The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุไลมาน มะตาเยะ, 2021-10-10 13:26:01

สัมมนาเรื่องฝรั่งกิมจู

เอกสารประกอบการสัมมนา

…เรื่อง ฝรั่งกมิ จู

เรียบเรียงโดย
นายสุไลมาน มะตาเยะ รหสั นกั ศึกษา 63305010042

เสนอ
ครูรัตน์พภี รณ์ ทองประพนั ธ์

เอกสารเล่มน้ีเป็นส่วนหน่ึงของรายวชิ าสัมมนาทางดา้ นการเกษตร รหสั วชิ า 30501 - 2002
วทิ ยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปัตตานี



คำนำ

รายงานฉบับนเ้ี ปน็ ส่งนหนงึ่ ของรายวชิ า สัมมนาทางด้านเกษตร รหสั วชิ า 30501-2002
ระดบั ชั้นประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชั้นสูง โดยมจี ดุ ประสงคจ์ ัดทาข้ึนเพ่ือให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่อง ฝรงั่ กิม
จู และได้ศึกษาอยา่ งเขา้ ใจเพื่อเป็นประโยชน์กบั การเรยี น

ผูจ้ ดั ทาหวงั ว่า รายงานฉบับนจ้ี ะเป็นประโยชนก์ ับผู้อ่านหรือนกั เรยี น นกั ศึกษา ทก่ี าลงั หาข้อมูล
เรือ่ งน้ีอยู่ หากมขี ้อแนะนาหรือผดิ พลาดประการใด ผู้จัดทาขอน้อมรับไวแ้ ละขออภัยมา ณ ท่ีนดี้ ว้ ย

นายสไุ ลมาน มะตาเยะ
ผู้จัดทา

สำรบญั ข

คานา หนำ้
สารบัญ (ก)
ประวัตแิ ละความเป็นมาของฝรั่งกิมจู (ข)
ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ 1
พันธ์ุของฝร่งั 2-5
การปฏบิ ัตดิ ูแลรักษา 6-8
โรคและแมลงศตั รพู ชื 9-13
ประโยชน์ของฝร่ัง 13-16
คณุ ค่าทางโภชนาการของฝรง่ั กมิ จู 16-18
ขอ้ แนะนาและข้อควรระวัง 18-19
บรรณานุกรม 20
มาตรฐานสนิ ค้าเกษตร 21
22

1

ฝรง่ั กิมจู

ชือ่ พน้ื เมือง ฝรัง่ กิมจู
ชื่อวิทยาศาสตร์ Psidium guajava L.
ชื่อสามัญ Guava.
จดั อยู่ในวงศ์ชมพู่ (MYRTACEAE)

ประวตั แิ ละท่มี าของฝรัง่ กิมจู
ฝรง่ั (ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์: Psidium guajava Linn.) เปน็ ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ใน

วงศ์ Myrtaceae ฝรงั่ เป็นพชื ทม่ี จี ดุ กาเนิดอยู่ในอเมริกากลางและหมู่เกาะอินดสี ตต์ ะวันตก หลักฐาน
ทางโบราณคดีในเปรูช้ีใหเ้ หน็ ว่า มีฝรง่ั มาตงั้ แต่ 800 ปีก่อนครืสตกาล พ่อคา้ ชาวสเปนและโปรตุเกส
เปน็ ผ้นู าผลไมช้ นดิ นี้ไปยังถ่ินตา่ งๆทวั่ โลก เข้ามาถงึ เอเชียตะวันออกเฉียงใตเ้ ม่ือราวครสิ ต์ศตวรรษที่
17 ส่วนในประเทศไทย คาดว่าเขา้ มาในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช

คาวา่ ฝรง่ั ในภาษาอังกฤษคือ Guava ซึง่ มาจากภาษาสเปน คาว่า Guayaba และ ภาษา
โปรตุเกส คาว่า Goiaba ฝรงั่ มีชอ่ื พนื้ เมอื งอ่ืนๆอกี คือ ย่าหมู (สุราษฎรธ์ านี) ชมพู่ (ตรงั , ปัตตานี)
มะกว้ ย (เชยี งใหม่,เหนือ) มะกว้ ยกา (เหนอื ) มะกา (กลาง,แมฮ่ ่องสอน) มะจีน (ตาก) มะมนั่ (เหนอื )
ยะมูบุเตบนั ยา (มลายู นราธวิ าส) ยะรงิ (ละว้า เชียงใหม่) ยามุ (ใต้) ย่าหมู (ใต)้ และ สดี า (นครพนม
,นราธวิ าส)

2

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์

ภาพท่ี1 ลาตน้ ฝรง่ั กิมจู

ลาต้นฝรั่งกมิ จู
ฝรง่ั เป็นไม้ยนื ต้น สูง 3-10 เมตร ตน้ เกลี้ยงมนั เปลอื กต้นเรียบ ใบเด่ียว กิง่ อ่อนเป็นสเ่ี หลี่ยม

ยอดอ่อนมีขนสน้ั ๆ ใบเดีย่ ว เรยี งตรงขา้ ม รูปวงรีแกมขอบขนาน กว้าง 3-8 ซม. ยาว 6-14 ซม. ดอก
เดย่ี วหรือช่อ 2-3 ดอก ออกที่ซอกใบ กลีบดอกสขี าว ร่วงงา่ ย มเี กสรตัวผ้จู านวนมาก ผลเป็นผลสด
ผลดิบสีเขียว กินได้ เมื่อสกุ เป็นสเี หลือง

3

ภาพที่2 รากของตน้ ฝร่ังกิมจู
ราก

เปน็ ระบบรากแก้ว แตกเป็นรากแขนงจานวนมาก และหยั่งลึกได้มากกวา่ 2-5 เมตร
ภาพที่3 ใบฝรงั่ กิมจู

ใบ
เป็นไมป้ ระเภทใบคู่ ใบอ่อนมีสีเขยี ว ผวิ ใบมีลักษณะไม่เรยี บ มขี นอ่อนปกคลุม แตกออก 2

ใบ จากกง่ิ ตรงขา้ มกัน ดา้ นบนใบมรี ่องลึก แผ่นใบเป็นรปู ไข่ ปลายมน กวา้ ง 3-7 เซนตเิ มตร ยาว 5-
15 เซนตเิ มตร ดา้ นหลังใบเรยี บ ด้านท้องใบมีขนอ่อนปกคลุม มเี สน้ ใบมองเห็นชดั เปน็ นูนขึน้ มา ฐาน
ใบโค้ง ขอบใบเรียบ และมีขอบโปร่งใส

4

ภาพท่ี4 ดอกฝร่งั กิมจู
ดอก

ดอกของฝรั่งจะมเี กสรตัวผู้ และตวั เมียอยใู่ นดอกเดยี วกนั ดอกเกิดทตี่ าขา้ งบริเวณเหนือซอก
ใบ มกั ไม่เกดิ ทต่ี ายอด เกดิ เป็นดอกเดย่ี วหรือดอกชอ่ จานวน 2-3 ดอกต่อช่อ ก้านดอกสเี ขยี วอม
เหลือง มขี นปกคลุม เม่ือตดิ ผลมสี ีเขียวออ่ น มีกลีบรองดอก 4-6 อัน มีสเี ขียวอมเหลอื ง มีขนอ่อนปก
คลุม ดอกตมู จะมีกลบี เล้ียงหุบห่อหมุ้ ดอกไว้ และจะแตกออกเม่ือดอกเริ่มคลบี่ าน ช้นั กลีบเลย้ี งจะไม่
รว่ งออกจนผลแกก่ ย็ งั ตดิ อยู่ ช้ันกลีบดอกสขี าวรปู รา่ งรีขนาดเทา่ กัน มีจานวน 4-5 อนั เกสรตัวผู้มี
จานวนมาก และแทรกอยรู่ อบๆ อับเกสรสเี หลืองอ่อน และแตกตามความยาว เกสรตัวเมียมรี งั ไข่ 4-5
ชอ่ ง ก้านเกสรตัวเมยี เรยี วยาว มีสีเขียวอมเหลือง ไม่มีขน ยอดเกสรตัวเมียมตี ุม่ เล็กๆ

