The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดกิจกรรมที่ 3 การลำเลียงสารผ่านเซลล์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jongth04, 2022-03-24 12:03:24

ชุดกิจกรรมที่ 3 การลำเลียงสารผ่านเซลล์

ชุดกิจกรรมที่ 3 การลำเลียงสารผ่านเซลล์



คํานํา

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรโู ดยใชกระบวนการสืบเสาะหาความรู หนว ยการเรยี นรูท ่ี 1
การรกั ษาดุลยภาพของสิ่งมชี ีวิต รายวิชาวทิ ยาศาสตร 1 ว31101 ชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 4
ชุดท่ี 3 เรอื่ งการลําเลียงสารผา นเซลล ประกอบดว ย กจิ กรรมยอย 1 กิจกรรม ไดแก

กจิ กรรมท่ี 3.1 เร่อื งการลําเลยี งสารเขา และออกจากเซลล
ชุดกจิ กรรมการเรยี นรูนี้ จดั ทําขนึ้ เพื่อใหนักเรียนใชเปนคมู ือประกอบกจิ กรรมการเรยี นรู
ซงึ่ เนนผเู รียนเปนสําคญั ประกอบดวย คมู ือนักเรียน แบบทดสอบกอนเรียน กิจกรรมการเรยี นรู
แบบทดสอบหลงั เรียน ในชุดกจิ กรรมเนน ใหนักเรยี นมีความรมู ที ักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
โดยการปฏิบัตกิ ารทดลอง มีปฏสิ มั พนั ธกับเพ่ือน มีรูปภาพประกอบทีส่ วยงามนา สนใจ
เนนกระบวนการทํางานกลมุ สามารถพฒั นาผเู รยี นใหมีความรู ความคิด ความเขาใจ มสี มรรถนะ
และคุณลักษณะท่พี งึ ประสงคอยางเตม็ ทต่ี ามศักยภาพ
ผจู ดั ทําหวงั เปน อยา งย่ิงวา ชุดกิจกรรมการเรียนรูดว ยกระบวนการสืบเสาะหาความรู
สําหรับนักเรียนเลม นจี้ ะมีประโยชน ชว ยพัฒนาผูเ รยี นใหมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชา
วิทยาศาสตร 1 ว31102 ไดเปน อยา งดแี ละสามารถนาํ ความรูไปใชประโยชนในชีวิต ประจาํ วันได
อยางมีคณุ คา

ดสุ ิตา แขงเพ็ญแข

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู เรอื่ งการลําเลยี งสารผานเซลล

สารบญั ข

เรื่อง หนา
คาํ นํา ก
สารบัญ ข
สารบญั ภาพ ค
คูม ือนักเรียน 1
แบบทดสอบกอ นเรยี น 3
บัตรคําส่ังท่ี 3 6
บตั รกจิ กรรมการเรียนรทู ี่ 3.1 เรอ่ื งการลําเลียงสารเขาและออกจากเซลล 7
แบบบันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรูท่ี 3.1 10
บตั รเนอื้ หาที่ 3.1 18
บัตรคําถามที่ 3.1 37
แบบฝก หัดที่ 3 39
แบบทดสอบหลังเรียน 40
กระดาษคาํ ตอบ 43
เอกสารอางองิ 44

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู เรอื่ งการลาํ เลียงสารผานเซลล

สารบัญภาพ ค

ภาพที่ หนา
3.1 การแพร 20
3.2 การแลกเปล่ยี นแกส ออกซิเจนและแกส คารบอนไดออกไซดในถงุ ลม 22
3.3 การออสโมซสิ ของนา้ํ ในเซลลเมด็ เลือดแดง 24
3.4 แสดงการออสโมซสิ ของน้ําออกจากตน ไมสดู ิน 26
3.5 เซลลเมด็ เลือดแดงในสารละลายท่ีมีความเขม ขนตางกนั 26
3.6 การแพรแบบฟาซลิ เิ ทต 28
3.7 การลาํ เลียงแบบใชพ ลังงาน 31
3.8 การลําเลยี งสารแบบเอกโซไซโทซิส 32
3.9 การลําเลียงสารแบบเอนโดไซโทซสิ 33
3.10 การลาํ เลียงสารแบบฟาโกไซโทซสิ 34
3.11 การนําสารเขาสเู ซลลโดยอาศัยตัวรับ 36

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู เรื่องการลําเลียงสารผานเซลล

1

คมู อื นกั เรียน

ชุดกิจกรรมการเรยี นรทู ี่ 3 เร่อื ง การลําเลยี งสารผานเซลล

คาํ ช้ีแจงสาํ หรบั นกั เรียน

1. ชุดกิจกรรมการเรยี นรูท ี่ 3 เร่อื งการลําเลยี งสารผา นเซลล ใชเวลา 4 ชวั่ โมง
2. นักเรียนจะไดรับส่ิงตางๆ ตอไปน้ี

2.1 คมู ือนักเรยี น
2.2 แบบทดสอบกอนเรยี น เร่ืองการลาํ เลยี งสารผา นเซลล
2.3 บัตรคําสัง่ ที่ 3 เร่ืองการลําเลยี งสารผานเซลล
2.4 บัตรกจิ กรรมการเรียนรูท ี่ 3.1 การลาํ เลียงสารเขา และออกจากเซลล

ตอนที่ 1 การแพร
ตอนที่ 2 การออสโมซสิ
ตอนท่ี 3 วางแผนการทดลองการแพรแบบออสโมซิส
2.5 แบบบันทกึ ผลกิจกรรมการเรยี นรทู ี่ 3.1
2.6 แบบประเมินกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร
2.7 บตั รเนือ้ หาท่ี 3.1
2.8 บัตรคําถามที่ 3.1
2.9 แบบฝก หดั ที่ 3
2.10 แบบทดสอบหลังเรียน
2.11 กระดาษคําตอบ
3. จดุ ประสงคการเรียนรู
3.1 ทดลอง อธิบายการแพรและการออสโมซิส (K + P)
3.2 อธบิ าย เปรียบเทยี บการลําเลยี งสารผานเขา-ออกจากเซลลในแบบตางๆ (K)
3.3 อธบิ ายการลําเลยี งสารเขา-ออกจากเซลลในสิ่งมชี ีวิต (K )
3.4 มีวินยั ใฝเ รียนรู กระตือรอื รน ในการทํากจิ กรรม (A)

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู เรื่องการลาํ เลียงสารผา นเซลล

2

3.5 สามารถปฏบิ ัตงิ านกลุมรวมกับผอู ่ืนได (A)
4. กจิ กรรมทีน่ ักเรยี นตอ งปฏบิ ตั ิ

4.1 ทํากิจกรรมตามบตั รคาํ สงั่ ที่ 3

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู เร่อื งการลําเลยี งสารผานเซลล

3

แบบทดสอบกอ นเรยี น

เรอ่ื ง การลาํ เลียงสารผานเซลล

คาํ ช้ีแจง

แบบทดสอบนี้มจี ํานวน 10 ขอ ใชเวลาทาํ 10 นาที จงเลือกคําตอบท่ีถกู ตองท่สี ดุ เพยี งขอเดยี ว

แลว ทาํ เครือ่ งหมาย  ลงในชอง  ที่เลอื กบนกระดาษคําตอบ

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. การหล่ังเพปซิโนเจนออกจากเซลลผนงั กระเพาะอาหารอาศัยกระบวนการใด

ก. กระบวนการแพร ข. กระบวนการเอกโซไซโทซีส

ค. การลําเลียงแบบฟาซิลเิ ทต ง. การลาํ เลยี งแบบใชพลังงาน

2. เซลลเ ม็ดเลอื ดแดงของคนจะมีแรงดันเตง สูงขน้ึ เร่ือยๆ เมื่ออยูในสารละลายในขอ ใด

ก. นํ้ากล่นั ข. นาํ้ กล่นั 0.85%

ค. นา้ํ เช่ือม 5% ง. นาํ้ เกลือ 10%

3. เมอื่ หยดนํา้ เกลือลงบนสไลดท ีม่ ีใบสาหรา ยหางกระรอกอยู จะสังเกตเหน็ การเปลย่ี นแปลงของเซลล

คลายกับที่เกดิ ขน้ึ เมอื่ หยดสารใดมากทส่ี ดุ และเกดิ เร็วทสี่ ุด

ก. นาํ้ กลน่ั ข. นาํ้ นมสด

ค. น้ําเช่ือม ง. แอลกอฮอล

4. ลอกผิวใบวานกาบหอยแลวแชลงในสารละลายนํ้าตาลกลูโคส เม่ือนํามาสองดูดว ยกลองจลุ ทรรศน

เหน็ ลกั ษณะดงั ภาพ

ผนังเซลล

เยอื่ หุม เซลล
สารละลายนาํ้ ตาลกลโู คสนี้เปนสารละลายประเภทใดเม่อื เทียบกับสารละลายในเซลลผ ิวใบ

ก. สารละลายไฮโพโทนิค ข. สารละลายไฮเพอรโทนิค

ค. สารละลายไอโซโทนคิ ง. อาจเปนขอ ข หรือ ค ก็ได

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู เรอื่ งการลาํ เลียงสารผา นเซลล

4

5. เมอ่ื นาํ กระเพาะปสสาวะของสกุ รมาบรรจสุ ารละลายนํ้าตาล รัดปลายทั้งสองดา นใหแนนและนําไป
ชง่ั น้ําหนกั จากนั้นนําไปแชใ นนา้ํ กลนั่ และช่งั นาํ้ หนักเปน ระยะๆ กราฟใดแสดงการเปล่ียนแปลง
น้าํ หนกั ของกระเพาะปสสาวะไดถูกตอ ง

ก. นํา้ หนกั (กรมั ) ข. น้ําหนัก (กรัม)

เวลา (ชม.) ง เวลา (ชม.)

