 กโิ ลเมตร

อาเภอรอื เสาะ 99 กโิ ลเมตร

อาเภอสไุ หงปาดี 32 กิโลเมตร

อาเภอจะแนะ 45 กโิ ลเมตร

อาเภอศรสี าคร 71 กโิ ลเมตร

อาเภอสุไหงโก-ลก 23 กิโลเมตร

อาเภอสคุ ิริน 22 กโิ ลเมตร

รสี อร์ทประชารฐั ฮาลา-บาลา

รีสอร์ทประชารัฐฮาลา-บาลา ตั้งอยู่ท่ีหมู่บ้านบาลา หมู่ที่ 5 ตาบลโละจูด
อาเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส ซึ่งจัดสร้างขึ้นโดยกองทุนหมู่บ้านร่วมกับกองทุนประชา
รัฐของตาบลโละจูด มาระดมทุนจากงบกองทุน ประชารัฐตาบลโละจูด จานวน 8
หมู่บ้าน เพื่อการท่องเที่ยวโดยชุมชน เนื่องจากตาบลโละจูด เป็นหมู่บ้านท่ีมีแหล่ง
ท่องเท่ียว มีวัฒนธรรมและเป็นตลาดชายแดน มีนักท่องเท่ียวชาวไทยจากต่างภูมิภาค
นักท่องเที่ยวจากประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย จีน เวียดนาม ฝร่ังเศส และอังกฤษ รี
สอรท์ จดั แพคเกจราคาพิเศษ อาหารพร้อมทีพ่ กั 1 วนั 1 คนื จานวน 700 บาท ไม่รวม
ค่าเดินทางจากตน้ ทาง นอกจากนีใ้ นบริเวณรสี อร์ทประชารัฐ ยงั มศี นู ย์เรียนรู้เศรษฐกิจ
พอเพยี ง ตามรอยเทา้ พ่อ ร.9 บา้ นบาลา

พิพิธภัณฑ์บา้ นโละจูด

พิพิธภัณฑ์บ้านโละจูด เป็นพิพิธภัณฑ์เอกชนแห่งแรกและแห่งเดียว
ข อ ง อา เ ภ อ แ ว้ง ไ ด้ จ ด ท ะ เบี ย นเ ป็ นพิ พิ ธภั ณ ฑ์เ มื่ อปี พ. ศ . 2 52 6 โ ด ย
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ได้มาช่วยการจัดหมวดหมู่ เป็นริเร่ิม
ของนายเจ๊ะปอ ลอดิง อดีตกานันตาบลโละจูด ตั้งแต่ปี พงศ. 2521 โดยใช้บ้าน
ของตนเป็นศูนย์ดาเนินการก่อสร้าง อาคารพิพิธภัณฑ์แบบทรงไทย แล้วรวบรวม
โบราณวัตถุตามหมู่บ้านต่าง ๆ ได้แก่ บ้านบาลา บ้านซะ บ้านสาวอ และบ้านโละจูด
ซ่งึ เปน็ แหลง่ ชุมชนด้ังเดิม ในปีพ.ศ. 2535 ได้รับพระราชทานรางวัลอนุรักษ์มรดกไทย
ศลิ ปวตั ถทุ ีร่ วบรวมไวม้ อี ายรุ ะหวา่ ง 100 – 350 ปี มีอยูป่ ระมาณกวา่ 200 ช้ิน

สะพานมติ รภาพไทย-มาเลเซยี (บ้านบเู ก๊ะตา)

สะพานมิตรภาพไทย-มาเลเซีย (บ้านบูเก๊ะตา) เป็นสะพานข้ามแม่น้าโก-ลก
แห่งที่ 2 เช่ือมระหว่างบ้านบูเก๊ะตา ตาบลโละจูด อาเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส กับ
บา้ นบกู ติ บงู งา รฐั กลนั ตนั ประเทศมาเลเซยี เปน็ สะพานคอนกรีต 2 ช่องจราจร ยาว
120 เมตร กว้าง 16.9 เมตร ดาเนินการสร้างโดยกรมทางหลวงของไทย และกรม
โยธาธิการมาเลเซีย ใช้เวลาสร้าง 1 ปี งบประมาณ 90 ล้านบาท โดยออกค่าใช้จ่าย
ฝา่ ยละครง่ึ เปดิ ให้บริการ 08.00 – 17.00 น. ในฐานะจุดผ่อนปรนช่ัวคราว โดยเป็น
หนึ่งในแผนงานพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่ายอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย และ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาร่วมสาหรับพื้นที่ชายแดนไทย-มาเลเซีย นอกจากน้ีบริเวณ
ดังกล่าวยังมีร้านค้าท่ีขายสินค้าราคาถูกให้แก่นักท่องเท่ียว และพ่อค้าแม่ค้าท่ี
ประกอบอาชพี คา้ ขาย เป็นสะพานเช่ือมโยงมิตรภาพและนามาซ่ึงความเจริญรุ่งเรือง
ของประชาชนทั้งสองประเทศ