5

ภาพที่5 ผลฝรั่งกมิ จู
ผล

รปู รา่ งกลมหรอื รูปไข่ เปน็ ป่องตรงปลาย เสน้ ผ่าศนู ย์กลาง 5-9 เซนตเิ มตร ยาว 5-12
เซนติเมตร ขึ้นกับพนั ธุ์ และความอุดมสมบูรณ์ของดนิ รวมถึงปัจจัยการดูแล มีช้ันกลบี เลี้ยงตดิ อย่ทู ่ี
ปลาย เปลอื กโดยทัว่ ไปเรยี บ และขรุขระเล็กน้อย ผิวเปลือกเปน็ มนั ผลอ่อนมีสเี ขยี วเข้ม ผลแก่มีสี
เขียวอ่อน เมือ่ สกุ จะมสี เี หลืองอ่อนหรือสเี หลืองข้นึ อยู่กับสายพันธ์ุ เน้อื ผลมีสีขาว สีขาวชมพู และ
เหลอื ง

ภาพที่6 เมล็ดฝร่ังกมิ จู
เมลด็

แทรกตวั ในเน้ือชนั้ ในบรเิ วณใจกลางของผล เมลด็ อาจมจี านวนมาก จานวนน้อยหรือไม่มีเลย
ขน้ึ อยู่กับพนั ธ์ุ เมล็ดมลี ักษณะกลมมน สีเหลอื งออ่ นหรือนา้ ตาลอมเหลอื ง เปลือกเมล็ดมีลกั ษณะแข็ง
มาก เส้นผา่ ศนู ยก์ ลางประมาณ 0.2-0.3 เซนตเิ มตร และยาว 0.3-0.5 เซนตเิ มตร

6

พนั ธ์ุตา่ งๆ
พนั ธก์ุ นิ สด เป็นพันธ์ุทน่ี ิยมรับประทานผลสด เชน่ ฝรั่งขน้ี ก ส่วนใหญเ่ นื้อสีขาว พันธ์ทุ ่นี ยิ ม

ปลกู เปน็ การค้าได้แก่
• ฝรง่ั เวยี ดนาม - ลกู ใหญก่ ว่าฝรง่ั พ้ืนบ้าน ถงึ 2 - 3 เท่า ถกู นาเขา้ จากเวยี ดนามมาปลกู ที่
อาเภอสามพรานเม่ือ พ.ศ. 2521– 2523

ฝร่งั กิมจู - เปน็ ฝร่งั ไรเ้ มล็ด สีนวลสวย รสหวานกลมกลอ่ ม กรอบ

7

ฝรั่งกลมสาลี่- เป็นพนั ธแ์ รกๆทนี่ ิยมปลูกกนั มาก ต่อมามพี นั ธ์แปน้ สีทองเข้ามา จึงปลูกนอ้ ยลง
เรอื่ ยๆ

ฝรั่งแป้นสีทอง- ปลูกมากท่ีสุดในประเทศไทย ผลเมื่อโตเตม็ ท่ีจะขาว ฟู กรอบ เริ่มแรกปลูกที่
อาเภอสามพราน ภายหลังได้แพร่กระจายไปท่วั

8

ฝรัง่ ไรเ้ มลด็ - ลกั ษณะลกู ยาวๆ ไม่มเี มล็ด รสชาติด้อยกว่าฝรัง่ แปน้ สีทอง และกิมจู
พนั ธแ์ุ ปรรูป เป็นพนั ธุ์ท่ีใช้คนั้ ทาน้าฝรัง่ เนอื้ ฉ่าน้า สีชมพู

การใชป้ ระโยชน์
ชาวยโุ รปนิยมบริโภคฝร่งั สุก โดยนาไปทาพายและขนมไดห้ ลายชนดิ สาวนชาวเอเชียนิยม

บริโภคฝรง่ั แก่จดั แตย่ งั ไมส่ ุก และนาไปแปรรปู เชน่ ทาเป็นฝรง่ั ดอง ฝรัง่ แชบ่ ว๊ ย นอกจากนั้น ฝร่งั ยงั มี
ฤทธเิ์ ป็นยาสมนุ ไพร ใบฝร่ังใช้ดับกล่ินปาก นา้ ต้มใบฝรั่งสด มีฤทธท์ิ างดา้ นปอ้ งกนั ลาไส้อักเสบ
ทอ้ งเสีย ใช้ทาแกผ้ น่ื คนั พพุ องได้ นา้ ตม้ ผลฝรงั่ ตากแหง้ มีฤทธิ์แกค้ ออักเสบ เสียงแห้ง ชาวอนิ เดียใช้
ใบรักษาแผลและแก้ปวดฟนั ในฟลิ ิปปินส์ใชใ้ บแก้เหงอื กบวมและท้องเดนิ เปลือกตน้ ฝร่งั ใช้ทาสยี อ้ ม
ผ้า
สารสกัดใบฝร่งั ด้วยเอธานอลความเขม้ ข้น 62.5 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตรยับยัง้ การเจริญ
ของ Aeromonas hydrophila ในอาหารเลย้ี งเชื้อได้ เมอื่ นาสารสกัดจากใบฝร่งั ไปผสมในอาหาร
ปลาในอัตราส่วน 1:24 (w/w)ทาให้ปลานลิ ตายเน่ืองจากการตดิ เชอ้ื A. hydrophila น้อยลง

9

การปฏิบัติดูแลรกั ษา

การให้น้า
หลงั จากปลูกฝรัง่ แลว้ ต้องหมน่ั คอยรดนา้ ในช่วงระยะแรกจนกว่าตน้ ฝรงั่ จะตั้งตัวได้หลงั จากน้ัน

ก็ต้องสังเกตดูความช่มุ ช้นื ของดิน ถ้าดินแหง้ มากต้องรบี ให้น้า และถ้ามีฝนตกหนักกค็ วรระบายน้าออก
บา้ ง การให้น้าจะค่อย ๆ เพมิ่ ขนึ้ ตามความต้องการของต้นฝร่ัง ปริมาณความช้ืนของดินในระหวา่ งการ
ออกผลมคี วามสาคญั เพราะจะก่อให้เกิดการรว่ ง การแตก และขนาดของผล

การใส่ปุย๋
โดยปกติการปลูกพชื ทุกชนิดควรมีการใสป่ ๋ยุ ทงั้ ปุ๋ยคอกและปุ๋ยเคมี สูตรทแ่ี นะนา คือ 15-15-

15 หรือ 13-13-21 ฝร่งั เม่ือออกดอกแลว้ จาเปน็ ตอ้ งใหน้ ้าและปุ๋ยไนโตรเจนเพ่ือให้ได้ผลผลติ สูงขนึ้ ทกุ
ๆ ปี ควรใหป้ ุ๋ยประมาณ 2 กิโลกรมั /ต้น/ปี หรือมากกวา่ นี้ขึ้นอยู่กบั อายขุ องตน้ และปรมิ าณผลผลิต
และหากจะใหฝ้ รง่ั มีรสหวานยิ่งขึ้นใหใ้ ชป้ ุ๋ยเกร็ดสตู ร 5-30-30 พ่นก่อนเกบ็ ผล 1 เดือน โดยนาปุ๋ย
เกร็ดมาผสมนา้ ฉีดพน่ ฉีดอาทิตย์ละครั้ง ประมาณ 2 คร้งั จากนั้นประมาณ 15 วนั จึงเก็บผล

การพรวนดิน
ไมค่ วรพรวนดนิ ลกึ เพราะจะทาให้รากของตน้ ฝรงั่ ขาดได้

การกาจดั วชั พชื
ควรทาอยา่ งสม่าเสมอ อาจใช้วิธีการถาง ใชส้ ารเคมกี าจัดวชั พชื หรอื ปลกู พชื ตระกูลถว่ั เช่น

เซนโตรซมึ เพอราเรยี เป็นพืชคลมุ ดิน

การปกั ไม้ค้ากันลม
ในระหวา่ งท่ีต้นฝร่งั ยงั เล็กอยู่ ควรปกั ไม้คา้ กนั ลมเพื่อปอ้ งกนั ไม่ให้ต้นโยก เพราะอาจ

กระทบกระเทอื น ทาใหต้ ้นฝร่ังไม่โต การปักไมค้ า้ กนั ลม ควรใช้ไม้รวกหรือแขนงไม้ไผย่ าว 1 เมตร ค้า
กง่ิ ตน้ ละ 1-2 อัน และใช้เชือกพลาสตกิ ผูกติดกับก่งิ แต่อยา่ ผกู ใหแ้ น่นมากเพราะก่ิงอาจเจริญเติบโตชา้

การพยงุ ผลฝรง่ั
ฝรั่งจะเริ่มออกผลเม่ืออายปุ ระมาณ 6 เดือน ควรใชไ้ มไ้ ผป่ กั ไว้เพื่อพยงุ ผลฝรง่ั โดยใชป้ ลายหรอื