ค. นาํ้ หนัก (กรัม)

น้าํ หนกั (กรัม)

เวลา (ชม.) เวลา (ชม.)

6. เซลลจ ะไมเปน อนั ตรายเม่ืออยใู นสภาพแวดลอมทม่ี ีความเขมขน อยา งไร

ก. เทา กับสารภายในเซลล

ข. นอยกวาสารภายในเซลล

ค. มากกวา สารภายในเซลล

ง. บอกแนนอนไมได

7. ขอ ใดเปน การเคลื่อนทขี่ องสารแบบฟาซิลเิ ทต

ก. การเคลื่อนทขี่ องละอองเกสรในนาํ้

ข. การเคลื่อนท่ขี องนํา้ ตาลในเลอื ด

ค. การเคลื่อนทขี่ องน้าํ ตาลเขาลาํ ไสเ ลก็

ง. การเคลอ่ื นที่ของเกลือในหนวยไต

8. กระบวนการลําเลียงของสารผานเขาและออกจากเซลลตองอาศัยตัวพา คือสารใด

ก. ไขมัน ข. โปรตีน

ค. RNA ง. DNA

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู เร่ืองการลําเลยี งสารผานเซลล

5

9. ขอ ใดตอไปนี้อาศัยกระบวนการเอกโซไซโทซีส
ก. การทาํ ลายเชื้อโรคของเซลลเมด็ เลือดขาว
ข. การขบั เกลือแรสวนเกนิ ออกทางเหงือกของปลาทะเล
ค. การหลง่ั เอนไซมย อยอาหารออกมาจากเยอื่ บุผวิ ลําไสเ ล็ก
ง. การนําอนุภาคขนาดใหญเขาสเู ซลลของอะมีบา

10. แอกทีฟทรานสปอรต เปนการเคลอ่ื นทขี่ องสารจากที่มีความเขม ขน ในขอใดถูกตอง
ก. มากไปนอย โดยอาศัยพลังงานจากเซลล
ข. มากไปนอย โดยไมอาศยั พลังงานจากเซลล
ค. นอยไปมาก โดยอาศยั พลังงานจากเซลล
ง. นอยไปมาก โดยไมอาศัยพลงั งานจากเซลล

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู เรื่องการลาํ เลยี งสารผานเซลล

6

บัตรคําสงั่ ท่ี 3

เรอื่ ง การลําเลียงสารผานเซลล

คําชแ้ี จง

ใหน กั เรยี นศึกษาและปฏิบตั ติ ามหวั ขอ ตอไปน้ี
1. นกั เรยี นแบงกลุมออกเปน กลมุ ๆ ละ 4-6 คน (ใหแตล ะกลมุ มีจํานวนสมาชกิ เทา ๆ กนั )
2. เลือกประธานกลุมเพ่ือเปนผนู ําในการดําเนินกิจกรรมและเลขานกุ ารกลมุ เพอ่ื บนั ทกึ ขอมูลจากการ
ปฏิบตั กิ ิจกรรมตางๆ
3. ศึกษาชดุ กิจกรรมการเรียนรูที่ 3 เรื่องการลาํ เลยี งสารผานเซลล
4. ศึกษาบัตรกจิ กรรมการเรียนรทู ี่ 3.1 เรอื่ งการลาํ เลยี งสารเขาและออกจากเซลล

ตอนท่ี 1 การแพร
ตอนที่ 2 การออสโมซิส
ตอนที่ 3 วางแผนการทดลองการแพรแบบออสโมซิส
5 บันทกึ ผลการทาํ กจิ กรรมลงในแบบบนั ทึกผลกจิ กรรมการเรียนรทู ี่ 3.1 เรื่องการลําเลยี งสารเขา
และออกจากเซลล
7. ศกึ ษาบัตรเน้ือหาที่ 3.1 เรือ่ งการลาํ เลยี งสารเขา และออกจากเซลล
8. ตอบคาํ ถามลงในบัตรคาํ ถามที่ 3.1 เร่ืองการลําเลียงสารเขาและออกจากเซลล
9. ประธานกลมุ รวบรวมคาํ ตอบของสมาชกิ แลว นําไปแลกเปลีย่ นกบั กลมุ อน่ื เพ่ือเปลี่ยนกันตรวจ
10. ประธานกลุม รับบตั รเฉลย
11. สมาชิกทกุ คนชว ยกนั ตรวจคาํ ตอบของกลุมท่ีเปลยี่ นกนั ตรวจ ใหประธานกลมุ รวบรวมสง ครู
12. ทาํ แบบฝก หัดท่ี 3 เรอ่ื งเซลลข องสิ่งมีชีวิต
13. ตรวจแบบฝก หดั ท่ี 2 ประธานกลุมรวบรวมสงครูพรอ มเก็บเอกสารและอุปกรณการทดลอง
ใหเ รยี บรอ ย

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู เรอ่ื งการลาํ เลยี งสารผานเซลล

7

บัตรกิจกรรมการเรียนรทู ี่ 3.1
เรอ่ื ง การลําเลยี งสารเขา และออกจากเซลล

จุดประสงค

1. เพ่ือศึกษาการแพรและการออสโมซิส (K+P)
2. เพือ่ อธบิ าย เปรียบเทยี บการลําเลยี งสารผานเขา-ออกจากเซลลในแบบตา งๆ (K+P+A)

คําช้ีแจง

1. ใหนกั เรยี นแตละกลมุ แบง หนา ทีก่ นั ทาํ งาน โดยใหสมาชกิ เลือกประธาน เลขานุการ
2. กจิ กรรมมีทั้งหมด 3 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 การแพร
ตอนที่ 2 การออสโมซิส
ตอนที่ 3 วางแผนการทดลองการแพรแบบออสโมซิส (ทาํ นอกเวลาเรียน)
3. ในตอนท่ี 3 นักเรยี นทําการทดลองนอกเวลาเรียน นกั เรยี นศกึ ษาสถานการณต อไปนี้
แลว ใชก ระบวนการทางวทิ ยาศาสตรว างแผนออกแบบการทดลอง ตรวจสอบสมมตุ ฐิ านทก่ี าํ หนดขึน้
และดาํ เนินการทดลอง ตามแผนทีว่ างไว พรอ มทัง้ เขยี นรายงานผลการทดลองตามขน้ั ตอน
กระบวนการทางวิทยาศาสตร และนาํ เสนอหนาช้นั เรียน
“ เมื่อนาํ ชิน้ สวนของหวั มนั แกว มาแชใ นนา้ํ กลน่ั น้ําเปลา สารละลายเกลือแกง ทค่ี วามเขม ขน
ท่แี ตกตา งกัน นาํ้ หนกั ของมันแกวจะเปล่ียนไปหรือไมอยางไร”
ปญ หา คือ น้ํากลัน่ นํ้าเปลา สารละลายเกลอื แกงทคี่ วามเขม ขน 0.9 และ 10 เปอรเ ซ็นต
มีสวนเก่ียวของกบั การออสโมซิสหรือไมอยา งไร

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู เรอื่ งการลําเลียงสารผา นเซลล

8

ตอนท่ี 1 การแพร

วัสดอุ ุปกรณ

1. บีกเกอรขนาด 50 cm3 จํานวน 3 ใบ
2. น้ํารอน นาํ้ เยน็ นํา้ ธรรมดา
3. เกลด็ ดางทบั ทิม
4. เทอรโมมิเตอร

วิธที าํ

1. เตมิ นํา้ รอ น น้าํ ธรรมดา นา้ํ เย็น ลงในบีกเกอรๆ ละ 30 cm3 (แยกคนละบีกเกอร)
2. วัดอณุ หภูมขิ องน้าํ ทั้ง 2 (โดยวดั เปนเวลา 10 วนิ าที ท้งั 2 บกี เกอร) บันทกึ ผลลงในตาราง
บนั ทกึ ผล
3. หยอนเกลด็ ดา งทบั ทิม 2 – 3 เกลด็ ลงในแตล ะบีกเกอรที่มนี ํ้าอยสู ังเกตและบันทกึ ผล
การเปลย่ี นแปลงในชวงเวลา 5 นาที และเปรยี บเทียบลักษณะของการแพรของดางทับทิมในนา้ํ
ท้ัง 3 ชนิด

