The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Jintaana Mahingsa, 2021-09-21 03:57:00

ผ้าซิ่นตีนจกของชุมชนลาวคลั่ง บ้านบ่อกรุ จังหวัดสุพรรณบุรี

ผ้าซนิ่ ตีนจกของชุมชนลาวคลั่ง บา้ นบอ่ กรุ จงั หวัดสุพรรณบุรี

จัดทำโดย
นางสาว จนิ ตนา มหงิ ษา
รหัสนกั ศึกษา 61131113060

เสนอ
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์กรกมล ชูชว่ ย

รายงานฉบบั นี้เปน็ ส่วนหน่งึ ของรายวชิ า
วชิ าวทิ ยาศาสตรส์ ่งิ แวดล้อม (SCC3301)
คณะครศุ าสตร์ สาขาวทิ ยาศาสตร์ท่ัวไป

มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสุนนั ทา
ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564



คำนำ

รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึง่ ของรายวิชา วิทยาศาสตร์ส่ิงแวดล้อม (SCC3301) โดยมีจุดประสงค์ เพื่อ
การศึกษาความรู้ที่ได้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นผ้าซินตีนจก ลาวครั่ง หมู่บ้านบ่อกรุ ตำบลบ่อกรุ อ.เดิมบางนาง
บวช จงั หวดั สุพรรณบุรี ซ่งึ รายงานฉบบั นม้ี ีเนื้อหาเกี่ยวกบั วถิ ีชวี ิตหมู่บ้านบ่อกรุ ลาวคลั่ง ความเป็นมาของลาว
คลั่ง จังหวัดสุพรรณบุรี การแต่งกายของคนไทยเชื้อลาวคลั่ง ประวัติการทอผ้าซิ่นตีนจกเอกลักษณ์ของผ้าซ่นิ
ตีนจก กรรมวิธีการผลิตผ้าซิ่นตีนจก วัสดุที่ใช้ในการทอผ้าของลาวครั่งบ่อกรุ ประโยชน์ของผ้าซิ่นตีนจก อัน
แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ของจงั หวัดสุพรรณบุรี

ผู้จัดทำได้เลือก หัวข้อนี้ในการทำรายงาน เนื่องจากเป็นเรื่องที่น่าสนใจ รวมถึงเป็นการเผยแพร่ภูมิ
ปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดสุพรรณบุรีให้เป็นประโยชน์กบั ผู้อ่าน ที่กำลังหาข้อมูลเรื่องน้ีอยู่ ผู้จัดทำขอขอบคณุ
คณุ สพุ ศิ ศรพี นั ธุ์ หวั หนา้ สำนกั งานปลดั เทศบาลตำบลบ่อกรุ ซึง่ เปน็ ผูเ้ ช่ยี วชาญและวิทยากรด้านผา้ ทอลาวคร่ัง
ประจำตำบลบ่อกรุ คุณคุณพัสวี กาฬภักดี และผู้ดูแลศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนเพื่อพ่อหลวงเทศบาลตำบล
บ่อกรุ ผู้ให้ความรู้เกี่ยวกับรายงานเล่มนี้ อาจารย์กรกมล ชูช่วย ผู้แนะแนวทางการศึกษา เพื่อนทุกคนที่ให้
ความชว่ ยเหลือมาโดยตลอด ผจู้ ัดทำหวงั ว่ารายงานฉบับนี้จะให้ความรู้ และเป็นประโยชนแ์ กผ่ ้อู ่านทุก ๆ ทา่ น

ผจู้ ัดทำ

สารบัญ ข

เร่อื ง หน้า

คำนำ ก
สารบญั ข
วิถีชีวิตหมู่บา้ นบอ่ กรุ ลาวครั่ง 1
ความเปน็ มาของลาวคลั่ง จงั หวดั สพุ รรณบุรี 1
การแต่งกายของคนไทยเช้ือลาวคร่ัง 2
ประวัตกิ ารทอผา้ ซน่ิ ตนี จก 4
เอกลกั ษณ์ของผา้ ซ่ินตนี จก 6
กรรมวธิ กี ารผลิตผา้ ซิ่นตีนจก 6
วัสดทุ ่ใี ชใ้ นการทอผา้ ของลาวครงั่ บา้ นบอ่ กรุ 8
ประโยชน์ของผ้าซน่ิ ตีนจก 10
บรรณานุกรม 11
ภาคผนวก 12

1

1.วิถีชีวติ หมู่บา้ นบอ่ กรุ ลาวครง่ั อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสพุ รรณบุรี