แขนงไมไ้ ผข่ นาดเลก็ ยาว 1 เมตร หรอื มากกว่านั้นปักใกลก้ ับกง่ิ ที่ออกผลแล้ว โดยผูกยึดกบั ก่ิงไว้ บาง

10

สวนจะผกู ข้ัวผลกบั กง่ิ หรือไม้ปกั เพื่อไม่ให้ผลถว่ งตน้ เพราะนา้ หนกั ผลฝร่ังมาก ถ้ามลี มพัดแรงตน้ จะ
เฉาตายและรากจะขาด
การตดั แตง่ กง่ิ
การตดั แต่งก่งิ จะช่วยใหฝ้ ร่งั เกิดกิง่ อ่อน และมีช่อดอกออกมาด้วยทาให้ทรงพุ่มโปร่ง ได้สัดสว่ น อากาศ
ถา่ ยเทไดส้ ะดวก แสงแดดส่อง ได้ท่ัวถึง สะดวกในการเกบ็ ผลและการพ่นสารป้องกันกาจดั โรค และ
แมลง นอกจากนี้ ยังทาใหไ้ ดผ้ ลผลิตทแี่ นน่ นอน ผลมขี นาดใหญ่ สาหรับส่วนใหม่ ควรมกี ารตัดแตง่ กิ่ง
ทุกปีเพื่อกระตนุ้ การเจรญิ และการสรา้ งตาดอก โดยท่ัวไป ตน้ ที่สมบรูณ์จะตัดกิ่งก้านออก 25 -
30% สาหรบั ตน้ ท่ีไมแ่ ข็งแรงใหต้ ัดกงิ่ กา้ นออกประมาณ 20 % นอกจากการตัดแต่งกิ่งแลว้ การทาให้
ใบร่วงจะทาใหร้ ะยะการเกบ็ เกย่ี วส้นั ลง และการปลิดผลทิ้งใหเ้ หลือประมาณ 2 - 6 ผล ตอ่ กง่ิ จะ
จาเปน็ ในสวนทผ่ี ลิต เพือ่ บริโภคผลสด แตถ่ ้าจะให้ไดผ้ ล ท่ีมีขนาดใหญ่และมีคณุ ภาพดี ควรใหเ้ หลอื
เพียง 1 ผล เทา่ น้ัน

การปลกู ฝร่งั
หลงั จากทเ่ี ลอื กพนื้ ทป่ี ลูกได้แลว้ ถ้าต้องการจะปลูกเป็นสวนกค็ วรจะจัดระยะปลกู ระหวา่ งแถว

และระหว่างตน้ ประมาณ 3 x 3 เมตรในเนื้อที่ 1 ไร่ จะปลกู ไดป้ ระมาณ 160 ตน้
การเตรยี มดิน

การปลูกฝรงั่ ในพื้นทลี่ ่มุ น้าทว่ มถงึ ควรทาการยกร่องปลูก โดยยกรอ่ งให้มีขนาดความกวา้ งของ
หลงั รอ่ งประมาณ 6 เมตร มคี ูนา้ กวา้ งประมาณ 1.5 เมตร ความยาวของสนั ร่องแลว้ แต่พ้ืนที่ ความสงู

11

ไม่จากัด แต่ถา้ เป็นที่ดอนไมจ่ าเปน็ ตอ้ งยกรอ่ ง จากน้นั ก็ปรับปรงุ ดนิ โดยการตากดินเพื่อฆ่าเชอื้ โรค
และเมลด็ วัชพืช ใส่ป๋ยุ คอกและปยุ๋ หมกั ในปริมาณเทา่ ๆ กัน อัตราปยุ๋ 1 สว่ นต่อดิน 2 สว่ น เพอื่ ใหด้ ิน
รว่ นซยุ

วธิ ีปลูก
หลงั จากเตรียมหลมุ ปลูกเรียบร้อยแลว้ ให้นาก่ิงพนั ธ์ุที่ชาไปปลกู ลงในหลุม กลบดินให้แน่น

พอสมควร แลว้ ใชไ้ ม้ปักเปน็ หลกั ผกู กันลมโยกและรดน้าทนั ที จากนัน้ ใชท้ างมะพร้าวมาคลมุ พราง
แสงแดดใหแ้ ก่ต้นฝรง่ั จนกว่าต้นฝร่งั จะตง้ั ตัวได้

การเตรยี มหลุมปลกู
ขนาดของหลมุ ปลูกควรกว้าง 0.5 เมตร ยาว 0.5 เมตร และลึก 0.5 เมตร ทจ่ี าเป็นตอ้ งขุดหลุม

กว้างเพื่อเปลี่ยนสภาพดินในหลมุ ใหด้ ขี ้นึ ดงั น้ี
1. ควรขดุ ดนิ โดยแบง่ ออกเป็น 2 ส่วน คอื ดินบนและดินล่าง
- ดินบน เป็นส่วนทม่ี ีอนิ ทรยี ์วตั ถุมากอยูแ่ ล้ว ใหแ้ ยกไวส้ ว่ นหน่งึ
- ดนิ ลา่ ง คือดินทเ่ี มอ่ื ขดุ ลกึ ลงไปแลว้ พบวา่ ดนิ มีสีจางลงเปน็ ชน้ั ท่ีไม่มีอินทรยี ์วตั ถุ
2. ตากดนิ ไว้ 10-15 วนั เพ่ือใหแ้ สงแดดส่องฆ่าเช้อื โรคในหลุมปลกู และในดนิ
3. กลบดนิ บนลงในหลมุ
4. ผสมป๋ยุ อนิ ทรยี ห์ รอื ปุ๋ยหมัก 1 ส่วนต่อดนิ ลา่ ง 2 สว่ น และรองกน้ หลุมดว้ ยปยุ๋ รอ๊ ค
ฟอสเฟต 0.50 กโิ ลกรมั แลว้ จึงกลบลงไปในหลุมทบั ชั้นดนิ บน จนมีระดับสงู กว่าระดบั พื้นดินธรรมดา
ประมาณ 10 เซนตเิ มตร การทต่ี อ้ งกลบดนิ ใหส้ งู กว่าระดับดนิ เดิมนัน้ เพื่อท่ีเมือ่ เวลาปลูกแลว้ ดนิ จะ
ยุบตัวลงเล็กนอ้ ย ซึ่งจะทาให้พอดีกบั ระดับดนิ เดมิ ถา้ ไมเ่ ผอื่ ไว้จะเปน็ แอ่งและมนี ้าขังทาใหร้ ากเนา่
ตายได้

12

การหอ่ ผล
ประโยชนข์ องการห่อผลนอกจากจะช่วยป้องกนั กาจัดโรคและแมลงศัตรฝู รง่ั แลว้ ยังทาใหผ้ ลฝรง่ั

มผี ิวสวยน่ารับประทาน วิธกี ารหอ่ ผลฝร่งั โดยส่วนใหญจ่ ะใช้ถงุ พลาสติกหรือใช้กระดาษหนังสอื พิมพ์
หอ่ ก่อนแลว้ จึงสวมถงุ พลาสติกทบั อีกชั้นหน่งึ โดยจะเรม่ิ ห่อผลฝรัง่ เมือ่ มขี นาดเท่าลกู มะนาวหรือหลัง
ดอกบานแลว้ 1 เดือน ก่อนห่อควรพน่ สารเคมปี ้องกนั กาจัดเช้อื ราและแมลงทผี่ ลฝรั่งเสียก่อน

การขยายพนั ธุ์ฝรง่ั
ฝรั่งสามารถเจรญิ เตบิ โตไดด้ ีในทุกสภาพดิน และทนต่อความแลง้ และน้าขังไดเ้ ลก็ นอ้ ย แต่

โดยทวั่ ไปมกั ชอบเจรญิ เติบโตไดด้ ใี นดนิ รว่ นปนทราย ที่มสี ภาพพืน้ ท่ีมกี ารระบายนา้ ดี สามารถให้
ผลผลติ ได้ประมาณ 1 ปหี ลงั ปลูก ผลสามารถเก็บได้ในชว่ ง 4-5 เดอื น หลงั ติดดอก โดยทวั่ ไปจะให้
ผลได้ในช่วงปลายฤดูแลง้ ถึงต้นฤดูฝน คือ ชว่ งเดือนมนี าคม-มิถุนายน สาหรบั การขยายพันธฝ์ุ ร่งั
สามารถทาไดห้ ลายวธิ ี เชน่ การปลกู ดว้ ยเมล็ด การทาบก่งิ การติดตา การปักชา แต่วธิ ีที่นิยมมากทสี่ ุด
คอื การตอนกง่ิ