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู เรอ่ื งการลาํ เลยี งสารผานเซลล

9

ตอนท่ี 2 การออสโมซิส

วสั ดุอุปกรณ

1. กระดาษเซลโลเฟนขนาดประมาณ 10 x 10 เซนตเิ มตร
2. ยางวง
3. นา้ํ
4. บกี เกอร ขนาด 500 cm3
5. หลอดทดลองขนาดกลาง
6. เกลือ หรือ กลโู คส

วธิ ที ํา

1. เตรยี มสารละลายเกลือแกงความเขมขน 3% ปรมิ าณ 100 cm3 และ 10% ปรมิ าณ 10 cm3
2. เทสารละลายเกลอื แกงความเขมขน 10% ลงในหลอดทดลองขนาดกลาง ใชกระดาษเซลโลเฟน
หมุ ปดหลอดทดลอง ใชยางวงรัดใหแนน
3. นําหลอดทดลองขนาดกลางที่มีสารละลายเกลอื แกง 10% ควํ่าลงในบีกเกอร โดยยางรัดอยู
เหนือระดับน้ําเลก็ นอ ย ทําเครือ่ งหมายท่ีระดับของเหลว ต้งั ทง้ิ ไว ประมาณ 1 คนื บันทึกผลลงใน
ตารางบันทกึ ผล

หมายเหตุ ในตอนที่ 2 ตอ งทํากจิ กรรมไวลวงหนาประมาณ 12 ช่วั โมง

กจิ กรรมเสนอแนะ
นักเรียนทดลองการออสโมซิสของนาํ้ ในสาหรา ยหางกระรอก หรือเซลลเ ย่อื บุขา งแกม โดยให

นกั เรียนวางแผนการทดลองและดําเนนิ การทดลองตามกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู เรอ่ื งการลําเลียงสารผานเซลล

10

แบบบนั ทึกผล
กิจกรรมการเรยี นรทู ่ี 3.1
เร่อื ง การลาํ เลียงสารเขา และออกจากเซลล

ชอ่ื กลุม ..........................................................................................ช้ัน.......................
สมาชิก 1............................................................................................... ประธาน

2............................................................................................... เลขานุการ
3..............................................................................................
4..............................................................................................
5...............................................................................................
6...............................................................................................

ตอนที่ 1 การแพร

คําถามกอ นทาํ กจิ กรรม

1. ปญหาของการทดลองนีค้ ืออะไร
..........................................................................................................................................................
2. สมมติฐานของการทดลองนี้คือ
..........................................................................................................................................................
3. ตัวแปรตน ตัวแปรตาม ตวั แปรควบคุม ไดแ กอะไรบาง
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู เร่ืองการลาํ เลยี งสารผานเซลล

11

บนั ทึกผลการทาํ กิจกรรม

ชนดิ อณุ หภมู ิ ลักษณะการแพร
ของนาํ้ ของนาํ้
(0C) ขณะหยอน เม่อื เวลาผา นไป 5 นาที
นํา้ เย็น

นํ้าทอ่ี ุณหภมู ิหอง

น้าํ รอ น

คาํ ถามหลงั ทาํ กิจกรรม

1. ลักษณะการแพรข องดา งทับทมิ ในนํา้ รอน น้าํ ธรรมดา เหมอื นหรือตา งกนั อยางไร
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
2. จากการทดลองน้อี ะไรเปนปจจัยในการแพร
..........................................................................................................................................................

สรปุ ผลการทํากิจกรรม

..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

ชุดกิจกรรมการเรียนรู เร่อื งการลําเลยี งสารผานเซลล

12

ตอนท่ี 2 การออสโมซิส

คาํ ถามกอ นทํากจิ กรรม

1. ปญหาของการทดลองนคี้ ืออะไร
..........................................................................................................................................................
2. สมมตฐิ านของการทดลองนคี้ อื
..........................................................................................................................................................
3. ตัวแปรตน ตัวแปรตาม ตวั แปรควบคมุ ไดแกอะไรบา ง
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

บันทึกผลการทาํ กจิ กรรม ระดับนํา้ ในหลอดทดลอง

เวลา
เมอื่ เวลาผานไปประมาณ 1 คืน

คําถามหลงั ทาํ กิจกรรม

1. เมอื่ เวลาผานไปประมาณ 12 ชว่ั โมง ระดับน้ําในหลอดแกวมีการเปล่ยี นแปลงอยา งไร
.........................................................................................................................................................
2.. ถาใชสารละลายกลโู คสแทนสารละลายเกลือแกงจะใหผลเหมือนกันหรือไมอ ยางไร
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

ชุดกิจกรรมการเรียนรู เร่ืองการลําเลยี งสารผา นเซลล

13

สรปุ ผลการทาํ กจิ กรรม
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

ชุดกิจกรรมการเรียนรู เรือ่ งการลําเลยี งสารผานเซลล

14

ตอนท่ี 3 วางแผนการทดลองการแพรแ บบออสโมซิส
1. ปญ หา

..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
2. สมมตฐิ าน
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

ตัวแปรตน................................................................................................................
ตัวแปรตาม..............................................................................................................
ตัวแปรควบคมุ .........................................................................................................
3. การทดลอง
อปุ กรณการทดลอง
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

วธิ กี ารทดลอง
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

ชุดกิจกรรมการเรียนรู เรือ่ งการลําเลียงสารผา นเซลล

15

4. บันทึกผลการทดลอง
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

5. สรปุ ผลการทดลอง
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู เรอ่ื งการลาํ เลยี งสารผานเซลล

16

แบบประเมนิ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร

เร่ือง............................................................................. กลมุ ท.่ี ..................... ช้นั ...............
สมาชิก
1................................................................................ หวั หนากลุม
2................................................................................ รองหัวหนา กลมุ
3................................................................................
4................................................................................
5................................................................................
6................................................................................ เลขานกุ าร

รายการการประเมิน 4 (ดเี ยย่ี ม) ระดบั คะแนน
3 (ดี) 2 (พอใช) 1 (ปรบั ปรุง)
1. การตง้ั สมมตุ ฐิ าน
2. การออกแบบการทดลอง
3. การบันทึกผลการทดลอง
4. การวิเคราะหแ ละสรุปผลการทดลอง

คะแนนเฉล่ยี
สรุปผลการประเมนิ

ประเมิน ลงชอ่ื ..................................................ผู

(.................................................................)
............/.............../..............

เกณฑก ารใหค ะแนน หมายถงึ มผี ลการปฏบิ ัตเิ ยีย่ ม
14 – 18 หมายถงึ มผี ลการปฏิบตั ิดี
10 – 13 หมายถึง มีผลการปฏิบัติพอใช
หมายถึง มีผลการปฏิบัติปรบั ปรุง
6–9

4-6

ชุดกิจกรรมการเรียนรู เรื่องการลําเลยี งสารผานเซลล

17

แบบประเมินกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร

รายการประเมิน 4 (ดเี ย่ยี ม) ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรงุ )
3 (ดี) 2 (พอใช)

1. การต้ัง- สมมติฐาน สมมติฐาน สมมตฐิ าน สมมตฐิ านไม

สมมตุ ิฐาน สอดคลองกบั สอดคลอ งกับ สอดคลอ งกบั สอดคลองกบั

จากปญ หา ปญหา มีการ ปญหาและมีการ ปญหา มีการ ปญ หา กาํ หนด

กําหนดตัวแปรตน กําหนดตัวแปรตน กาํ หนดตวั แปรตน ตัวแปรตน

ตวั แปรตาม ตวั แปร ตวั แปรตาม ตวั แปร ตวั แปรตาม ตวั แปร ตวั แปรตาม

ควบคุม ชดั เจน ควบคมุ แตไม ควบคมุ ไมถกู ตอง ตวั แปรควบคุม

สมบรู ณ ไมถูกตอง

2. การออก ออกแบบการ ออกแบบการ ออแบบการทดลอง ออแบบการ

แบบการทดลอง ทดลองได ทดลองได ไดคอนขา ง ทดลองไดไ ม

สอดคลองกบั สอดคลอ งกบั สอดคลอ งกับ สอดคลองกับ

วตั ถุประสงคท่ี วตั ถปุ ระสงคท่ี วัตถปุ ระสงคที่ วัตถปุ ระสงคที่

ตองการจะวดั และ ตองการจะวัด ตอ งการจะวัดและ ตอ งการจะวดั

วิธกี ารทดลอง แตวิธกี ารทดลอง วิธีการวดั ทดลอง

ถูกตองทุกขนั้ ตอน บางขนั้ ตอนยังไม ถูกตอง

ถูกตอง

3. การบนั ทึกผล บนั ทกึ ขอมูลท่ี บนั ทึกขอมลู ท่ี บันทึกขอมูลได บนั ทึกขอมลู ท่ี

การทดลอง ตอ งการไดอยาง ตอ งการไดอยา ง ครบถว น แตไม ตองการไดไม

ถูกตอง ครบถวน ถูกตองแตยังไม ชดั เจนและขาด ถูกตองและไม

และชดั เจน ครบถวน ความถกู ตอง ชดั เจน

4. การวิเคราะห สามารถวเิ คราะห ตองการคาํ แนะนํา ตอ งการคาํ แนะนํา ไมสรุปผล

และสรุปผลการ และสรุปผลการ ในการวเิ คราะห ในการวเิ คราะห หรือสรปุ ผล

ทดลอง ทดลองไดเองอยาง สรุปผลแลว และสรุปผล แลว ไมถ ูกตอง

ถูกตอง สามารถเขียนตอได สามารถเขียนได

อยา งถูกตอง แตการสรุปผลยงั ไม

สมบูรณ

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู เร่ืองการลําเลียงสารผา นเซลล