วิถีชีวิตของชาวตำบลบอ่ กรุ อำเภอเดมิ บางนางบวช จังหวัดสุพรรณบรุ ี มีลักษณ์คล้ายคนไทยภาคกลาง
ทัว่ ไป แตม่ เี อกลักษณ์ประจำท้องถ่นิ เปน็ ของตนเองได้แก่ ภาษา การแต่งกาย พธิ ีกรรม ความเชอื่ ประเพณีต่างๆ
เช่น ประเพณีการยกธงสงกรานต์ สารทลาว บวชพระ แต่งงาน ที่ดำเนินการแตกต่างจากชุมชนทัว่ ๆไป และยังมี
การปฏบิ ัติอย่างเคร่งครัด การท่ีประชาชนในตำบลบ่อกรุ อำเภอเดมิ บางนางบวช จงั หวดั สุพรรณบุรี มีเอกลักษณ์
ดงั กล่าวเน่อื งมาจากบรรพบุรษุ ชาวลาวครั่งไดอ้ พยพมาจากอาณาจักรเวยี งจันทร์ และหลวงพระบางและทำงตอน
เหนือของลาวพรอ้ มกับคนลาวกลุม่ อน่ื ๆ มาอาศัยอยบู่ ริเวณภาคกลางของประเทศไทย สำหรับจงั หวัดสุพรรณบุรี
ชาวลาวคร่งั สว่ นมากจะมาอาศัยอยใู่ นตำบลบ่อกรุ ตำบลหนองกระทุ่ม ตำบลป่าสะแก ในอำเภอเดมิ บางนางบวช

2.ความเปน็ มาของลาวครงั่ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

สุพิศ ศรีพันธ์ุ (2555) กล่าวว่า การปรากฏตัวของชาวลาวครั่งในประเทศไทย พบว่ามีการอพยพ
โยกย้ายถิ่นฐานในรัชสมัยกรุงธนบุรี ดังปรากฏหลักฐานในปี พ .ศ. 2314 ด้วยเหตุผลทำงการเมืองระหว่าง
ประเทศ โดยเข้ามาตั้งบา้ นเรือนแถบนครชัยศรี พร้อมทั้งอัญเชิญพระแก้วมรกตและพระบางลงมาประดิษฐาน
ณ กรุงธนบุรี ในปี พ.ศ. 2358 ในสมัยรัชกาลท่ี 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เจำเมืองเวียงจันทน์ ได้ส่งครอบครัว
ลาวเมืองภูครงั มายังกรงุ เทพมหานคร โปรดให้ไปต้งั บ้านเรือนท่ีนครชัยศรี และในสมัยของรชั กาลที่ 3 ชาวลาว
ครงั่ ซ่งึ มถี ิน่ ฐานเดิมอยูท่ เ่ี มืองภูครงั ซง่ึ ตง้ั อยบู่ นฝัง่ ซ้ายของแม่น้ำโขง ไดถ้ กู กวาดต้อนมาในประเทศไทยอีกคร้ัง
ในสมยั ท่ไี ทยไดท้ ำสงครามกับญวนโดยในการยกทัพกลบั จากญวนยกทัพผา่ นลาวได้ต้งั มนั่ ช่วั คราวอยู่ที่เมืองภูค
รังแล้วจึงนำชาวลาวเหลา่ นี้มาด้วย และโปรดใหไ้ ปตั้งมั่นอยู่ที่เมืองสุพรรณบรุ ีและเมืองนครชยั ศรีจึงไดเ้ รียกวา่
ลาวภคู รังหรอื ลาวครง่ั (เวบ็ ไซต์เทศบาลตำบลบอ่ กรุ, โรงเรียนบอ่ กรวุ ทิ ยา, 2559: ออนไลน์) นายสง กาฬภักดี.
(2547) ให้สัมภาษณ์ที่มาของชาวลาวคร่ังในตำบลบ่อกรุไว้ดังนี้ บรรพบุรุษลาวครั่งกลุ่มหนึง่ ซึ่งมีนายวันนากบั
นายกัณหาเป็นหวั หน้ำพร้อมเพอื่ นจำนวน 9 ครอบครวั ไดอ้ พยพหนภี ยั แล้งจากหมบู่ า้ นหนองเหียงใหญ่ อำเภอ
เลาขวัญ จังหวัดกาญจนบุรี มาตั้งถิ่นฐานที่ลลำห้วยกุดเข้ ในเวลาต่อมาชาวบ้านเรียกห้วยกุดเข้ว่า บ้านบ่อตุ
(ปัจจุบันคือบ่อกรุ) ในปีเดียวกันครอบครัวนายทองดี และนายลานเป็นผู้น้ำในการอพยพชาวบ้านอีกหลาย
ครอบครัวจากบ้านทุ่งกะโหลก อำเภอเลาขวัญจังหวดั กาญจนบรุ ี มาสบทบบรเิ วณลำห้วยกดุ เข้ มีลักษณะพื้นที่
กว้างและยาวมีน้ำขังตลอดปีจึงมีความอุดมสมบูรณ์รองรับผู้อพยพได้มาก จึงมีชาวลาวครั่งจากบ้านลำเหย
อำเภอกำแพงแสน จงั หวัดนครปฐม อพยพตามมา อาชพี ของชาวลาวคร่ังกลุ่มนี้หาเลีย้ งชีพด้วยการปลูกข้าวไร่
และปลูกหม่อนเลี้ยงไหม และมีวัฒนธรรมที่สำคัญ คือ การทอผ้าสำหรับใช้ในชีวิตประจำวันและใช้ในการ
ประกอบพิธีกรรมต่างๆ ดังนน้ั ชาวลาวคร่ังท่ีตำบลบ่อกรุ ในปัจจบุ นั จึงประกอบดว้ ยลาวครั่ง 2 สาย ได้แก่ ชาว
ลาวครั่ง ที่มาจากบ้านหนองเหยี งใหญ่ และบา้ นทุ่งกะโหลก อำเภอเลาขวัญ จงั หวัดกาญจนบรุ ี กับชาวลาวครง่ั
ที่มาจากอำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม เมื่อมีประชากรเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จึงมีการขยับขยายหาพื้นที่ในการ
เพาะปลูกเพิ่มขึ้น โดยนายเหลือ กาฬภักดี (2547) ให้ข้อมูลว่าใน ปี พ.ศ. 2476 ครอบครัวของนายเชียงบุญ