การเตรยี มดนิ และการเตรียมแปลง
สาหรบั การปลกู ฝรัง่ น้ัน สามารถทาได้ 2 รปู แบบตามสภาพพนื้ ท่ี คือ

1. พ้ืนท่ีดนิ เหนียว นา้ ท่วมขงั งา่ ย และมีระบบนา้ มากเกินพอ ให้ทาการขุดร่องลกุ ประมาณ 1 เมตร
กวา้ ง 1-2 เมตร เพ่ือเป็นแนวรอ่ งสาหรบั การให้น้า การเตรียมแปลง และการปลกู ในลักษณะนมี้ ักพบ
ในพืน้ ทล่ี มุ่ ภาคกลางเปน็ สว่ นใหญ่

13

2. พน้ื ท่ีท่ัวไปท่มี ีระบบนา้ ไม่เพยี งพอ สามารถปลกู ในแปลงโดยไมย่ กร่องหรอื การยกร่องสูงประมาณ
30 ซม. ระยะห่างระหวา่ งร่องประมาณ 3-4 เมตร ทงั้ นี้ ให้ทาการไถดะ 1 ครั้ง เพอื่ ตากดนิ และกาจดั
วัชพชื และไถแปร 1 คร้งั โดยเวน้ ช่วงห่างประมาณ 1-2 อาทติ ย์ หลังจากน้นั ทาการไถยกรอ่ ง

สว่ นวิธีการปลูกฝร่ัง มีดังนี้
• ใชก้ ่งิ พนั ธ์ุจากการตอนหรอื การปกั ชา
• ขุดหลมุ ปลูก กว้าง ลกึ ขนาด 50×50 เซนตเิ มตร แต่ละหลุมห่างกันประมาณ 3 เมตร
ระยะหา่ งระหว่างแถวประมาณ 3-4 เมตร หรือตามขนาดระยะหา่ งของรอ่ ง
• รองพ้ืนด้วยปยุ๋ คอกหรือมูลสัตว์ประมาณ 0.5 กโิ ลกรัม/หลมุ หรอื ขนาด 1 พลัว่ ตัก พรอ้ ม
คลุกดนิ ผสมก้นหลุมให้สงู ประมาณ 1 ฝา่ มือ ท้ังน้ีอาจผสมปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-8 ในอตั รา 1
กามือ/หลมุ ก็ได้
• นากงิ่ พันธ์ุ จากการตอนหรอื การปกั ชาลงหลมุ ปลูก โดยกลบดินสูงเหนอื ปากหลุมเล็กน้อย
ทั้งน้ีควรให้ดินกลบเหนือเขตรากสงู ประมาณ 10-15 เซนตเิ มตร
• ใช้หลกั ไมป้ ักหลุม และผกู เชือกยึดลาตน้
• เม่อื ปลูกเสรจ็ ควรใหน้ า้ ให้ชุ่มทนั ที
การใหน้ ้าเรมิ่ ใหน้ ้าครงั้ แรกหลงั การปลูกเสรจ็ ใหเ้ ปยี กชุ่ม หลังจากน้นั ให้นา้ ทุก 2 คร้ัง/วัน

เช้า-เย็น จนตน้ ฝรั่งตั้งตัวได้ โดยอาจเลือกใชร้ ะบบการให้น้าที่มปี ระสิทธิภาพ หลังจากน้ันอาจทาการ
ให้นา้ นอ้ ยลง ขึ้นอยู่กับสภาพดินฟ้าอากาศ และความชมุ่ ช้ืนของดิน ซึ่งไม่ควรปลอ่ ยให้ดินแห้ง ขาดน้า
โดยเฉพาะในชว่ งติดผล แตใ่ นชว่ งตดิ ดอกไมค่ วรให้น้ามากซึ่งในชว่ งนเ้ี พียงแคร่ ะวงั ไม่หน้าดินแหง้ ก็
เพียงพอ

โดยสายพันธ์ขุ องฝรั่งทไี่ ด้รับความนิยมในปัจจบุ ัน เชน่ พันธ์ุ แปน้ สีทอง , พันธุ์กิมจู , พนั ธุ์
กลมสาลี่ , พนั ธุ์ไรเ้ มล็ด , พนั ธเ์ุ วยี ดนาม เป็นตน้

14

แมลงศัตรูฝร่ัง
แมลงวันผลไม้

ลกั ษณะการเขา้ ทาลาย

ความเสยี หายของแมลงวนั ผลไมม้ ักจะเกิดขนึ้ เมอ่ื เพศเมยี ใช้อวัยวะวางไข่ (ovipositor) แทงเข้าไปใน
ผลฝร่ังที่ใกลส้ กุ ตวั หนอนที่ฟักจากไขจ่ ะอาศยั และชอนไชอยูภ่ ายใน ทาใหผ้ ลเนา่ เสยี และรว่ งหลน่ ลง
พน้ื ในระยะเร่มิ แรกจะสังเกตได้ยากอาจพบอาการช้าบริเวณใต้ผิวเปลือก เมื่อหนอนโตขึ้นเรอ่ื ย ๆ จะ
ทาให้ผลเน่าเละและมนี า้ ไหลเย้ิมออกทางรทู ่ีหนอนเจาะออกมาเพอ่ื เข้าดักแดใ้ นดนิ

การควบคุมและป้องกัน

1. ทาความสะอาดบริเวณแปลงเพาะปลูก โดยการรวบรวมผลไม้ทเ่ี น่าเสยี จากการถกู แมลงวนั
ผลไม้เข้าทาลายโดยการ

นาไปทาน้าหมักชวี ภาพหรอื ฝังดินท่ีความลึก 50 ซม. ขึน้ ไป

2. การหอ่ ผล โดยทว่ั ไปจะเร่มิ ห่อผลฝรงั่ เมื่อมีขนาดเท่าลูกมะนาว หรอื หลงั ดอกบานแล้ว 1
เดอื น หอ่ ให้มดิ ชดิ ไมใ่ ห้มีรู

หรือรอยฉีกขาดเกดิ ขนึ้ มฉิ ะน้ันแมลงจะเขา้ ไปวางไข่ได้

3. ใชส้ ารล่อเมทลิ ยจู นิ อลร่วมกับสารเคมกี าจดั แมลง อตั ราส่วน 3 : 1 โดยปรมิ าตร ในกบั ดกั
สารลอ่ เพ่ือใชล้ อ่ แมลงวนั

ผลไม้เพศผู้

4. การใชเ้ หย่อื พิษ โดยการนาเอายสี ต์โปรตนี ออโตไลเสท หรือโปรตีนไฮโดรไลเสทมาเปน็
เหย่ือล่อแมลงวันผลไม้

15

โดยใช้ยีสตโ์ ปรตีนออโตไลเสท หรอื โปรตนี ไฮโดรไลเสท 800 ซซี ี ผสมกับสารเคมีกาจัดแมลง จานวน
280 ซซี ี ผสมน้า 20 ลติ ร โดยสามารถนาไปใช้ได้ 2 วิธี ดังน้ี

- บรรจุลงภาชนะ แล้วนาไปแขวนตามทต่ี า่ งๆ ทีส่ าคัญต้องแขวนใหส้ งู พ้นมือเด็ก
- ฉดี พน่ โดยใชห้ วั ฉดี ขนาดใหญ่ให้สารละลายเหยื่อพิษทฉ่ี ดี ออกมาเปน็ หยด ขนาด 4 - 5 มม.
ประมาณ 80 หยด
ต่อพื้นท่ี 1 ตร.ม. ส่วนผสมน้สี ามารถนาไปพน่ แบบเปน็ จุด 2 - 4 จุดต่อตน้ อัตราท่ใี ช้ 150 - 350 ซี
ซี ตอ่ ไม้ผล 1 ต้น ขึ้นอยู่กบั ขนาดของตน้ จะสามารถดึงดูดไดท้ ง้ั แมลงวนั ผลไม้ ตวั ผ้แู ละตวั เมยี

เพล้ียแปง้

ลกั ษณะการทาลาย
จะดูดกินน้าเล้ียงตามใบอ่อน ก่งิ อ่อน และช่อดอกทาให้แห้งเฉาหรือใบผิดรูปรา่ งและผลผลิตลดลง

การควบคุมและป้องกัน
พน่ ดว้ ยคารโ์ บซลั แฟน 20% อีซี อัตรา 50 มล. ตอ่ น้า 20 ลิตร หรือคาร์บารลิ 85% ดับบลิวพี

อัตรา 60 กรัม ต่อนา้ หรือ อิมิดาโคลพรดิ 10% เอสแอล อัตรา 10 มล. ต่อนา้ 20 ลิตรอยา่ งใดอย่าง
หนง่ึ สลับกนั