18

บตั รเนอื้ หาที่ 3.1
เรอื่ ง การลาํ เลียงสารเขา และออกจากเซลล

การลําเลยี งสารผา นเขา และออกจากเซลล

เซลลม สี วนทห่ี อ หุมเซลล คือ เยือ่ หมุ เซลล ทาํ หนา ทป่ี องกันไมใหส ารบางอยางเขาและออก
จากเซลลไ ด แตในการดาํ รงชวี ิตของเซลล เซลลต องมีการนําสารเขา สเู ซลล เชน สารอาหาร
กาซออกซเิ จน เพ่ือสรา งพลงั งาน และขับของเสยี ออกจากเซลล เชน กาซคารบอนไดออกไซด

อยากรจู งั เลยวา เซลลจะมี
วธิ กี ารนาํ สารเขา และออก
จากเซลลก นั อยา งไรบา งนะ

นักเรียนดูแผนผงั แสดงการลาํ เลียงสารผานเซลล
นะครบั ดูซิวา มีวธิ ไี หนกนั บา ง แลว ลองมาศกึ ษา
รายละเอียดทีละวิธีกันนะครับ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู เร่ืองการลาํ เลยี งสารผา นเซลล

19

แผนผังแสดงการลําเลียงสารผา นเซลล

การลาํ เลียงสารผานเซลล

การลําเลยี งสารผานเยือ่ หุม เซลล การลาํ เลยี งสารไมผ านเยือ่ หมุ เซลล

การลําเลยี งแบบไมใชพ ลังงาน การลําเลยี งแบบใชพลังงาน เอกโซไซโทซสี

การแพร เอนโดไซโทซีส
การออสโมซีส ฟาโกไซโทซสิ
การแพรแ บบฟาซิลิเทต พิโนไซโทซิส
ไดอะไลซสิ การนําสารเขา สเู ซลลโ ดยอาศยั ตวั รับ

อมิ บบิ ชิ นั

การแลกเปลีย่ นอิออน

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู เรอ่ื งการลาํ เลียงสารผา นเซลล

20

การลาํ เลยี งแบบไมใ ชพลังงาน
การลาํ เลียงแบบไมใชพลงั งาน (passive transport) เปน การลําเลียงสารโดยไมต องใชพลงั งาน
ทีอ่ ยใู นเซลล

เพราะอะไรจงึ ไมตองใชพ ลงั งาน
ก็สามารถลาํ เลยี งสารเขา ออกจาก
เซลลไ ดน ะ

เพราะวา
1. สารนั้นมีโมเลกลุ เลก็ กวาชอ งของเยอ่ื หมุ เซลล
2. อาจเคลือ่ นทโี่ ดยอาศัยความแตกตา งของความเขม ขนของสาร
3. อาจมีตัวพาสารเขา สูเซลล

การแพร (diffusion)

ภาพท่ี 3.1 การแพร
ท่มี า : http://www.thaigoodview.com/node/20872?page=0%2C1 (เขาถึงเมือ่ 10 ม.ิ ย. 55)

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู เรอื่ งการลาํ เลยี งสารผานเซลล

21

 การแพร (diffusion) เปน การแพรแ บบกระจายอนุภาคของสาร หรือ
ไอออน (ion) จากบรเิ วณทม่ี ีความเขม ขนของสารสงู (มปี ริมาณไออนมาก)
ไปยังบรเิ วณท่ีมีความเขมขน ของสารตาํ่ (ปรมิ าณไออนนอ ย) เชน เมอ่ื หยด-
นํา้ หอมจํานวนหนงึ่ ท่หี นาหอง ผูทอ่ี ยูบริเวณหนาหองจะไดร ับกลิน่ น้าํ หอมกอ น
ผทู ่อี ยูหลงั หอ ง และกล่นิ ท่ีไดรบั จะแพรกระจายไปทั่วหองเม่ือเวลาผานไป

การแพร จะแพรจ ากบริเวณทม่ี ีความเขม ขนสงู ไปยงั
บริเวณที่มีความเขมขน ตาํ่ นนั่ เองครบั

ในรา งกายของเรามีการแพร
ของสารอะไรบางครบั

มีซิ เชน การแพรข องแกส ออกซิเจนจากปอดเขาสูเสน เลือดฝอยเพอ่ื ลาํ เลยี ง
ไปสว นตาง ๆ ของรา งกาย และการแพรข องแกส คารบ อนไดออกไซด
จากเสน เลือดฝอยเขาสูปอดแลวกําจัดออกโดยการหายใจออกไงละ

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู เรอื่ งการลาํ เลยี งสารผา นเซลล

22

ภาพท่ี 3.2 การแลกเปล่ียนแกส ออกซเิ จนและแกส คารบ อนไดออกไซดใ นถงุ ลม
ท่มี า : http://www.maceducation.com/e-knowledge/2364203110/01.htm (เขาถงึ เมื่อ 10 มิ.ย. 55)

การแพรข องแกส ออกซิเจนและแกสคารบ อนไดออกไซดเกดิ ไดดงั น้ี
1. ระหวา งปอดกับเสน เลือดฝอย

โดยออกซเิ จนจากปอดแพรอ อกสูเสน เลือดฝอยเพื่อลาํ เลียงไปเลย้ี งสว นตา งๆ
ของรางกาย และแกสคารบ อนไดออกไซดจะแพรอ อกจากเสน เลือดฝอยท่ี
ลําเลียงมาจากสวนตางๆ ของรางกายเขา สปู อดเพื่อกําจัดออก

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู เรื่องการลาํ เลยี งสารผานเซลล

23

2. ระหวา งเสนเลือดฝอยกับเซลล
ในเสน เลือดฝอยทีม่ าจากปอดจะมอี อกซเิ จนสงู จะแพรเ ขาสูเซลลเ พอ่ื ใช
ในกระบวนการหายใจระดับเซลลสรางพลังงาน หลงั จากนน้ั จะเกดิ
แกสคารบอนไดออกไซดจงึ แพรจ ากเซลลเขาสูเ สนเลอื ดฝอยและลําเลยี ง
มาท่ปี อดเพ่ือแพรเขาสปู อดและกําจดั ออกจากรางกายโดยการหายใจออก

 การแพรของสารมีทิศทางการเคลอื่ นทจ่ี ากบรเิ วณทสี่ ารมีความเขมขนสูงไปยังบริเวณ
ทีม่ คี วามเขมขน ต่ํา จนทกุ บริเวณมีความเขมขน ของสารนั้นเทา กนั เรียกวา ภาวะสมดุลของการแพร

 ในภาวะน้ี อนุภาคของสารกย็ ังเคลื่อนทอี่ ยู แตอตั ราการเคลื่อนท่ี และความเขมขน ของ
อนุภาคของสารโดยเฉลีย่ จะเทา กันทุกบรเิ วณ

 การแพรเปนกระบวนการหนึ่งทท่ี าํ ใหเ ซลลท ุกเซลลของส่ิงมีชีวิตไดร บั สารและกาํ จดั สาร
ออกจากเซลล

ปจ จัยที่ควบคมุ การแพร

1. ความเขมขน ของสารทแ่ี พร 2. อณุ หภมู ิ การเพ่ิมอณุ หภูมิ
ถาอนภุ าคบริเวณทที่ ง้ั สองมีความ- จะเปน การเพมิ่ พลงั งานจลนใหก ับสาร
เขม ขน ตา งกันมากจะมกี ารแพรม าก มผี ลทําใหก ารแพรเ กิดไดร วดเรว็ ขนึ้

ข้นึ

3. ความดัน การเพิม่ ความดนั 4. สิง่ เจือปนหรอื ตวั ถูกละลาย ส่งิ เจือปน
จะทาํ ใหอนภุ าคเคลือ่ นที่ไดด ีขึ้น หรอื ตัวถูกละลายอยางอนื่ จะเปน อุปสรรค
กีดขวางการเคลอ่ื นทีข่ องอนุภาคของสาร