2

และนางสีดา กาฬภักดี กับชาวลาวครั่งประมาณ 5 ครอบครัวได้เดินทำงมาจับจองที่ดินบริเวณบ้านทุ่งกระถิน
ปจั จุบันเพอ่ื ทำไร่ ทำนา สว่ นนายโสม กาฬภกั ดี (2547) ให้ขอ้ มลู วา่ อีกสาเหตุหน่ึง เกิดจากบา้ นบอ่ ตุเกิดโรคห่า
จึงทำให้ชาวบา้ นอพยพมาท่ีบ้านทุ่งกระถินซึง่ หา่ งจากบ้านบ่อกรปุ ระมาณ 1 กิโลเมตร ทำงทิศตะวันตก และตั้ง
ชื่อวา่ บ้านทุ่งกระถนิ ซ่ึงสันนษิ ฐานว่าพื้นท่ีบริเวณนี้เปน็ ป่ากระถิน ตอ่ มาทำงราชการกำหนดให้มีชื่อหมู่บ้านจึง
ตั้งชื่อเป็น บ้านทุ่งกฐิน (พระสยาม กาฬภักดี.2558.) ในสมัยที่ลาวครั่งอพยพลงมาอยู่ที่ประเทศสยามได้เลี้ยง
ครั่งไว้สำหรับย้อมผ้าซึง่ เป็นส่ิงที่ถนดั และคุน้ เคย ดังนั้นคนไทยจึงเรยี กลาวกลุ่มน้ีว่า ลาวครั่งหรอื ลาวขีค้ ร่ัง ซึ่ง
อาจจะเป็นที่มาของชื่อลาวครั่ง เพราะสีแดงที่ได้จากครั่งเป็นสีที่เป็นเอกลักษณ์โดดเด่นและสดใสที่ใช้ในการ
ย้อมผ้าเพื่อใช้ทอเป็นผ้าจกของชาวลาวครั่ง จังหวัดสุพรรณบุรี อำเภอที่มีชาวลาวครั่งอยู่จะมีในเขตอำเภออู่
ทอง อำเภอด่านชา้ ง และอำเภอเดิมบางนางบวช โดยเฉพาะอย่างยิ่งอำเภอเดิมบางนางบวช นั้นมีชาวลาวครง่ั
อาศัยอยู่ 2 จำนวน 3 ตำบล ได้แก่ ตำบลป่าสะแก ตำบลบ่อกรุ และตำบลหนองกระทุ่ม ซ่ึงจำนวนประชากร
ส่วน ใหญ่เกือบ ร้อยละ 80 เป็นชาวลาวครั่งที่มีภาษา วัฒนธรรม และประเพณีที่แตกต่างออกไปนอกจากนั้น
ยงั มผี ้าทอท่สี วยงามและประณีตท่ีควรคา่ แก่การอนุรักษเ์ ปน็ อยา่ งยิ่ง นายพยนต์ กาฬภกั ดี (2552) ได้ให้ข้อมูล
ว่าชาวลาวครั่งในเขตอำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี อาศัยอยู่ในตำบลป่าสะแก บ้านวัดขวาง บ้าน
ทุ่งกำนเหลือง และบ้านใหม่ไร่อ้อย จะใช้นามสกุล “ภูฆัง” ส่วนลาวครั่งร้อยละ 80 ซึ่งอาศัยอยู่ที่ตำบลหนอง
กระทุ่มและตำบลบ่อกรุ ส่วนใหญ่ใช้นามสกุล “กาฬภักดี”เอกลักษณ์เฉพาะตัวของชาวลาวครั่งที่สามารถ
แบ่งแยกได้ทันทีที่พบเห็น อ ภาษาพูด ซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ที่มีเสียงวรรณยุกต์เป็นเสียงสูง ชาวลาวครั่ง
มักเรียกตัวเองตามสำเนียงภาษาท้องถิน่ ว่า“ลาวขีค้ ัง”หรือ“ลาวคงั ”กลุม่ คนไทยเช้ือสายลาวครั่งนับถอื ศาสนา
พุทธและพราหมณ์ มีความเชื่อในเรื่องผีบรรพบุรุษรักษาวัฒนธรรม ประเพณี และความเชื่อที่มีอิทธิพลต่อ
ชีวิตประจำวันของตนเอง ซึ่งการสืบทอดวัฒนธรรมที่เป็นทั้งรูปธรรมและนามธรรมดั้งเดิมของเผ่าพันธุ์ไว้เป็น
อย่างดี ประเพณที ี่สืบทอดกันมาต้ังแต่บรรพบุรุษยังคงอยจู่ นถึงปจั จุบนั น้ี ไดแ้ ก่ ประเพณียกธง ที่ยังยึดถือและ
สืบต่อปฏิบัติกันมาโดยจัดขึ้นในเดือนเมษายนของทุกปี และประเพณีขึ้นศาลจำวนาย ชาวลาวครั่งจะมีความ
ผูกพันทำงเครือญาติสูงมาก ซึ่งถือว่าเป็นเหตุผลที่มีการดำรงอยู่ของเผ่าพันธุ์และการธำรงไว้ซึ่งเอกลักษณ์
เฉพาะตัวสำหรับประเพณียกธงนั้น เป็นการแสดงออกถึงความสามัคคีและร่วมมือร่วมใจของประชาชนใน
ท้องถนิ่