16

โรคที่สาคญั ของฝร่ัง

1. โรคจดุ สนิม เกิดจากเชือ้ ราเขา้ ทาลายใบ โดยจะเห็นจุดขนาดเลก็ เริ่มจากจุดสเี ขียวแลว้ ค่อย
ๆ เปลี่ยนเป็นสีสนิมเหล็กและเป็นขุยคล้ายกามะหย่ี ถ้าเป็นทกี่ ่ิงจะทาให้เปน็ ขยุ และก่งิ แตกแหง้ ตาย

การปอ้ งกัน ใช้สารเคมีป้องกันกาจดั เชอ้ื รา เชน่ มาแนบและซีแนบ หากเป็นทีก่ ิ่งอาจใชส้ ารเคมี
ดงั กลา่ วผสมในปนู แดงข้น ๆ ทาบรเิ วณท่ีเปน็ โรค

2. โรคแอนแทรคโนส เกิดจากเชอ้ื ราเข้าทาลายผลอ่อน ผลสุกและใบ อาการบนใบจะเห็นเป็น
จดุ สนี ้าตาลเล็ก ๆ แผลอาจทะลุ ถา้ เปน็ ทผี่ ลอ่อนจะทาให้มีสนี า้ ตาลและเน่าแห้งไปในทส่ี ดุ แต่ถ้าเป็น
ระยะผลสกุ หรอื ใกล้สกุ จะเกิดแผลเน่าสนี ้าตาล อาการจะลุกลาม แผลจะบุ๋มลงเล็กน้อยมจี ้าสีคลา้
และเมือกสีแสดปรากฏใหเ้ หน็

การปอ้ งกัน ใชส้ ารเคมีป้องกันกาจัดเชอ้ื รา เช่น บีโนมิล แคปแทน โดยพ่นสารเคมกี ่อนเกบ็ ผล 1
เดือน

ประโยชน์ของฝรง่ั

ฝรงั่ เปน็ ผลไมเ้ พอื่ สขุ ภาพท่ีเหมาะมากสาหรับผ้ทู ี่ต้องการลดความอ้วน ลดนา้ หนัก หรอื ผทู้ ี่
กาลงั ควบคุมน้าหนัก เน่ืองจากฝรงั่ อดุ มไปด้วยกากใยอาหาร เมื่อรบั ประทานแลว้ จะทาให้อิ่มนาน
ชว่ ยกาจัดทอ้ งร้องอาการหิวที่คอยมากวนใจ เพราะกากใยจะชว่ ยรักษาระดับนา้ ตาลในเลือดให้คงที่
ช่วยปรับระดับการใช้อินซลู ินของร่างกายให้เหมาะสม และกากใยยังช่วยลา้ งพิษโดยรวบได้อกี ดว้ ย จงึ
สง่ ผลทาให้ผวิ พรรณดเู ปล่งปล่งั สดใส สาหรบั คณุ คา่ ทางดา้ นอาหารของฝรงั่ นัน้ ในปริมาณ 100
มลิ ลกิ รัม ฝรั่งจะอดุ มไปดว้ ยวิตามินซีถึง 160 มลิ ลิกรัม และวิตามนิ อ่นื อีกอยา่ งละเลก็ อย่างละน้อย
เชน่ วิตามินเอ แคลเซียม ฟอสฟอรสั เหลก็ วติ ามนิ บี 1 และวติ ามินบี 2

17

ซ่งึ หลายๆ คน อาจยงั ไม่ทราบว่าฝร่งั มวี ติ ามินมากกวา่ ส้มเขยี วหวานถึง 9 เทา่ ซงึ่ เพียงพอต่อความ
ตอ้ งการของร่างกายในแตล่ ะวนั ประมาณ 30-60 มิลลิกรมั โดยวิตามนิ ซจี ะมมี ากบรเิ วณเปลือก จงึ ไม่
ควรปอกเปลือกท้ิง เพยี งแต่ต้องล้างน้าให้สะอาดก่อนรับประทาน
ฝรัง่ มีเส้นใยอาหารสงู ช่วยทาความสะอาดระบบขับถ่าย จึงลดโอกาสเส่ียงจากการเปน็ โรคมะเร็งลาไส้
ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอล และลดความดนั โลหิตได้ ท้ังยังมสี ารฟลาโวนอยด์ซ่ึงเปน็ สารตา้ นอนมุ ูล
อิสระทชี่ ว่ ยป้องกันมะเรง็ ได้อีกทางหนงึ่

ประโยชน์ของฝร่ัง
1. มสี ารต่อต้านอนมุ ูลอิสระสูงมากซึ่งช่วยในการชะลอวยั และร้วิ รอยต่าง ๆไดด้ ี
2. ชว่ ยเสริมสร้างภมู ติ ้านทานให้กับรา่ งกาย
3. ชว่ ยบารงุ ผวิ พรรณให้เปล่งปลง่ั สดใส ปกป้องผิวหนงั จากอนุมลู อสิ ระต่าง ๆ
4. เปน็ ผลไม้ทีเ่ หมาะสาหรับผทู้ ่ีต้องการลดความอว้ น ลดน้าหนักหรือควบคุมนา้ หนัก
5. ชว่ ยลดไขมันในเลือด
6. สรรพคุณของฝรง่ั ช่วยปอ้ งกนั และลดความเสี่ยงจากการเกิดโรคมะเรง็
7. ใช้รกั ษาโรคอหวิ าตกโรค
8. ชว่ ยรักษาโรคความดนั โลหติ สูง
9. ช่วยรักษาโรคเบาหวาน
10. ชว่ ยปอ้ งกันอาการผิดปกตขิ องหวั ใจได้

18

11. ใบฝรั่งใชใ้ นการดบั กลน่ิ ปาก ด้วยการนาใบสด 3-5 ใบมาเคี้ยวแลว้ คายกากทิ้ง
12. ผลออ่ นช่วยบารงุ เหงือกและฝัน
13. ใบฝรง่ั ชว่ ยบรรเทาอาการปวดฟัน เหงือกบวม
14. ชว่ ยรกั ษาโรคลกั ปิดลักเปดิ หรือโรคเลือดออกตามไรฟันได้
15. รากใชแ้ ก้อาการเลือดกาเดาไหล
16. น้าต้มผลฝรง่ั ตากแหง้ ช่วยรักษาอาการเสียงแหง้ แก้คออักเสบ
17. นา้ ตม้ ใบฝร่ังสดช่วยรกั ษาอาการท้องเสีย ป้องกันโรคลาไสอ้ ักเสบ
18. ใบชว่ ยรักษาอาการท้องเดนิ ท้องรว่ ง
19. ชาที่ทาจากใบอ่อนใช้สาหรบั รักษาโรคบดิ
20. ผลสกุ ใชท้ านเป็นยาระบาย แก้อาการท้องผูก
21. ชว่ ยลา้ งพิษโดยรวมในร่างกาย
22. ใบชว่ ยแก้อาการปวดเนือ่ งจากเล็บขบ
23. ใช้ทาแก้ผ่นื คัน แผลพุพองได้
24. ใบใช้แก้แพ้ยงุ
25. ใบฝร่ังใช้รกั ษาบาดแผล
26. ใบใช้เป็นยาล้างแผล ดูดหนอง ถอนพิษบาดแผล แก้พษิ เร้อื รงั น้ากดั เทา้
27. รากใชแ้ ก้น้าเหลอื งสี เปน็ ฝี แผลพุพอง
28. ใชใ้ นการห้ามเลือด ด้วยการใชใ้ บมาตาให้ละเอยี ดแลว้ นามาพอกบริเวณที่มเี ลือดออก (ควร
ล้างใบให้สะอาดก่อน)
29. ชว่ ยในการดับกลิน่ สาบจากแมลงและซากหนทู ี่ตาย ดว้ ยการใช้ฝรง่ั สกุ 2-3 ลูกวางทิ้งไว้ใน
รัศมีของกลน่ิ กล่นิ ดังกลา่ วก็จะค่อย ๆหายไป
30. การรบั ประทานฝรงั่ จะชว่ ยขจัดคราบอาหารบนตวั ฟันได้
31. เปลือกของต้นฝรั่งนามาใชท้ าสยี ้อมผ้า

19

32. นยิ มนาไปแปรรูปเป็นผลิตภณั ฑ์ตา่ ง ๆ เชน่ ฝร่ังดอง ฝร่งั แชบ่ ว๊ ย พายฝรง่ั และขนมอีก
หลากหลายชนิด
33. นามาใช้ทาเป็นยาแคปซูลแก้ท้องเสียจากใบฝร่ัง ผลติ โดยองคก์ ารเภสชั กรรม ซ่ึงบรรจแุ คปซูล
ละ 250 มลิ ลกิ รัม