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู เรือ่ งการลําเลยี งสารผานเซลล

24

การออสโมซิส

ภาพท่ี 3.3 การออสโมซิสของนาํ้ ในเซลลเ มด็ เลือดแดง
ท่มี า : http://www.thaigoodview.com/node/64379 (เขา ถงึ เมื่อ 10 ม.ิ ย. 55)

ออสโมซิส (osmosis) เปน การแพรของน้ําจากบริเวณท่ีมีความเขมขนของสารตํ่าไปยังบริเวณ
ทีม่ คี วามเขมขน ของสารสงู โดยนํา้ จะผานเยอื่ บาง ๆ หรอื เย่ือหุม เซลลช นิดทเ่ี ปน เยื่อกึง่ ซึมผานได

การออสโมซิส เปนการแพรข องนาํ้ น่นั เอง จากบรเิ วณท่มี นี ํา้ มาก
(ความเขม ขนนอ ย) ไปยังบรเิ วณที่มีนาํ้ นอ ย (ความเขมขน มาก)
โดยผานเยอื่ เลือกผา น ก็คือเย่ือหุม เซลลน นั่ เองครบั

 เชน นาํ้ ในดนิ จะออสโมซีสผา นเยอื่ หุมเซลลของเซลลร ากเขา ไปสไู ซโทพลาซมึ
ของเซลลร ากทาํ ใหเ ซลลไ ดร ับน้าํ พืชจึงไมเหีย่ วเฉาเพราะไมข าดนาํ้

การแพรข องน้าํ ทําใหเกิดแรงดนั ออสโมติก (osmotic pressure) ซึ่งมีทิศทาง
การแพรจ ากบริเวณที่มีความเขมขน ของสารตํ่าไปยงั บริเวณทีม่ คี วามเขม ขนของสารสงู

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู เรอ่ื งการลาํ เลยี งสารผานเซลล

25

แรงดันออสโมติก (Osmotic pressure)

 แรงดันออสโมตกิ (Osmotic pressure) หมายถงึ แรงดันทีน่ อยทสี่ ดุ
ที่ปอ งกนั ไมใ หนาํ้ ออสโมซสิ เขามาในสารละลายนน้ั หรอื คอื แรงดันเตงสงู สุด
ที่ปองกนั ไมใหนาํ้ เขามาไดอ ีก

นา้ํ กลัน่ มีแรงดันออสโมติก (O.P.) = 0

สารละลายทม่ี ีความเขมขน สงู จะมคี า O.P. สงู
สว นสารละลายที่มคี วามเขม ขน ตํา่ จะมคี า O.P. ตํา่

1. นา้ํ นอย เขมขน 1. นํ้ามาก เขมขน
2. สารมาก สงู 2. สารนอย ตา่ํ
3. O.P. สูง 3. O.P. ตํ่า

 น้ําจะออสโมซสิ จากแหลงที่มี O.P. ตาํ่ ไปยังแหลง ท่ีมี O.P. สงู
 การออสโมซิส จัดเปน กระบวนการแพรเ สมอ (การแพรของนํ้านน่ั เอง)
 สรปุ วา การออสโมซสิ คือการแพรข องนํ้าจากบรเิ วณน้ํามากไปสบู ริเวณทมี่ ีน้าํ นอย

การแพรข องนํา้ จะทําใหเ กิดแรงดนั ออสโมติก
- ถา บรเิ วณนน้ั มนี าํ้ มาก (ความเขมขน ตาํ่ แรงดันออสโมติกจะตาํ่ )
- แตถาบรเิ วณนน้ั มีนาํ้ นอ ย (ความเขมขน สงู แรงดันออสโมตกิ จะสงู )

ฉะนั้นนา้ํ จะออสโมซสี จากแรงดนั ออสโมตกิ ต่ํา (นาํ้ มาก)
ไปยงั บรเิ วณทมี่ แี รงดนั ออสโมตกิ สงู (น้าํ นอย)

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู เรือ่ งการลาํ เลยี งสารผา นเซลล

26

ถา นกั เรียนใสปยุ ใหต นไมม ากเกนิ ไปจะทําใหน ้ําออสโมซิสออกจากตนไม ตน ไมเ สยี นํ้า ตน ไมขาดนํ้า
และตายได

ใน 1. นา้ํ มาก เขมขน
ตน ไม 2. สารนอ ย ตํ่า
3. O.P ตํ่า

ออสโมซสิ

ปยุ 1. น้ํานอ ย เขม ขน
ดนิ ในดนิ 2. สารมาก สงู

3. O.P สงู

ภาพที่ 3.4 แสดงการออสโมซสิ ของนาํ้ ออกจากตน ไมสดู ิน
ทมี่ า : ดสุ ิตา แขง เพ็ญแข (วาดดว ยตนเองเมอ่ื 15 มิ.ย. 55)

นักวิทยาศาสตรไดท ําการทดลองโดยการนาํ เซลลเม็ดเลอื ดแดงใสในสารละลายความเขม ขนตา งกนั
3 ความเขม ขน แลวตรวจหาเซลลเม็ดเลอื ดแดง

สารละลายไอโซโทนิก สารละลายไฮเพอโทนิก สารละลายไฮโพโทนิก

ภาพที่ 3.5 เซลลเมด็ เลือดแดงในสารละลายท่ีมีความเขมขนตา งกนั
ท่ีมา : http://www.thaigoodview.com/node/33297 (เขาถงึ เมื่อ 10 ม.ิ ย. 55)

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู เร่ืองการลาํ เลียงสารผานเซลล

27

จากการทดลองนี้
1. นักวทิ ยาศาสตรตรวจหาเซลลเมด็ เลอื ดแดงแตไ มพบ แสดงวา เซลลเ ม็ดเลือด
แดงแตก เนื่องจากนา้ํ ออสโมซิสเขาไป จงึ เรยี กสารละลายท่มี คี วามเขม ขนนอย
กวา สารละลายภายในเซลลว า สารละลายไฮโพโทนิก (hypotonic solution)

ไฮโพ โอโ หโตเตง เทคนิกการจําครบั

2. สารละลายที่มีความเขมขนมากกวาสารละลายภายในเซลล น้ําจะ
ออสโมซิสออกทําใหเซลลเ หี่ยว เรยี กสารละลายนว้ี าสารละลายไฮเพอรโ ทนิก
(hypertonic solution) และเรยี กกระบวนการที่น้ําออสโมซิสออกน้วี า
พลาสโมไลซิส (plasmolysis)

3. สารละลายทีม่ ีความเขมขนเทา กับสารละลายภายในเซลล เซลลจะไม-
เปล่ยี นแปลง ยงั อยูในสภาพปกติ เรียกสารละลายน้วี า สารละลายไอโซโทนกิ
(isotonic solution)

สารละลายภายในเซลลเม็ดเลือดแดงจะมีความเขมขนประมาณ 0.85 เปอรเ ซน็ ต
การออสโมซสิ นํ้าในเซลลพืชจะมองไมคอยเห็นความแตกตา งของเซลลเพราะเซลลพ ชื มีผนังเซลล

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู เรอ่ื งการลําเลียงสารผานเซลล

28

การแพรแบบฟาซลิ เิ ทต (facilitated diffusion)

สารท่ีลาํ เลยี งผานเยือ่ หุมเซลล

โปรตีนตวั พา

เยอ่ื หุมเซลล

ภาพที่ 3.6 การแพรแ บบฟาซลิ ิเทต
ที่มา : http://www.vcharkarn.com/lesson/view.php?id=1043 (เขา ถึงเม่ือ 15 ม.ิ ย. 55)

 การแพรแบบฟาซิลเิ ทต (facilitated diffusion) เปนการแพรของสาร
ทไ่ี มส ามารถผา นเย่ือหุมเซลลโดยวธิ ธี รรมดาได หรอื สารนั้นไมส ามารถละลาย
กบั ไขมันในเย่ือหุมเซลลไ ด ตอ งอาศยั โปรตนี เปน ตัวพา (carrier protein)

ซ่ึงโปรตนี เปรยี บเสมอื นเปนประตูทีก่ ําหนดใหส ารเหลา นั้นผา นเขา และ
ออกไดโ ดยไมตองใชพลังงาน

โดยสารจากที่มีความเขม ขน สูงจะเคล่ือนที่เขาสูสวนท่ีมีความเขมขนต่ํา
จนความเขมขนของทั้งสองเทากนั จะทําใหเกดิ สมดลุ ของการแพร

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู เรอื่ งการลาํ เลยี งสารผา นเซลล

29

 การแพรแบบนี้จะเกิดไดเรว็ กวา การแพรแบบธรรมดา การแพรแบบน้ี
พบที่เซลลเ ยื่อบผุ วิ ลาํ ไสเ ล็ก เซลลต ับ เปน ตน