เขตรกั ษาพันธส์ ัตวป์ ่าฮาลา-บาลา

เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าฮาลา-บาลา เป็นพ้ืนท่ีเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแห่งหน่ึงใน
ประเทศไทย ในพืน้ ท่ีภาคใต้ตอนลา่ งของประเทศ เป็นผืนป่าท่ีประกอบไปด้วยผืนป่าสอง
ผืน คือ ป่าฮาลา ในพื้นท่ีอาเภอเบตง จังหวัดยะลา และอาเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
และป่าบาลา ในพื้นที่อาเภอแว้ง และอาเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส แม้ป่าทั้งสองผืนน้ี
จะไม่ได้ติดเป็นป่าผืนเดียวกัน แต่ทว่าในปี พ.ศ. 2539 ได้มีการประกาศลงในราชกิจจา
นเุ บกษาให้เป็นเขตรักษาพนั ธสุ์ ตั วป์ ่าร่วมกัน สภาพป่าเป็นป่าดิบช้ืน หรือป่าฝนเมืองร้อน
ที่อุดมสมบูรณ์มาก และมีความหลากหลายทางชีวภาพสูง มีความช้ืนสูงตลอดท้ังปี มีลา
น้าไหลผ่าน ถือได้ว่าเป็นผืนป่าดิบช้ืนที่กว้างขวางและใหญ่ท่ีสุดของคาบสมุทรมลายู จน
ได้ฉายาวา่ เป็น “อเมซอนแหง่ อาเซยี น”

จดุ ชมทะเลหมอกสองแผน่ ดิน

จุดชมทะเลหมอกสองแผ่นดิน ที่ป่าฮาลา-บาลา อาเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
มีทะเลหมอกท่ีสวยงาม ปกคลุมพ้ืนท่ีเป็นบริเวณกว้างท้ังสองเทือกเขา เทือกเขา
สันกาลาคีรีในฝ่ังไทยและฝั่งมาเลเซีย โดยมีแม่น้าสุไหงโก-ลก ไหลผ่านเป็นเส้นแบ่ง
เขตประเทศ สามารถขึ้นมาชมได้ มีจุดชมวิวทะเลหมอกที่ไม่สูงนัก สูงกว่า
ระดับน้าทะเลเพียง 200 - 300 เมตร โดยเฉพาะช่วงเช้ามืดก่อนพระอาทิตย์ขึ้นท่ี
ท้องฟ้าเร่ิมมีแสงสีทองสาดส่องเจือด้วยสีชมพูระเร่ือ และภาพหมอกเป็นสายลอย
ออ้ ยอง่ิ ปกคลมุ ท่ัวป่า