คณุ คา่ ทางโภชนาการของฝรง่ั ตอ่ (165 กรัม) คือ
• พลงั งาน 112 กิโลแคลอรี
• เสน้ ใยอาหาร 8.9 กรมั
• โปรตีน 4.2 กรมั
• ไขมัน 1.6 กรัม
• คาร์โบไฮเดรต 23.6 กรัม
• วติ ามนิ เอ 1030 IU
• วติ ามินซี 377 มิลลกิ รัม
• วติ ามินบี 1 0.1 มิลลกิ รัม
• วิตามินบี 2 0.1 มลิ ลิกรมั
• วิตามนิ บี 3 1.8 มลิ ลิกรมั
• กรดโฟลกิ 81 ไมโครกรัม
• ธาตแุ คลเซยี ม 30 มิลลกิ รมั
• ธาตฟุ อสฟอรสั 66 มลิ ลิกรัม
• ธาตเุ หลก็ 0.4 มิลลกิ รมั
• ธาตโุ พแทสเซียม 688 มิลลกิ รัม
• ธาตทุ องแดง 0.4 มิลลกิ รมั

20

ข้อแนะนาและขอ้ ควรระวัง
คาแนะนา : การรบั ประทานฝร่งั ไม่ควรจะปอกเปลอื กทงั้ นีเ้ พอื่ คงคุณคา่ ของสารอาหาร และไม่

ควรรบั ประทานมากจนเกนิ ไป ถ้าเปน็ ไปไดไ้ มค่ วนรบั ประทานรว่ มกับพรกิ เกลือน้าตาลหรืออ่นื ๆ
เพราะนอกจากจะไม่มปี ระโยชนแ์ ลว้ ยงั ทาให้เราอว้ นข้ึนอกี ด้วย
1. การรับประทานฝรั่งสดไม่ควรปอกเปลือกเพราะอาจทาให้เสยี คุณคา่ ของสารอาหารหรือสาร
ออกฤทธ์ใิ นผิวฝร่ังได้
2. สตรีมคี รรภ์ไมค่ วรรับประทานฝร่งั มากเกินไปเพราะอาจทาใหม้ ีผลตอ่ ระบบการยอ่ ยอาหาร
3. การรับประทานฝร่งั ไม่ควรรับประทานมากจนเกนิ ไปเพราะอาจทาให้เกิดอาการไม่พึง
ประสงค์ได้ เชน่ ทอ้ งอดื ท้องผกู

บรรณานุกรม

ฌาณิยา ช่วยชูกล่ิน.2564.ประวตั ิและที่มาของฝร่ังกิมจู.สืบค้นจาก:
https://sites.google.com/site/withiplukfrangkimcucakchaniya/prawati-laea-

thima-khxng-frang-kim-cu ( 13 สงิ หาคม 2564)

นริ นาม.2564.ฝรงั่ ประโยชน์ดๆี สรรพคณุ เด่นๆและข้อมูลงานวจิ ัย.สืบคน้ จาก:
https://www.disthai.com/16941150/%E0%B8%9D%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E

0%B9%88%E0%B8%87?fbclid= ( 13 สิงหาคม 2564)

โรงพยาบาลกรุงเทพตราด.2562.ฝรั่ง สรรพคุณและประโยชนข์ องฝรงั่ 33 ข้อ !.สบื คน้ จาก:
https://www.bth.co.th/th/news-health-th/item/295-guava.html ( 13 สงิ หาคม

2564

มาตราฐานสินคา้ เกษตร

มาตรฐานสนิ คา เกษตร

มกษ. 16-2553

THAI AGRICULTURAL STANDARD

TAS 16-2010

ฝรัง่

GUAVA

สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ

ICS 67.080.10 ISBN 978-974-403-658-2

มาตรฐานสนิ คา เกษตร

มกษ. 16-2553

THAI AGRICULTURAL STANDARD

TAS 16-2010

ฝรัง่

GUAVA

สํานกั งานมาตรฐานสนิ คา เกษตรและอาหารแหง ชาติ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ

50 ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
โทรศพั ท 0 2561 2277 โทรสาร 0 2561 3357

www.acfs.go.th

ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา ฉบบั ประกาศและงานท่ัวไป เลม 127 ตอนพเิ ศษ 147 ง
วันท่ี 21 ธันวาคม พทุ ธศักราช 2553

(2)

คณะกรรมการวิชาการพจิ ารณามาตรฐานสินคาเกษตร เรื่อง ฝรัง่

1. นายสมชาย วฒั นโยธนิ ประธานกรรมการ
กรมวชิ าการเกษตร

2. นายกสิ ณะ ตนั เจรญิ กรรมการ
กรมสง เสรมิ การเกษตร

3. นายกรกฎ ชยุตรารัตน กรรมการ
กรมสง เสรมิ สหกรณ

4. นางสาวนลนิ ทิพย เพณี กรรมการ
สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ

5. นายทวศี ักด์ิ แสงอุดม กรรมการ
สถาบนั วจิ ัยพืชสวน กรมวชิ าการเกษตร

6. นางสาวเบญจมาส รัตนชินกร กรรมการ
สาํ นักวจิ ัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเกบ็ เกี่ยวและแปรรูปผลติ ผลเกษตร
กรมวชิ าการเกษตร

7. รองศาสตราจารยอุณารุจ บญุ ประกอบ กรรมการ
คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน

8. นายเทอดพงษ คณารักษ กรรมการ
สภาหอการคาแหงประเทศไทย

9. นางอารยา เผาเหลืองทอง กรรมการ
สมาคมผคู า ปลีกไทย

10. นายไพบลู ย วงศโ ชติสถิต กรรมการ
สมาคมผคู า และสงออกผลไมไ ทย

11. รองศาสตราจารยวิจิตร วังใน กรรมการ
สมาคมพชื สวนแหง ประเทศไทย

12. รองศาสตราจารยฉลองชัย แบบประเสริฐ กรรมการ

13. นายประยรู วสิ ทุ ธไิ พศาล กรรมการ

14. นายสมศกั ด์ิ บญุ ยนื กรรมการ

15. นางชุตวิ รรณ จัตตพุ รพงษ กรรมการและเลขานกุ าร
สํานักมาตรฐานสินคาและระบบคุณภาพ
สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ

(3)

ผลฝร่ังเปนสินคาเกษตรทีป่ ระเทศไทยมีศักยภาพในการผลิตและสงออก การกําหนดมาตรฐานผลฝร่ัง
จึงมีความสําคัญท่ีสงเสริมและพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัย สรางความเชื่อถือใหเปนที่ยอมรับ
ทง้ั ในประเทศและการคาระหวางประเทศ คณะกรรมการมาตรฐานสินคาเกษตร จึงเห็นควรจัดทํามาตรฐาน
ฝรง่ั ขนึ้

มาตรฐานสินคาเกษตรนี้ กาํ หนดขนึ้ โดยใชเ อกสารตอไปนเ้ี ปน แนวทาง

CODEX STAN 215-1999. Codex Standard for Guavas. Joint FAO/WHO Food Standard Programme,
FAO, Rome.