3. การแต่งกายของคนไทยเชอ้ื ลาวครง่ั

การแต่งกายของชาวลาวครั่งในอดีต มีลักษณะการแต่งกายไม่มีอะไรแสดงถงึ เอกลกั ษณ์ที่เด่นชัดส่วน
ใหญ่จะนิยมแต่งกายแบบเรียบง่าย เช่น “แต่ก่อนผู้ชายจะสวมกางเกงขาก๊วยสั้นเพียงเข่าส่วนเสื้อจะสวมเส้ือ
หม้อฮ่อมแขนสั้นที่ย้อมด้วยครามสีดำ หรือไม่เช่นจะสวมเสื้อผ้าฝ้ายสีขาวแขนสั้น และใช้ผ้าขาวม้าคาดเอว
ส่วนผู้หญิงชอบนุ่งผ้าซิ่นคลุมเข่า นิยมสวมกำไลมือและกำไลเทำ นุ่งซิ่นหมี่ตีนแดง มีดอก หรือลวดลายต่างๆ
และมีผ้าคาดที่อกเรียกว่า “บิงนม” หรือถ้าเป็นหญิงสูงอายุบางทีก็ไม่มีอะไรคาดเลย หรืออาจสวมเสื้อคอ
กระเช้ามีเสื้อหม้อฮ่อมแขนยาวสวมทับอีกชั้นหนึ่งแล้วมีผ้าสไบพาดเฉวียงบ่า ทรงผมผู้ชายจะตัดสั้นทรงดอก
กระทุ่ม สว่ นหญงิ จะตัดผมส้ัน” ในปัจจุบันการแต่งกายของชาวลาวคร่ังมีลักษณะคล้ายกับแบบท่ีนิยมท่ัวไปใน