สารทีถ่ ูกลําเลยี งเขาสเู ซลลโดยวธิ ีนี้ เชน กลูโคส กรดอะมโิ น
คารบอนไดออกไซดทอ่ี ยูในรูปไฮโดรเจนคารบ อเนตไอออน (HCO-3 )

เมอื่ รบั โมเลกลุ ของสารโมเลกุลของสารตวั พาจะเปลย่ี นรปู รา ง ทาํ ให
สงสารเขาสเู ซลลไ ด จากน้นั ตัวพาจะกลบั คนื สภาพเดิม

การแพรแ บบฟาซิลิเทต เปนเพราะสารนั้น
ไมส ามารถผา นสว นทเ่ี ปน ไขมนั ท่ีเยอื่ หุมเซลลได
เพราะไมล ะลายกับไขมันน่ันเอง

ใชแลว กเ็ ลยตองอาศยั โปรตีนทอ่ี ยทู ี่เยื่อหมุ เซลลเปนตวั พาเขา
ไป เชน การลําเลยี งกลูโคส กรดอะมโิ นเขาสเู ซลล
การแพรแ บบน้ีแพรเ รว็ กวา แบบธรรมดามากครบั

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู เรือ่ งการลาํ เลียงสารผานเซลล

30

 ไดอะไลซิส (Dialysis) / การแยกสารผานเยื่อ
เปน เทคนิคทใี่ ชในการแยกอนุภาคขนาดเลก็ ซ่ึงมีขนาดแตกตา งกนั ออกจากกนั

โดยการแพร (diffusion) ผา นเย่อื (permeable membrane) ตัวอยา งเชน
ในสารละลายท่มี ีท้งั โปรตนี และเกลือ จะสามารถแยกเกลอื ออกจากโปรตีนไดโ ดยให
สารละลายแพรผา นเย่ือทยี่ อมใหอนภุ าคของเกลอื ผา นไดเทานน้ั

 อิมบิบชิ ัน (imbibition)
กระบวนการดูดของเหลวหรือนาํ้ ของวตั ถุแหง หรือมีปรมิ าณนาํ้ อยนู อย

เชน เมล็ดพชื แหง เมอ่ื แชในน้ําหรื อยใู นที่มีความช้นื สงู จะดูดน้ําเขา ไปจนพองตวั
ขยายใหญข น้ึ สาํ คญั ตอการงอกของเมลด็ พืช

อิมบิบชิ ัน อาจเกิดไดโ ดยการแพรของนาํ้ หรือการดดู ซับความช้นื
(absorption) เอาไวรอบ ๆ ผวิ ของมันเอง

 การแลกเปลยี่ นอิออน ( Ion exchange )
เปนขบวนการท่เี ซลลแลกเปล่ียนอิออนระหวา งภายในเซลลกับภายนอกเซลล

เชน ไฮโดรเจนอิออนภายในเซลลข องรากพืชจะแลกเปลีย่ นกบั โปตสั เซียมอิออน
ในดิน

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู เรื่องการลําเลียงสารผานเซลล

31

การลําเลียงแบบใชพลงั งาน

ภาพที่ 3.7 การลําเลยี งแบบใชพลังงาน
ทมี่ า : http://www.vcharkarn.com/lesson/view.php?id=1043 (เขาถึงเมอื่ 15 มิ.ย. 54)

 การลาํ เลียงแบบใชพ ลงั งาน (active transport) เปนการเคลื่อนที่
โมเลกลุ ของสารหรือไอออนตาง ๆ เขาสูเซลลโดยอาศยั โปรตนี และพลงั งาน
ภายในเซลลหรอื พลงั งานท่ีไดจากการสลาย ATP (สรางโดยไมโทคอนเดรยี )

 สารจะเคล่อื นทจ่ี ากบริเวณทมี่ คี วามเขมขน ของสารต่ําไปยงั บริเวณทีม่ ีความเขมขนของสาร
สงู กวา

 เชน การเคลื่อนท่ขี องกระแสประสาทเมื่อไดรบั การกระตุนจากสงิ่ เรา ก็จะมีการตอบสนอง
ตอ สง่ิ เราน้ัน

 การเกดิ กระแสประสาทเกิดจากการเคลอื่ นท่ีของโซเดียมอิออน (Na+) กับโปตัสเซยี มอิออน
(K+) เขาและออกจากเซลลป ระสาทน่นั เอง

 การดูดสารที่มปี ระโยชนกลับคืนทท่ี อของหนว ยไต

ชุดกิจกรรมการเรียนรู เรื่องการลําเลียงสารผา นเซลล

32

การลําเลยี งแบบใชพ ลังงาน จะเปน การนําสารจาก
บริเวณทม่ี ีความเขม ขน นอย ไปยงั บรเิ วณทีม่ คี วาม
เขมขน มาก ซง่ึ ยาก จงึ ตองใชพ ลงั งานเขา มาชว ย

ใชแลว และจะตอ งผา นตัวพา คอื โปรตีนทีเ่ ย่อื หุมเซลลคะ
สวนพลังงานท่ีใชจ ะอยใู นรูปของสารประกอบที่ชื่อ ATP
ถกู สรา งโดยออรแกเนลลใ นเซลล คอื ไมโทคอนเดรยี
น่นั เอง

เอกโซไซโทซสี (exocytosis)

ภาพท่ี 3.8 การลําเลยี งสารแบบเอกโซไซโทซสี
ท่ีมา : หนงั สอื เรยี นวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตรช วี ติ กบั สิ่งแวดลอมสิ่งมีชวี ิตกบั กระบวนการดาํ รงชีวติ

(พเยาว ยินดีสขุ และคณะ. 2554)

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู เรือ่ งการลาํ เลียงสารผานเซลล

33

 เปนกระบวนการเคลอ่ื นท่ีของสารที่มีขนาดใหญห รือของเหลวภายในเซลล
ทอ่ี ยูในรปู ของเวสสเิ คิล (vesicle) สงออกนอกเซลล อาจเปนเวสสิเคิลทีม่ โี ปรตีน
หรอื เอนไซมอยภู ายในเพ่ือนําออกไปใชนอกเซลล หรอื เวสสเิ คลิ ทเ่ี ปนของเสยี
หรอื สิ่งทีไ่ มมีประโยชนต อเซลลเ พ่อื ขับออกนอกเซลล

ของเสียเหลาน้เี กดิ จากการยอ ยของไลโซโซมและขับออกนอกเซลล

การลาํ เลยี งแบบเอกโซไซโทซีส เชน
1. การหลัง่ เอนไซมจากลําไสเลก็ และกระเพาะอาหาร
2. การลําเลียงฮอรโ มนอนิ ซลู ินออกจากเซลลต บั ออน

สารภายนอกเซลล เอนโดไซโทซีส (endocytosis)

ไซโทพลาซมึ

อาหารหรอื
สารโมเลกุลใหญ

ภาพท่ี 3.9 การลาํ เลยี งสารแบบเอนโดไซโทซีส
ทม่ี า : หนังสอื เรยี นวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตรชวี ิตกบั สง่ิ แวดลอ มสิง่ มชี ีวติ กบั กระบวนการดาํ รงชวี ติ

(พเยาว ยินดีสขุ และคณะ. 2554)

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู เรอ่ื งการลําเลยี งสารผานเซลล

34

 เปน การเคล่ือนทข่ี องสารขนาดใหญจากภายนอกเซลลเขา ไปภายในเซลล
โดยที่เยื่อหุมเซลลจะมลี ักษณะเวาเขาไป มี 2 แบบ คือ พิโนไซโทซสี และฟาโกไซโทซีส

ถา สารน้ันมีโมเลกลุ ขนาดใหญ จะอยใู นรูปของเวสสเิ คิล
(คอื อยใู นลกั ษณะทเี่ ปน ถงุ ) ถานําออกเรยี กวา เอกโซไซโทซีส
ถา นําเขามา เรยี กวาเอนโดไซโทซีส นน่ั เองครบั

เวสสเิ คิล(ถุง) จะเคล่อื นที่ไปท่ีเยือ่ หมุ เซลลและเชอ่ื มตอกบั
เย่อื หมุ เซลล เพ่ือปลอยสารทีอ่ ยใู นเวสสเิ คิลออกนอกเซลล
หรือปลอยสารที่อยูในเวสสเิ คิลเขามาในเซลล

ฟาโกไซโทซีส

เยื่อหมุ เซลล เยอื่ หมุ เซลล

ไซโทพลาซมึ ไซโทพลาซึม

นวิ เคลยี ส นวิ เคลยี ส

ภาพที่ 3.10 การลําเลยี งสารแบบฟาโกไซโทซสี
ทีม่ า : http://www.thaigoodview.com/node/38908 (เขา ถึงเมื่อ 16 มิ.ย. 55)

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู เรื่องการลาํ เลยี งสารผานเซลล