มกษ. 16-2553

มาตรฐานสินคาเกษตร

ฝรง่ั

1 ขอบขาย

มาตรฐานสินคาเกษตรนี้ ใชกับฝร่ัง (guava) พันธุท ีผ่ ลิตเปนการคา มีชือ่ วิทยาศาสตรวา Psidium guajava L.
วงศ Myrtaceae สาํ หรบั บริโภคสด

2 คณุ ภาพ

2.1 คณุ ภาพข้ันต่ํา

2.1.1 ผลฝร่งั ทุกชน้ั คุณภาพตองมีคุณภาพดังตอไปน้ี เวนแตจะมีขอกําหนดเฉพาะของแตละชัน้ คุณภาพ
และเกณฑค วามคลาดเคลือ่ นทยี่ อมใหม ีไดตามทรี่ ะบไุ ว
(1) เปน ฝรัง่ ทงั้ ผล
(2) มีเน้ือแนน
(3) ไมเนา เสยี หรือเสือ่ มคุณภาพ และไมม รี อยชา้ํ ท่ที ําใหไ มเหมาะกับการบริโภค
(4) สะอาด และปราศจากสง่ิ แปลกปลอมทม่ี องเหน็ ได
(5) ไมม ศี ตั รพู ชื ทีม่ ีผลกระทบตอ ลกั ษณะทว่ั ไปของผลฝร่ัง
(6) ไมม คี วามเสยี หายของผลฝรั่งเนื่องจากศัตรพู ืช
(7) ไมม คี วามผดิ ปกติของความช้ืนจากภายนอก โดยไมรวมถึงหยดน้าํ ทีเ่ กิดหลังจากการนําผลิตผลออก
จากหอ งเยน็
(8) ไมม กี ลน่ิ แปลกปลอม และ/หรอื รสชาติทผี่ ดิ ปกติ

2.1.2 ผลฝร่ังตองแกไดท่ี 1/ และไดรับการเก็บเกี่ยว การจัดการหลังการเก็บเกีย่ ว การบรรจุและการ
ขนสง อยางระมัดระวงั เพอื่ ใหอยูในสภาพท่ยี อมรับไดเ มื่อถงึ ปลายทาง

1/ แกไ ดที่ หมายถงึ อายุการเก็บเก่ยี วของผลฝรัง่ ท่เี หมาะสมตามความตองการของตลาด โดยคํานึงถึงพันธุ
และแหลง ปลูก เชน ตลาดตา งประเทศ ผลฝรั่งควรมคี วามแกระหวาง 70% ถึง 80% และตลาดในประเทศ
ผลฝรงั่ ควรมีความแกระหวาง 80% ถงึ 90%

มกษ. 16-2553 2

2.2 การแบงชน้ั คุณภาพ

ผลฝรง่ั ตามมาตรฐานนี้ มี 3 ชัน้ คุณภาพ ดังนี้

2.2.1 ช้นั พิเศษ (extra class)
ผลฝร่งั ในช้นั นต้ี องมคี ุณภาพดีที่สุด มีลักษณะตรงตามพันธุ มีขัว้ ผล ผลไมมีตําหนิ ยกเวนตําหนิเล็กนอยที่
ไมชัดเจน ซ่ึงไมมีผลกระทบตอลักษณะทั่วไปของผลฝรั่ง คุณภาพการเก็บรักษา และการจัดเรียงเสนอใน
ภาชนะบรรจุ

2.2.2 ชัน้ หนงึ่ (class I)
ผลฝรั่งในช้ันน้ีตองมีคุณภาพดี มีลักษณะตรงตามพันธุ มีขั้วผล ผลมีตําหนิไดเล็กนอย ซึง่ ไมมีผลกระทบ
ตอลกั ษณะทวั่ ไปของผลฝรั่ง คุณภาพการเกบ็ รกั ษา และการจัดเรียงเสนอในภาชนะบรรจุ ดงั ตอไปนี้
(1) ตาํ หนิเลก็ นอ ยดา นรปู ทรง และสี
(2) ตําหนิเล็กนอยทีผ่ ิว ซึง่ เกิดจากการเสียดสี หรือรอยไหมจากแสงแดด (แดดเผา) และรอยดาง
โดยขนาดของตําหนิโดยรวมตอ งไมเ กนิ 5% ของพนื้ ที่ผิวผลฝรงั่ ทั้งหมด
ตําหนิตองไมม ผี ลกระทบตอเน้ือฝรัง่ ไมวาในกรณีใดก็ตาม

2.2.3 ช้นั สอง (class II)
ผลฝรั่งในช้ันนี้รวมผลฝรั่งทีม่ ีคุณภาพไมเขาชัน้ คุณภาพที่สูงกวา แตมีคุณภาพขั้นต่ําตามทีก่ ําหนดในขอ
2.1 ผลฝร่งั ในชนั้ นี้มตี าํ หนิ ดงั ตอ ไปนี้
(1) ตําหนดิ า นรปู ทรง และสี
(2) ตําหนทิ ผ่ี วิ ซงึ่ เกดิ จากการเสยี ดสี หรือรอยไหมจากแสงแดด (แดดเผา) และรอยดาง โดยขนาดของ
ตาํ หนิโดยรวมตองไมเกนิ 10% ของพ้นื ที่ผวิ ผลฝร่ังท้ังหมด
โดยตาํ หนไิ มมีผลตอลกั ษณะท่ัวไปของผลฝรั่ง คุณภาพการเก็บรักษา และการจัดเรียงเสนอในภาชนะบรรจุ
รวมถึงตอ งไมม ผี ลกระทบตอเน้อื ฝร่งั ไมวา ในกรณีใดกต็ าม

3 ขนาด

ขนาดของผลฝรั่งพิจารณาจากน้าํ หนกั ผล ดงั น้ี

3 มกษ. 16-2553

ตารางท่ี 1 ขนาดของผลฝรั่ง2/

(ขอ 3)

รหสั ขนาด น้าํ หนักตอ ผล
(g)
1
2 > 450
3
4 > 350 - 450
5
6 > 250 – 350

> 200 – 250

> 150 - 200
100 – 150

หมายเหตุ

การแบง ช้ันคุณภาพและขนาดในมาตรฐานนี้ ใชในการพิจารณาในทางการคาโดยนําขอกําหนดการแบงชัน้
คุณภาพไปใชรวมกับขอกําหนดเรื่องขนาด เพื่อกําหนดเปนชัน้ ทางการคา ซ่ึงคูคาอาจมีการเรียกชื่อทาง

การคาท่ีแตกตา งกนั ขึ้นกบั ความตองการของคูค า หรือตามขอจาํ กดั ท่มี ีเนอ่ื งมาจากฤดูกาล

4 เกณฑค วามคลาดเคลอ่ื น

เกณฑความคลาดเคลอ่ื นเรื่องคุณภาพและขนาดที่ยอมใหมีไดในแตละภาชนะบรรจุ สําหรับผลฝรั่งทีไ่ มเขา
ชัน้ ทีร่ ะบุไวดงั นี้

4.1 เกณฑความคลาดเคลือ่ นเรือ่ งคุณภาพ

4.1.1 ชน้ั พิเศษ (extra class)
ไมเกิน 5% โดยจํานวนหรือน้าํ หนักของผลฝรั่งทีม่ ีคุณภาพไมเปนไปตามขอกําหนดของชัน้ พิเศษ แตเปนไป
ตามคุณภาพของชน้ั หน่ึง หรอื คุณภาพยังอยูใ นเกณฑค วามคลาดเคลื่อนของคณุ ภาพช้ันหนึง่

4.1.2 ชนั้ หนงึ่ (class I)
ไมเกิน 10% โดยจํานวนหรือน้ําหนักของผลฝรั่งทีม่ ีคุณภาพไมเปนไปตามขอกําหนดของชั้นหนึ่ง แตเปนไป
ตามคณุ ภาพของชน้ั สอง หรือคุณภาพยังอยใู นเกณฑค วามคลาดเคลือ่ นของคณุ ภาพชนั้ สอง

2/ ขอมูลจากผลการศึกษาโครงการศึกษาดัชนีชีว้ ัดคุณลักษณะสําคัญทีใ่ ชเปนเกณฑในการบงชี้คุณภาพ
การแบงชั้นคุณภาพ และการกําหนดรหัสขนาดของผักผลไม (มะละกอ ชมพู ฝร่ัง) ของสํานักงานมาตรฐาน
สนิ คา เกษตรและอาหารแหงชาติ ซงึ่ ไดร ับความรว มมือการดําเนนิ งานจากมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร

มกษ. 16-2553 4

4.1.3 ชั้นสอง (class II)
ไมเกิน 15% โดยจํานวนหรือน้าํ หนกั ของผลฝร่งั ทมี่ คี ณุ ภาพไมเปน ไปตามขอกําหนดของชั้นสอง หรือไมได
คณุ ภาพขนั้ ตํา่ ตามขอ 2.1 แตต อ งไมมีผลฝรัง่ ทเี่ นาเสีย ไมม รี อยชา้ํ หรือมีสภาพไมเ หมาะตอการบรโิ ภค

4.2 เกณฑค วามคลาดเคลอื่ นเรอื่ งขนาด

ผลฝร่ังทุกรหัสขนาด มีผลฝร่ังทีข่ นาดใหญหรือเล็กกวาชัน้ ถัดไปหนึง่ ชัน้ ปนมาไดไมเกิน 10% โดยจํานวน
หรือน้ําหนักของผลฝร่งั

5 การบรรจุ

5.1 ความสมาํ่ เสมอ

ผลฝรั่งที่บรรจุในแตละภาชนะบรรจุ ใหมีความสม่าํ เสมอทั้งในเรือ่ งพันธุ คุณภาพ ขนาด และสี กรณีที่
มองเห็นจากภายนอกภาชนะบรรจุ ผลฝรั่งสวนทมี่ องเห็นตองเปนตัวแทนของผลิตผลท้ังหมด