3

สังคมไทย แต่ผู้หญิงจะนิยมนุ่งห่มซิ่นมัดหมี่ตีนแดงในงานโอกาสพิเศษ เช่น พิธีแต่งงาน พิธีงานบวช งาน
ประเพณี หรืองานบุญเทศกาลต่างๆ การจัดงานประเพณีหรืองานที่มีการรวมกลุ่มที่เป็นงานซึ่งแสดงออกถึง
ความสามัคคีของหมู่คณะหรือการรับแขกคนสำคัญของท้องถิ่น ผู้ชายจะมีผ้าขาวม้าคาดเอวเป็นลายตาราง
หมากรุก 5 สีส่วนผู้หญิงจะมีการแต่งกายด้วยผ้าทอมัดหมี่ตอ่ ผ้าซิ่นตีนจก นอกจากนั้นชาวลาวครั่งยังนิยมทอ
ผ้าห่มซึ่งมักทอเป็นผืนใหญ่มีลายท้องฟ้าและลายเชิงชาย มักจะใช้สีที่ตัดกันมีสีอื่นแซมประปราย ส่วนผ้าม่าน
ทอเป็นลวดลายรูปสัตว์ต่างๆ แต่เดิมนั้นเป็นของที่ชาวลาวครั่งทอมาถวายวัด ปัจจุบันชาวลาวครั่งทอผ้าม่าน
เพื่อขายซึ่งจะทอเมื่อมีผู้สั่งเท่านั้น การทอผ้าในปัจจุบันมีการปรับเปลี่ยนตามความต้องการของตลาด โดย
อาจจะมีการทอเป็นที่รองจาน ผ้าคลุมเตียงหรือผ้าตัดเสื้อแล้วแต่จะมีคนมาว่าจำงให้ทำ การทอผ้าจึงเป็น
วฒั นธรรมหนง่ึ ท่ีโดดเดน่ ของกลุ่มลาวครง่ั เพราะแสดงออกถงึ ภูมิปัญญาที่สบื สานมาจากบรรพบรุ ษุ ปัจจบุ ันชาว
ไทยเชื้อสายลาวครั่งหรือไทครั่งยังคงสืบทอดการทอซิ่นลวดลายแบบดั้งเดิมอยู่ ผ้าซิ่นของชาวไทครั่งนั้นมี 4
แบบ คือ 1) ผ้าซ่นิ หมโ่ี ลด นิยมทำเป็นลายหม่ีสำเภา หมี่ 3 จรวด หมโี่ คม 2) ผา้ ซ่นิ หม่ตี า นยิ มทำเป็นลายนาค
ลายหงส์ ส่วนลายขิดนิยมทำเป็นลายดอกจันทร์ดอกแก้ว ขิดฟันปลา 3) ผ้าซิ่นหมี่น้อย นิยมทำเป็นลายนาค
และ 4) ผ้าซิ่นก่าน เป็นซิ่นสองตะเข็บ ใช้เป็นหัวซิ่น การแต่งกายของชาวลาวครั่งบ้านบ่อกรุและบ้านทุ่งกฐิน
นั้น นิยมสีสันที่ให้ความร้อนแรงโดยเฉพาะ สีแดงของครั่งซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของชาวลาวครั่ง นอกจากนั้นยังมี
ลวดลายที่ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวได้ โดยการน้ำความเชื่อเกี่ยวกับสัตว์ต่างๆ ที่ปรากฏในวรรณกรรมศาสนา
เช่น นาค คชสีห์(ตัวมอม) หงส์ (นก) สิงห์ เป็นต้น หญิงสาวชาวลาวครั่งจะได้รับการฝึกฝนการทอผ้าจากย่า
ยาย ป้าและแม่ จึงมีความสามารถในการทอผ้าโดยประดิษฐ์ชิ้นงานออกมาด้วยสีสันลวดลายที่ให้ความงดงาม
และแสดงออกถึงคุณสมบัติของกุลสตรีที่ดีงามและมีความพร้อมจะออกเรือนได้ ผ้าทอนอกจากใช้ใน
ชีวิตประจำวันเพื่อการนุ่งห่ม ได้แก่ ผ้าซิ่น ผ้าขาวม้า ปลอกหมอน แล้วยังน้ำไปใช้ในพิธีกรรมในงานบวช งาน
แต่ง หรือใช้ในประเพณีต่างๆ เช่น ประเพณียกธงสงกรานต์ งานแห่เจำพ่อดงไม้งาม เป็นต้นหรืองานทำง
พระพุทธศาสนา เช่น ผ้าห่อคัมภีร์ ผ้าจุลกฐิน เป็นต้น (เพิ่ม ภูฆัง และจำปา พุ่มจำปา.2547) หลังช่วงทำนา
ปลูกข้าวเสร็จแล้วชาวลาวครั่งจะปลูกฝ้าย ปลูกหม่อน ไว้ตามจอมปลวกหรือบริเวณรอบๆ บ้าน เมื่อถึงช่วง
เดือนธันวาคม-มกราคม ซึ่งเป็นช่วงฤดูหนาวฝ้ายจะแก่เต็มที่ชาวลาวครั่งจะเริ่มเก็บฝ้ายตากแดดเพื่อน้ำมาทำ
ดำยทอผ้า ถ้าต้องการสีก็น้ำมาย้อมสี การย้อมสีมักจะใช้วัสดุจากธรรมชาติ เช่น ต้นไม้ รากไม้ ลูกไม้ เช่น ลูก
มะเกลอื คราม เป็นต้น

4

4. ประวัติการทอผา้ ซนิ่ ตนี จก

ซิ่น เป็นผ้านุ่งของผู้หญงิ มีลักษณะที่แตกต่างกันไปตามท้องถิ่น ทั้งขนาด การนุ่ง และลวดลายบนผืน
ผา้ โดยมีการสวมใส่ในประเทศลาวและประเทศไทย โดยเฉพาะทำงภาคเหนือและภาคอีสานของไทย ซึ่งผ้าซิ่น
เป็นความภาคภูมิใจอย่างหนึ่งของหญิงไทยในสมัยโบราณ การทอผ้าเป็นงานในบ้าน ลูกผู้หญิงมีหน้าที่ทอผ้า
แม่จะสั่งสอนให้ลูกสาวฝึกทอผ้าจนช้านาญ แล้วทอผ้าผืนงามสำหรับใช้ในโอกาสพิเศษ เช่น งานแต่งงาน งาน
บวช หรืองานบุญประเพณีต่างๆ การนุ่งผ้าซิ่นที่สวยงาม จาการทอด้วยฝีมือของผู้สวมใส่จะเป็นที่กล่าวขวัญ
และชนื่ ชมอย่างกว้างขวาง จงึ เปน็ เสมือนการแสดงฝีมอื ของผู้หญิงใหป้ รากฏแกช่ มุ ชน

ผ้าซิ่นของไทยมักจะแบ่งได้เป็นสองลักษณะ คือ ผ้าซิ่นสำหรับใช้ทั่วไป มักจะไม่มีลวดลาย ทอด้วยผ้า
ฝ้ายหรือด้ายจากโรงงานในปัจจุบัน อาจใส่ลวดลายบา้ งเล็กน้อยในเน้ือผา้ และผ้าซิ่นสำหรับใชใ้ นโอกาสพิเศษ
มักจะทอด้วยความประณตี เปน็ พเิ ศษ มกี ารใส่ลวดลาย สีสันงดงาม และใชเ้ วลาทอนานนับเดือน