35

 ฟาโกไซโทซีส (phagocytosis) เปนการลําเลียงอนุภาคของสารโมเลกุลใหญ
เขา สเู ซลล โดยเย่ือหมุ เซลลจ ะสรา งซูโดโปเดยี ม (pseudopodium) หรือเทาเทียม
ลักษณะเปนถงุ ขนาดใหญ

 จะเกิดขน้ึ เมอื่ เซลลส่ิงมีชวี ิตน้ันใชเทาเทยี มโอบลอ มสารโมเลกลุ ใหญน ้นั หลดุ
เขาไปในไซโทพลาซึมของเซลล เวสสิเคิลขนาดใหญเรยี กวา ฟูดแวควิ โอล จากนัน้
เอนไซมจากไลโซโซมจะปลอยออกมายอยสลายสารนั้น เชน การกินอาหารของ-
อะมีบา เมด็ เลือดขาวปอ งกนั หรอื กลืนกนิ เช้ือโรคตา งๆ มิใหเ กิดอันตรายตอรางกาย
สารที่เหลือจากการยอ ยจะถูกกําจดั ออกนอกเซลลโดยวิธกี ารลําเลียงออกจากเซลล
สารทถ่ี กู ลาํ เลียงจะถูกหอ หุมเปนถุง ถุงน้ีรวมกบั เย่ือหมุ เซลลแลวลาํ เลียงออก
นอกเซลล (เอกโซไทซสี นั่นเอง)

พิโนไซโทซสี

 พิโนไซโทซีส (pinocytosis) หมายถึง การนําสารเขาสเู ซลล
โดยการทาํ ใหเยื่อหมุ เซลลเ วาเขาไปในไซโทพลาซมึ ทีละนอยจนกลายเปน
ถงุ เลก็ ๆ สารตางๆ ท่ีมีขนาดใหญด งั กลา วจะเขา มาอยูในถุงน้าํ (vesicle)
ตอมาเยื่อหมุ เซลลจะปด สนทิ และถงุ น้หี ลุดเขา ไปอยใู นไซโทพลาซึม

เชน เซลลท ่หี นว ยไต นาํ สารเขาสเู ซลลโ ดยวิธีพโิ นไซโทซสี

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู เรอ่ื งการลาํ เลียงสารผา นเซลล

36

การนาํ สารเขาสเู ซลลโ ดยอาศยั ตัวรับ (receptor-mediated

สารภายนอกเซลล โปรตนี ทีเ่ ปน ตวั รบั
บรเิ วณรับสาร

ภาพที่ 3.11 การนําสารเขาสูเซลลโดยอาศัยตัวรับ
ท่มี า : หนังสอื เรียนวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรช ีวติ กบั สิง่ แวดลอมสง่ิ มชี ีวติ กับกระบวนการดาํ รงชวี ิต

(พเยาว ยนิ ดสี ขุ และคณะ. 2554)

 บนเย่ือหมุ เซลลจ ะมีบรเิ วณรบั สาร ซงึ่ ทําหนา ท่ีจับกับสารทจ่ี ะนํา
เขาสเู ซลล กอ นทีเ่ ยื่อหมุ เซลลจะเวากลายเปนถุง สารท่ีถูกนาํ เขา สเู ซลล
วธิ ีนี้จะตองมีความจาํ เพาะเจาะจงกบั สารตัวรับที่อยูบ นเยื่อหมุ เซลล
จึงจะถูกนาํ เขา สเู ซลลได เชน การนําฮอรโมนเขา สเู ซลล เปนตน

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู เรือ่ งการลําเลียงสารผา นเซลล

37

บตั รคาํ ถามท่ี 3.1

เรอ่ื ง การลําเลยี งสารเขาและออกจากเซลล

ชือ่ กลุม..........................................................................................ชนั้ .......................
สมาชิก 1............................................................................................... ประธาน

2............................................................................................... เลขานกุ าร
3..............................................................................................
4..............................................................................................
5...............................................................................................
6...............................................................................................

คําชแี้ จง

ตอนท่ี 1 ใหน ักเรยี นนาํ ตวั เลขดานซายมือมาเตมิ ลงในรูปทรงกระบอกดานขวามือใหถ ูกตอง

1 การแพร 1 การกินอาหารของเซลลเ ม็ดเลือดขาว
การลาํ เลยี งแกส ออกซเิ จนจากปอดเขา สเู สน เลือดฝอย
2 ออสโมซสิ 2
3 3 การเคล่อื นทโ่ี มเลกลุ ของนํ้าเขาและออกจากเซลล
4 การลําเลยี งกลูโคสเขา สลู าํ ไสเ ล็ก
ฟาซลิ เิ ทต 5 การลําเลียงสารเขา ที่หนว ยไต
4

ฟาโกไซโทซสี

5
เอกโซไซโทซสี

6 พิโนไซโทซสี

ชุดกิจกรรมการเรียนรู เรอ่ื งการลาํ เลยี งสารผานเซลล

38

ตอนที่ 2 ใหนกั เรยี นกาเครื่องหมาย  หนาขอท่ีถูกในรูปทรงกระบอก และกาเครือ่ งหมาย 
หนา ขอ ทผ่ี ดิ หนา ขอ ท่ผี ดิ

(..........) 1. สมดุลการแพร หมายถงึ ไมมกี ารแพรอีกตอไป
(..........) 2. การออสโมซิส ไมจดั เปน การแพร
(..........) 3. สารละลายที่มคี วามเขมขนสงู จะมีแรงดันออสโมตกิ ตํา่
(..........) 4. น้าํ กลน่ั มีแรงดันออสโมตกิ ตํ่าสุด
(..........) 5. เซลลพ ชื ในสารละลายไฮโพโทนิค จะสงั เกตเห็นเซลลเ หมือนเดิมเพราะมผี นังเซลล
(..........) 6. active transport คือ การเคล่ือนที่ของสารแบบใชพ ลังงาน
(..........) 7. การหลง่ั เอนไซมเ พปซโิ นเจน เปน เอกโซไซโทซีส
(..........) 8. ตวั พา เปนสารประเภทไขมนั
(..........) 9. การเคล่อื นที่ของน้ําตาล กรดอะมโิ นเขาสูเซลลเ ปนแบบฟาซิลิเทต
(..........) 10. การกินเชอ้ื โรคของเซลลเม็ดเลือดขาว เกิดฟูดแวคิวโอล

ตอนท่ี 3 ใหน กั เรยี นเปรียบเทยี บความแตกตา งของการลําเลียงสารในแบบตางๆ ตอไปน้ี
1. ระหวางการแพรก ับการออสโมซิส
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
2. ระหวา งเอนโดไซโทซสี กบั เอกโซไซโทซิส
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
3. การแพรกับการเคลือ่ นที่แบบฟาซลิ ิเทต
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
4. การเคลื่อนที่แบบใชพลงั งานกบั ไมใชพ ลงั งาน
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
5. การลําเลียงแบบผานเยื่อหุมเซลลกับไมผา นเยื่อหุมเซลล
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู เรือ่ งการลาํ เลียงสารผา นเซลล

39

แบบฝก หดั ที่ 3
เรอื่ ง การลาํ เลยี งสารผา นเซลล

ชอื่ ..........................................................................................ชน้ั .......................เลขที่..............

คาํ ชีแ้ จง

จงตอบคําถามตอไปนี้
1. นํา้ เกลือทแ่ี พทยใหก ับคนไขควรมคี วามเขม ขน เทา ใดจึงจะปลอดภยั เพราะเหตใุ ด
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
2. นกั เรยี นคดิ วาแรงดันเตงกับแรงดนั ออสโมซสิ มีความสัมพนั ธกันอยา งไร
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
3. การเคลือ่ นที่ของสารผานเซลลแบบใชพลงั งานมีความสําคญั ตอสงิ่ มชี วี ติ อยา งไร พรอมยกตวั อยา ง
อธบิ ายเหตผุ ลประกอบ
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
4. ถานําชน้ิ ของมันฝร่งั ตดั เปนแทงส่ีเหล่ียม 2 ชิ้น ชิน้ ที่ 1 นําไปแชใ นสารละลายนา้ํ ตาลเขมขน 10%
ชิน้ ที่ 2 นําไปแชใ นนา้ํ กลนั่ นักเรียนคิดวา จะเกดิ อะไรข้ึนกับมนั ฝรงั่ ช้ินที่ 1 และชน้ิ ที่ 2
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
5. นกั เรยี นนําหลักการออสโมซิสของนาํ้ ไปใชป ระโยชนในชีวติ ประจําวนั ในเรื่องใดบา ง
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู เร่ืองการลาํ เลียงสารผา นเซลล

40

แบบทดสอบหลงั เรยี น

เรอ่ื ง การลาํ เลยี งสารผา นเซลล

คําช้ีแจง

แบบทดสอบน้ีมจี ํานวน 10 ขอ ใชเวลาทํา 10 นาที จงเลือกคําตอบที่ถกู ตองทสี่ ดุ เพยี งขอเดยี ว
แลว ทําเครือ่ งหมาย  ลงในชอ ง  ทีเ่ ลือกบนกระดาษคําตอบ
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. เม่ือนํากระเพาะปส สาวะของสกุ รมาบรรจุสารละลายนํ้าตาล รัดปลายทั้งสองดา นใหแนน และนําไป
ชั่งนํา้ หนกั จากนัน้ นําไปแชในนํ้ากลัน่ และชง่ั น้ําหนักเปนระยะๆ กราฟใดแสดงการเปลย่ี นแปลง

นํา้ หนักของกระเพาะปสสาวะไดถ ูกตอ ง

ก. น้ําหนัก (กรมั ) ข. นา้ํ หนกั (กรมั )

เวลา (ชม.) ง. เวลา (ชม.)