สถานวี ิจัยป่าพรุ-ป่าฮาลาบาลา

สถานีวิจัยป่าพรุ-ป่าฮาลาบาลา มีสานักงานตั้งอยู่ในบริเวณพ้ืนท่ีหมู่ท่ี 5 ตาบล
โละจูด อาเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส เป็นหน่วยงานท่ีปฏิบัติหน้าท่ี ศึกษาวิจัยทรัพยากร
ด้านสัตว์ป่าในระบบนิเวศน์ป่าพรุ และป่าดงดิบช้ืนของพื้นท่ีป่าภาคใต้ตอนล่าง ถัดจาก
สถานีวจิ ยั มเี สน้ ทางการเดินธรรมชาติจากสถานีวิจัยสัตว์ป่าถึงน้าตกสิรินธร สามารถศึกษา
พืชและสัตว์ป่าในระบบนิเวศน์ป่าดิบช้ืนท่ีราบต่า เส้นทางถนนเพ่ือความม่ันคงบ้านบาลา
ศึกษาธรรมชาติท้ังพืชและสัตว์ป่า เส้นทางน้าริมคลองอัยกาดิง บรรยากาศแวดล้อมด้วย
ป่าดงดิบช้ืนอันอุดมสมบูรณ์ นอกจากน้ียังมีโครงการสารวจและรวบรวมพันธุ์ไม้ดอกไม้
ประดับป่าภาคใต้ ซึ่งได้จัดกิจกรรมสารวจและรวบรวมพันธ์ุไม้ดอกไม้ประดับภายในพ้ืนที่
14 จังหวัดภาคใต้ ตกแต่งสถานที่ให้กลมกลืนกับธรรมชาติ จัดทาระบบฐานข้อมูล
สือ่ ความหมายธรรมชาติ เพาะเลีย้ งเนื้อเยอ่ื เปน็ ตน้

น้าตกสริ ินธร

น้าตกสิรินธร หรอื ชอ่ื เดิมว่า น้าตกลาตอยือรา ต้ังอยู่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าฮา
ลา-บาลา อาเภอแวง้ จังหวดั นราธวิ าส สมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงเสด็จเย่ียม และพระราชทานนามน้าตกแห่งนี้ว่า
น้าตกสิรินธร เป็นน้าตกที่มีความสวยงามและต้ังอยู่พ้ืนที่ป่าท่ียังคงอุดมสมบูรณ์ที่สุดใน
ประเทศไทย และเป็นสายน้าตกทีค่ ่อย ๆ ไหลลดหลั่นกันมาตามแนวป่า ผ่านผาหินน้อย
ใหญ่ แตล่ ะชนั้ มีลานหินเป็นแอ่งรองรับน้าให้สามารถเล่นน้าและนั่งพักผ่อนได้ ซึ่งแต่ละ
ชน้ั น้าตกก็มคี วามสวยงามลกั ษณะแตกต่างกนั ไป

จุดชมสัตว์

จุ ด ช ม สั ต ว์ จ ะ มี ต้ น ไ ท ร ข้ึ น อ ยู่ ม า ก แ ล ะ สั ต ว์ มั ก จ ะ ม า ห า กิ น ลู ก ไ ท ร
เป็นอาหาร ถ้าซุ่มสังเกตดี ๆ อาจจะได้พบนกเงือก และสัตว์ป่าท่ีทาให้ป่าแห่งน้ี
มีความสมดุลทางระบบนิเวศน์ เช่น ชะนีดาไทย หรือเซียมัง มีสีดาตลอดตัว และ
มีขนาดใหญ่กว่าชะนีธรรมดาเกือบเท่าตัว ชะนีมือดา กบทูด ซึ่งเป็นกบขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศ
ไทย และจากการสารวจพบสตั วป์ า่ สงวน 4 ชนิด คือ เลียงผา สมเสร็จ แมวลายหินอ่อน และกระซู่
นกเงอื กซงึ่ เป็นดชั นีวัดความสมบูรณข์ องป่า และเปน็ นกหายากชนดิ หนง่ึ



สถานท่สี าคญั

 สถานีตารวจภธู รบูเกะ๊ ตา
ท่อี ยู่ : ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4057 แว้ง อาเภอแวง้
นราธิวาส 96160
โทรศัพท์ : 073 584 066

 โรงพยาบาลแวง้
ท่อี ยู่ : ตาบลแว้ง อาเภอแว้ง จงั หวัดนราธิวาส 96160
โทรศพั ท์ : 073 659 008

เรียบเรยี งโดย

1. นางสาวซาอเี ราะห์ มะ
2. นางสาวซามมี ี ยาลี
3. นางสาวอาซรู า ยูนุ๊

ท่ปี รกึ ษา

1. นางขนิษฐา มะลี
2. นางสาวดารีนา มูซอ

สนบั สนนุ โดย นายมะยนู า มะเยง ผอู้ านวยการโรงเรียนเวยี งสุวรรณวิทยาคม

โรงเรียนเวียงสุวรรณวทิ ยาคม

สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 15


Click to View FlipBook Version