ขนาดและลกั ษณะของผ้าซ่นิ น้ันข้นึ กับฝมี ือ ในสมัยกอ่ นการทอผา้ จะใช้กีห่ นา้ แคบก็จะได้ผ้าที่หน้าแคบ
ไปด้วย ดังนั้นเมื่อจะน้าผ้าซิ่นมาใช้งานจริงจึงต้องน้ามาต่อเป็นผืนให้กว้างขึ้น ปัจจุบันในตำบลบ่อกรุนิยมทอ
ผ้าซิ่นที่ใช้กี่ขนาด 150 เซนติเมตร จึงไม่ต้องต่อผืนอย่างในสมัยก่อน การแต่งกายด้วยผ้าซิ่นของหญิงไทยเชื้อ
สายลาวครั่งนั้น ผ้าซิ่นจะประกอบไปด้วยส่วนตัวผ้าซิ่น นิยมทอด้วยผ้ามัดหมี่ทอแซมสลับกับการ “ทอ
แบบขิด” เป็นลายทำงเล็กๆ สีเหลืองหรือสีขาวคั่นระหว่างผ้ามัดหมี่เพื่อแบ่งช่องลวดลายผ้าสำหรับเน้น
ลวดลาย วตั ถุดบิ ที่ใช้ได้แก่ ผ้าฝ้าย ผ้าไหม หรือใยสังเคราะห์ ส่วนตนี จกสีแดงนนั้ ใช้เปน็ ชายซิ่นหรือเรียกกันว่า
ตีนซิ่นนั้น ความยาวใต้เข่าลงไป โดยเย็บต่อกันกับผ้ามัดหม่ีใหเ้ ป็นชายซิน่ จากนั้น ก็น้าผ้าตีนจกซึง่ ปกติจะมีสี
แดงมาเย็บตอ่ เป็นชายผา้ ซ่นิ สวมกับเสอ้ื ทต่ี ัดเย็บสวยงามประณตี ส่วนใหญม่ กั จะเปน็ เสอ้ื แขนกระบอกสีขาว สี
ครีมหรือสีที่เรียบร้อยไม่ฉูดฉาดตาหรือเสื้อผ้าลูกไม้ ส่วนผู้สูงอายุมักจะสวมกับเสื้อคอกระเช้าสีขาว วิธีสวม
ผ้าซิ่นตีนจกจะไม่สวมให้ยาวกรอมเพื่อความสะดวกในการก้าวเดิน ซึ่งการแต่งกายด้วยผ้าซิ่นตีนจกชนิดนี้ ถือ
ว่าเปน็ การแต่งกายใหเ้ กียรตแิ กผ่ ู้มาเยือนตา่ งถิ่นหรือใช้ในงานเทศกาลสำคัญเพื่อแสดงความความสามัคคี เช่น
งานประเพณียกธง งานสงกรานต์ เป็นต้น ส่วนผู้หญิงชาวลาวคร่ัง มักจะมีผ้าซิน่ ตีนจกคนละฝืนเท่านัน้ ในการ
สวมใส่ผ้าซนิ่ ตนี จกน้นั ผูส้ วมใส่จะระมดั ระวัง ดูแล รกั ษา ไม่ใหเ้ กดิ ความสกปรกขึ้นกับผ้าซนิ่ ตีนจก เม่ือใช้เสร็จ
มัก จะน้าออกไปผึ่งลม แล้วม้วนเก็บไว้ในบริเวณที่อากาศถ่ายเทได้สะดวก เพื่อเป็นการเก็บรักษาและยืดอายุ
การใช้งานให้ยาวนานขึ้น ปกติจะไม่ซักท้าความสะอาดบ่อยๆเพื่อเป็นการถนอมสีสนั และเน้ือผา้ ใหค้ งทนถาวร
เน่อื งจากถอื ว่าเป็นสมบัติของบรรพชนท่ีสบื ทอดถึงลกู หลาน

ผ้าซิ่นของชาวลาวคร่ังประกอบดว้ ย 3 สว่ นหลกั ได้แก่
1. หัวซิ่น เปน็ ส่วนบนสุดของซ่นิ ไมน่ ยิ มทอลวดลาย บางแห่งใชผ้ ้าขาวเย็บเปน็ หวั ซ่ิน และเหน็บพกไว้
เมื่อน่งุ จะมองไมเ่ ห็นจากภายนอก
2. ตัวซิ่น เป็นส่วนหลักของซิ่น อาจมีการทอลวดลายบ้างเล็กน้อยในลักษณะของลวดลายที่กลมกลืน
ไมใ่ ชล่ ายเด่น มกั เป็นสเี ดียวตลอด
3. ตีนซิ่น เป็นส่วนท้ายสุดของซิ่น ตำบลบ่อกรุนิยมทอลวดลายหมี่นก หมี่นาค และแมงกะเบี้ยเป็น
พิเศษ เชน่ ซ่นิ ตีนจก เปน็ ตน้

5

ภาพที่ 1 ผ้าซิน่ ตีนจก
ที่มา: https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/481318/