ค. น้าํ หนัก (กรัม)

น้าํ หนกั (กรัม)

เวลา (ชม.) เวลา (ชม.)

ชุดกิจกรรมการเรียนรู เรื่องการลาํ เลยี งสารผานเซลล

41

2. เมือ่ หยดนาํ้ เกลือลงบนสไลดทีม่ ใี บสาหรายหางกระรอกอยู จะสังเกตเหน็ การเปลีย่ นแปลงของเซลล

คลายกับทีเ่ กดิ ข้ึนเม่อื หยดสารใดมากท่สี ดุ และเกดิ เรว็ ทส่ี ุด

ก. นา้ํ กลน่ั ข. นํา้ นมสด

ค. นํา้ เชือ่ ม ง. แอลกอฮอล

3. เซลลเมด็ เลือดแดงของคนจะมแี รงดนั เตงสูงขนึ้ เร่ือย ๆ เม่ืออยใู นสารละลายในขอใด

ก. นํา้ กลัน่ ข. น้ํากลัน่ 0.85%

ค. นํา้ เชื่อม 5% ง. นํา้ เกลือ 10%

4. การหลง่ั เพปซโิ นเจนออกจากเซลลผนังกระเพาะอาหารอาศัยกระบวนการใด

ก. กระบวนการแพร ข. กระบวนการเอกโซไซโทซีส

ค. การลาํ เลียงแบบฟาซิลิเทต ง. การลําเลียงแบบใชพ ลงั งาน

5. ลอกผวิ ใบวา นกาบหอยแลว แชลงในสารละลายนาํ้ ตาลกลูโคส เมื่อนาํ มาสองดดู วยกลองจุลทรรศน

เห็นลักษณะดังภาพ

ผนงั เซลล

เยื่อหุมเซลล

สารละลายน้าํ ตาลกลูโคสนีเ้ ปนสารละลายประเภทใดเมื่อเทียบกบั สารละลายในเซลลผ ิวใบ

ก. สารละลายไฮโพโทนิค

ข. สารละลายไฮเพอรโ ทนิค

ค. สารละลายไอโซโทนิค

ง. อาจเปนขอ ข หรือ ค ก็ได

6. ขอ ใดเปน การเคลื่อนทขี่ องสารแบบฟาซลิ ิเทต

ก. การเคล่ือนที่ของละอองเกสรในนาํ้

ข. การเคลอื่ นท่ีของนํ้าตาลในเลอื ด

ค. การเคลอื่ นทขี่ องนํ้าตาลเขาลําไสเ ลก็

ง. การเคลอื่ นที่ของเกลือในหนวยไต

7. กระบวนการลาํ เลียงของสารผา นเขา และออกจากเซลลตอ งอาศยั ตัวพา คอื สารใด

ก. ไขมนั ข. โปรตนี

ค. RNA ง. DNA

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู เรื่องการลาํ เลียงสารผา นเซลล

42

8. เซลลจะไมเปนอนั ตรายเมื่ออยูในสภาพแวดลอ มที่มีความเขมขนอยา งไร
ก. เทากับสารภายในเซลล
ข. นอ ยกวาสารภายในเซลล
ค. มากกวาสารภายในเซลล
ง. บอกแนนอนไมได

9. แอกทีฟทรานสปอรต เปน การเคลอ่ื นที่ของสารจากทมี่ ีความเขมขนในขอใดถูกตอง
ก. มากไปนอย โดยอาศัยพลังงานจากเซลล
ข. มากไปนอย โดยไมอาศัยพลงั งานจากเซลล
ค. นอยไปมาก โดยอาศัยพลังงานจากเซลล
ง. นอ ยไปมาก โดยไมอาศัยพลังงานจากเซลล

10. ขอใดตอไปนอ้ี าศยั กระบวนการเอกโซไซโทซีส
ก. การทําลายเช้ือโรคของเซลลเ มด็ เลือดขาว
ข. การขบั เกลือแรสว นเกนิ ออกทางเหงือกของปลาทะเล
ค. การหลั่งเอนไซมยอยอาหารออกมาจากเยือ่ บผุ ิวลาํ ไสเลก็
ง. การนาํ อนุภาคขนาดใหญเ ขาสูเซลลของอะมบี า

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู เรอ่ื งการลําเลยี งสารผา นเซลล

43

กระดาษคําตอบ
แบบทดสอบวัดผลกอนเรยี นและหลังเรียน เรอ่ื ง การลาํ เลยี งสารผานเซลล

ชื่อ............................................................................................ชัน้ ..................เลขท.ี่ .............

แบบทดสอบกอ นเรียน แบบทดสอบหลังเรียน

ขอ คาํ ตอบ คะแนน ขอ คาํ ตอบ คะแนน

1. 1.

2. 2.

3. 3.

4. 4.

5. 5.

6. 6.

7. 7.

8. 8.

9. 9.

10. 10.

รวม รวม

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู เรื่องการลําเลียงสารผา นเซลล

44

เอกสารอางองิ

การลาํ เลียงสารเขา และออกจากเซลล. (ม.ป.ป.). (ออนไลน) . แหลง ท่ีมา : http://student.
nu.ac.th/u46410023/lesson%205.htm (16 มิถนุ ายน 2555).

จุติมา จนั ทรต ระกลู . (2553). หนงั สือเรียนรายวิชาพืน้ ฐาน ชวี วิทยา 4 – 6 ช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี
4 – 6. พิมพคร้งั ที่ 1. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั สาํ นกั พมิ พเอมพันธ จํากัด.

ประดิษฐ เหลาเนตร, ณัฐภสั สร เหลาเนตร และ ภักดี รัชตวภิ าสนนั ท. (2553). หนงั สอื เรียน
รายวิชาพ้นื ฐานกลุมสาระการเรียนรูว ิทยาศาสตร ชีววิทยา ชนั้ มธั ยมศึกษาปท ี่ 4 – 6.
กรุงเทพฯ : บริษทั ว.ี พริน้ ท (1991) จาํ กดั .

พเยาว ยนิ ดีสุข, วิภา เกยี รติธนะบํารุง และ สายสวาท สวุ ณั ณกฏี ะ. (2554). หนงั สือเรียน
รายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตรชวี ิตกับสิ่งแวดลอมส่งิ มีชีวิตกับกระบวนการดาํ รงชวี ติ
ชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 4 – 6 กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร. กรงุ เทพฯ :
บริษัทพัฒนาคณุ ภาพวิชาการ (พว.) จํากัด.

พมิ พเพ็ญ พรเฉลมิ พงศ เกยี รตคิ ณุ รัตนาปนนท และ นธิ ิยา รตั นาปนนท. (ม.ป.ป.)
การแยกสารผา นเยื่อ. (ออนไลน) . แหลงที่มา : http://www.foodnetworksolution.com/
wiki/word/0640/dialysis- (16 มิถุนายน 2555).

ฤทธ์ิ วฒั นชยั ยิ่งเจริญ. (ม.ป.ป.). หนงั สือเรยี นรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร สิ่งมีชวี ิต
กับกระบวนการดาํ รงชวี ิต ชีวติ กับสิ่งแวดลอม. พมิ พครงั้ ที่ 1. กรงุ เทพฯ :
บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากดั .

วีระชาติ สวนไพรนิ ทร และคณะ. (2553). รวมขอสอบวทิ ยาศาสตร O-net . กรงุ เทพฯ :
หางหนุ สว นจํากัดสาํ นักพิมพภมู ิบัณฑิต.

สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี, สถาบัน. (2547). หนังสอื เรยี นสาระการเรียนรูพื้นฐาน
ชวี ติ กับส่งิ แวดลอมสงิ่ มชี ีวิตกบั กระบวนการดาํ รงชีวิตกลุมสาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร
ชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 6. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พค ุรุสภาลาดพรา ว.
. (2551). หนงั สอื เรยี นสาระการเรียนรูพื้นฐานและเพิม่ เติม ชวี วิทยา เลม 1
ชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี 4. พมิ พค รั้งท่ี 8. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ สกสค. ลาดพรา ว.

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู เรอ่ื งการลําเลียงสารผานเซลล


Click to View FlipBook Version