5.2 การบรรจุ

ใหบรรจุผลฝรั่งในลักษณะทีส่ ามารถเก็บรักษาผลฝร่ังไดเปนอยางดี วัสดุท่ีใชภายในภาชนะบรรจุตอง
สะอาด และมีคุณภาพ สามารถปองกันความเสียหายทีจ่ ะมีผลตอคุณภาพของผลฝรั่ง หากมีการใชวัสดุ
โดยเฉพาะกระดาษหรือตราประทับทีม่ ีขอกําหนดทางการคาสามารถทําได หากมีการพิมพหรือการแสดง
ฉลากตอ งใชห มึกพมิ พห รอื กาวทีไ่ มเ ปนพิษ

5.3 รายละเอียดภาชนะบรรจุ

ภาชนะบรรจุมีคุณภาพ ถูกสุขลักษณะ มีการถายเทอากาศทีด่ ี ไมมีกลิน่ และสิง่ แปลกปลอม มีคุณสมบัติ
ทนทานตอการขนสง และรักษาคุณภาพผลฝรงั่ ได

6 เครื่องหมายและฉลาก

6.1 ภาชนะบรรจทุ จี่ าํ หนายโดยตรงตอผูบรโิ ภค

มขี อ ความแสดงรายละเอียดท่ภี าชนะบรรจุผลฝรงั่ ใหเหน็ ไดงา ย ชดั เจน ไมเ ปนเทจ็ ดังตอ ไปน้ี
(1) ประเภทของผลิตผล
ใหระบขุ อ ความวา “ฝรง่ั ” และ/หรอื “ช่ือพันธฝุ ร่งั ”
(2) ช้นั คณุ ภาพ (ถา ม)ี

5 มกษ. 16-2553

(3) รหสั ขนาด ในกรณที ่มี กี ารคดั ขนาด
(4) นา้ํ หนกั สทุ ธเิ ปนกรัมหรอื กโิ ลกรมั
(5) ขอ มลู ผูผลิต ผูนาํ เขา และผจู ําหนา ย
ใหระบุชือ่ และที่ตั้งของสถานทีผ่ ลิต หรือแบงบรรจุ หรือจัดจําหนาย ทัง้ นี้อาจแสดงชือ่ และทีต่ ัง้ สํานักงาน
ใหญของผผู ลติ หรอื ผแู บงบรรจกุ ็ได กรณผี ลฝรั่งนาํ เขา ใหร ะบชุ ือ่ และทต่ี งั้ ของผูนําเขา
(6) ขอ มลู แหลง ผลติ
ใหร ะบุประเทศผูผ ลติ ยกเวน กรณผี ลฝรัง่ ทผ่ี ลติ เพ่อื จาํ หนายในประเทศ
(7) ภาษา
กรณีทีผ่ ลิตเพือ่ จําหนายในประเทศตองใชขอความเปนภาษาไทย กรณีที่ผลิตเพือ่ การสงออกใหแสดง
ขอ ความเปนภาษาตา งประเทศได

6.2 ภาชนะบรรจุทไี่ มไ ดจาํ หนา ยโดยตรงตอผูบริโภค

แตละภาชนะบรรจุมีขอความทีร่ ะบุในเอกสารกํากับสินคา ฉลาก หรือแสดงไวทีภ่ าชนะบรรจุ โดยขอความ
ตองอา นไดช ดั เจน ไมห ลุดลอก ไมเ ปนเทจ็ ดงั ตอไปน้ี
(1) ประเภทของผลติ ผล
ใหระบขุ อความวา “ฝรง่ั ” และ/หรอื “ช่ือพันธฝุ ร่ัง”
(2) ช้นั คุณภาพ
(3) รหสั ขนาด ในกรณีท่มี ีการคัดขนาด
(4) นา้ํ หนักสทุ ธเิ ปน กรมั หรือกิโลกรมั
(5) ขอมูลผูผลติ ผูนําเขา และผูจ าํ หนา ย
ใหระบุชื่อและที่ตั้งของสถานทีผ่ ลิต หรือแบงบรรจุ หรือจัดจําหนาย และหมายเลขรหัสขนาดสินคา (ถามี)
ทั้งนี้อาจแสดงชือ่ และทีต่ ั้งสํานักงานใหญของผูผ ลิต หรือผูแ บงบรรจุก็ได กรณีผลฝรั่งนําเขาใหระบุชือ่ และ
ท่ีตัง้ ของผนู ําเขา
(6) ขอ มลู แหลง ผลติ
ใหระบุประเทศผผู ลติ ยกเวนกรณีผลฝรั่งท่ีผลิตเพ่ือจําหนา ยในประเทศ
(7) ภาษา
กรณีทีผ่ ลิตเพือ่ จําหนายในประเทศตองใชขอความเปนภาษาไทย กรณีทีผ่ ลิตเพือ่ การสงออกใหแสดง
ขอความเปน ภาษาตา งประเทศได

มกษ. 16-2553 6

7 เครื่องหมายการตรวจสอบทางราชการ หรือเครื่องหมายรับรอง

ใหเปนไปตามหลักเกณฑและเงือ่ นไขที่คณะกรรมการมาตรฐานสินคาเกษตรกําหนด หรือใหเปนไปตาม
หลักเกณฑและเงอ่ื นไขของหนวยตรวจ หรอื หนว ยรบั รอง

8 สารปนเปอ น

ใหเปนไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 98 และฉบับที่ 273 ขอกําหนดของกฎหมายที่
เกยี่ วของ และขอกําหนดของมาตรฐานสินคา เกษตรทเี่ กีย่ วกับสารปนเปอ น

9 สารพิษตกคาง

ใหเปนไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 288 ขอกําหนดของกฎหมายที่เกี่ยวของ และ
ขอกําหนดใน มกษ. 9002 มาตรฐานสินคาเกษตร เรือ่ ง สารพิษตกคาง: ปริมาณสารพิษตกคางสูงสุด และ
มกษ. 9003 มาตรฐานสินคาเกษตร เรือ่ ง สารพิษตกคาง: ปริมาณสารพิษตกคางสูงสุดที่ปนเปอนจาก
สาเหตทุ ีไ่ มอาจหลีกเลีย่ งได

10 สขุ ลกั ษณะ

การเก็บเกี่ยว การปฏิบัติตอผลฝรัง่ ในขัน้ ตอนตางๆ รวมถึงการเก็บรักษา การบรรจุ และการขนสง ตอง
ปฏบิ ัติอยางถกู สุขลักษณะ เพือ่ ปองกนั การปนเปอนท่ีจะกอใหเ กิดอนั ตรายตอ ผูบ รโิ ภค

11 วธิ ีวเิ คราะหแ ละชักตัวอยา ง

ใหเปนไปตามขอกําหนดในกฎหมายที่เกี่ยวของและขอกําหนดของมาตรฐานสินคาเกษตรทีเ่ กี่ยวกับ
วิธวี ิเคราะหและชักตัวอยาง

7 มกษ. 16-2553

ภาคผนวก ก
ภาพแสดงผลฝรั่ง

ก.) พันธกุ ลมสาล่ี

ข.) พนั ธุสาล่ีทอง

ค.) พนั ธุก ิมจู
ภาพที่ ก.1 ตวั อยา งลกั ษณะผลฝรั่งพันธุตางๆ

มกษ. 16-2553 8

ก.) ตาํ หนิท่ยี อมรบั ได

ข.) ตาํ หนิทไ่ี มย อมรบั
ภาพที่ ก.2 ผลฝร่งั ที่มตี ําหนิซึ่งเกดิ จากรอยไหมจ ากแสงแดด (แดดเผา)

9 มกษ. 16-2553

ก.) ผลฝร่ังเปน โรคแอนแทรกโนส

ข.) ผลฝรงั่ มีแมลงศตั รพู ืชเขาทําลาย

ค.) ผลฝรัง่ เปน โรคบริเวณขว้ั ผล
ภาพท่ี ก.3 ผลฝร่งั ท่ีมคี วามเสยี หายจากศตั รพู ชื ซ่ึงไมย อมรับ

มกษ. 16-2553 10

ภาคผนวก ข
หนว ย

หนว ยและสัญลักษณท่ีใชในมาตรฐานน้ี และหนวยที่ SI (International System of Units หรือ Le Systéme
International d’ Unités) ยอมรับใหใ ชได มีดงั น้ี

รายการ ชือ่ หนวย สญั ลักษณหนว ย
มวล กรมั (gram) g


Click to View FlipBook Version