ช่างทอผ้าคนไทยเชอ้ื สายลาวคร่ังตำบลบ่อกรุ มคี วามคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละจนิ ตนาการหลากหลาย แม้จะ
มแี บบแผนประเพณีเดยี วกันแต่พบวา่ แต่ละท้องถิ่นมีเอกลักษณเ์ ฉพาะตวั หรือจะกลา่ วว่าเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ
ช่างทอก็ว่าได้ เพราะในลายเดียวกันแต่วธิ ีการใหจ้ งั หวะ การใช้คู่สี การแทรกสีลว้ นแตกต่างกันอย่างเห็นไดช้ ัด
และช่างทอบางคนให้สีสันบนลายผ้าที่สนุกสนานมีชีวิตชีวา ซึ่งสอดคล้องกับสโลแกนของคุณ สุนิศา ขุนพิลึก
(2560) ที่เป็นเจ้าของแบรนด์ “ผ้าซิ่นปริญญา” ที่อยู่อำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี ที่ว่า “สินค้าแต่ละชิ้น มี
เพียงชิ้นเดียว” การประยุกต์ลวดลายต่างๆช่างทอผ้าคนไทยเชื้อสายลาวครั่งตำบลบ่อกรุ สามารถทำได้ และ
สวยงาม แต่ไม่นิยมทำเพราะต้องการคงภูมิปัญญาดั้งเดิมให้ลูกหลานต่อไป โดยคงลายจกดั้งเดิมไว้ไม่นิยม
ประดิษฐ์ลวดลายขึ้นมาใหม่ และใช้สีส่วนมาก คือ สีแดง สีเขียว สีส้ม สีเหลือง สีชมพู สีด้า สีน้าเงิน ดังค้าให้
สัมภาษณ์ของคุณบุญตา กาฬภักดี และคุณบุญมี รโหฐาน ที่ว่า “คนที่นี่...ไม่ค่อยชอบคิดลายใหม่...ชอบเก็บ
รักษาภูมิปัญญาแบบดั้งเดิม ท้าให้เกิดการคงอยู่ของภูมิปัญญาดั้งเดิม ความจริงมีคนประยุกต์ลวดลายได้ค่ะ...
ทำได้ดีด้วย แต่เค้าไม่ชอบ เพราะอยากรักษาภูมิปัญญาดั้งเดิมไว้มากกว่า ชาวบ่อกรุทำเฉพาะผ้าไหมมัดหมี่
ลวดลายดั้งเดิม ไม่นิยมลวดลายสมยั ใหม่”

6

5.เอกลกั ษณ์ของผา้ ซนิ่ ตนี จก

การทอผา้ ซนิ่ ตนี จกลายโบราณของชาวลาวคร่ัง มีเอกลกั ษณท์ ี่ลวดลายและเทคนิคการทอ บนผ้าซิ่นท่ี
จะบ่งบอกถึงวิถีการดาเนินชีวิต ความเป็นอยู่ ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี ของชาวลาวครั่ง ผ้าที่เป็น
เอกลักษณ์ของชาวลาวครั่งจังหวัดสุพรรณบรุ ี คือ “ผ้าซิ่นมัดหมี่ต่อตีนจก” ซึ่งมีความสวยงาม ตั้งแต่การเลือก
เส้นไหม ฝ้าย และสี ให้มีความกลมกลืนกับลวดลาย และทอด้วยมือซึ่งต้องใช้เวลานับเดือน ในการสร้างสรรค์
ชน้ิ งานของผา้ แต่ละผนื โดยตัวซน่ิ ทอด้วยเส้นไหมทีม่ ัดหมเ่ี ป็นลวดลายแลว้ ทอสลบั กับลายขดิ ซึ่งเปน็ ลายเส้นต้ัง
แล้วต่อด้วยตีนจกซึ่งทอด้วยเส้นฝ้าย นิยมพื้นสีแดง มีลวดลายเป็นเรขาคณิตที่ไม่มีแบบแผนตายตัวขึ้นอยู่กับ
จนิ ตนาการของชา่ งทอแต่ละคน

6. กรรมวิธกี ารผลิตผา้ ซ่ินตนี จก

การทอผ้าซิ่นตีนจกของชาวลาวครั่งมีขั้นตอนและกรรมวิธีการทอที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ คือ ทอผ้าด้วย
เส้นดายไหมและเส้นดายฝ้าย โดยใช้หลักการทอผ้าเบื้องต้นที่นาเอาด้ายเส้นยืนและด้ายเส้นพุ่ง มาขัดกัน
เพื่อให้เกิดเป็นผืนผ้า ซึ่งด้ายเส้นยืนและเส้นพุ่งอาจเป็นด้ายสีเดียวกัน หรือต่างสีกันก็ได้ หรือนำเอาเส้นด้ายท่ี
เปน็ ดิ้นเงนิ หรือด้ินทองมาทอควบดา้ ยยนื หรือด้ายพุ่งก็ได้ เพ่อื ให้ผ้ามีความมนั ระยบั สวยงามยิ่งขึน้

เทคนิคพิเศษที่ใช้ในการทอผ้าซิ่นของชาวลาวครั่งในตาบลบ่อกรุ เพื่อให้เกิดลวดลายสวยงาม
แบง่ เปน็ 3 วิธี ไดแ้ ก่

1. การขิด เป็นกรรมวิธีในการทอผ้าเพื่อให้เกิดลวดลายต่างๆ โดยวิธีการเพิ่มเส้นด้ายพุ่งพิเศษ ใน
ระหว่างการทอ เพื่อให้เกิดลวดลายที่โดดเด่นกว่าสีพืน้ วิธีการทำ คือ ใช้ไม้เขี่ยหรือสะกิด เพื่อช้อนเสน้ ด้ายยืน
ขน้ึ แลว้ สอดเสน้ ดา้ ยพุ่งไปตามแนวทีถ่ ูกจัดช้อน จังหวะการสอดเสน้ ด้ายพุง่ นี่เอง ทท่ี ำให้เกดิ เปน็ ลวดลายต่างๆ

2. การจก เป็นเทคนิคการทอผ้าเพื่อให้เกิดลวดลายต่างๆ โดยเพิ่มเส้นด้ายพุ่งพิเศษสอดขึ้นลงวธิ ีการ
คอื ใช้ขนเมน่ ไม้ หรอื นิ้ว สอดเสน้ ด้ายยนื ขึน้ แล้วสอดเส้นดา้ ยพุ่งพิเศษเข้าไป ซง่ึ จะทำให้เกดิ เป็นลวดลายเป็น
ชว่ ง ๆ สามารถทำสลบั สีลวดลายได้หลากสี ซึ่งจะแตกต่างจากการขิดตรงท่ีขิดเป็นการใชเ้ ส้นด้ายพงุ่ พเิ ศษเพียง
สีเดียว การทอลักษณะนี้คล้ายการปักผ้าซึ่งใช้เวลานานมากมักทำเป็นผืนผ้าหน้าแคบใช้ต่อกับตัวซิ่น เรียกว่า
“ซน่ิ ตีนจก”

3. การมดั หม่ี เปน็ กรรมวธิ ีการทอผ้าท่ีใชเ้ ทคนิคการมดั ไหมหรือฝา้ ยดว้ ยเชอื กฟางเพ่ือให้เกิดลวดลาย
บนผ้า แล้วนำไปย้อมสี เม่อื ตอ้ งการยอ้ มสีอนื่ ก็นาฝา้ ยหรือไหมทต่ี ้องการย้อมไปมัด แล้วนำไปย้อมสีอ่ืนจะได้ไม่
ติดสีที่เคยย้อมมาก่อนแตะจะมีสีที่ซึมเข้ามาบางส่วน โดยย้อมเรียงลำดับจากสีอ่อนไปหาสีเข้มจนครบตาม
ลวดลายที่กำหนด หลังจากนั้นจึงนำด้ายกรอเข้าหลอดตามลาดับ แล้วนำไปทอจะเกิดลวดลายบนผืนผ้าที่มี
ลักษณะคลาดเคลื่อนเหลื่อมล้ำ อนั เปน็ เอกลกั ษณ์เฉพาะของมดั หมี่ การทอผา้ ชนิดน้จี ึงต้องอาศัยความชำนาญ
ในการมัดย้อมและทอเป็นอย่างมาก ผ้ามัดหมี่มีอยู่หลายชนิด ได้แก่ มัดหมี่เส้นพุ่ง มัดหมี่เส้นยืน และมัดหม่ี
เส้นยืนและเส้นพุ่ง ผ้าซิ่นมัดหมี่ต่อตีนจก ตัวซิ่นทอด้วยเส้นไหม โดยมัดหมี่เป็นลวดลาย แล้วทอสลับกับลาย
ขิดซึ่งเป็นลายเส้นตั้ง แล้วต่อด้วยตีนจกซึ่งทอด้วยเส้นฝ้าย นิยมพื้นสีแดง มีลวดลายเป็นเรขาคณิตที่ไม่มีแบบ

7

แผนตายตัวขึ้นอยูก่ ับจินตนาการของช่างทอแต่ละคน จากการสัมภาษณ์คุณบุญตาท่ีทอด้วยเทคนิคการมัดหมี่
และทอเฉพาะเส้นใยไหมเท่านั้น ในฤดูหนาวในอดีตจะมีการทำเส้นใยจากฝ้ายหรือตัวไหม ปัจจุบันนิยมสั่งซ้ือ
เส้นไหมจากจังหวัดขอนแก่น ทำให้ฤดูหนาวมีเวลาว่างสามารถทอผ้าได้ แต่อุปสรรค คือ นิ้วจะแตกเป็นขุย
เพราะอากาศเย็น ทำให้รอยแตกนั้นอาจไปเกี่ยวกับเส้นใยไหมและทำให้เส้นไหมไม่เรียบได้ คุณบุญตาจึงใช้
วิธีการทำวาสลินที่ปลายนิ้วตลอดเวลาเพ่ือไม่ให้นิ้วมือแห้งและไปทำให้เส้นไหมมีรอย “ผ้ามัดหมี่” เป็นการ
สร้างลวดลายบนผืนผ้าทอให้เป็นรูปทรงต่างๆตามที่ผู้ทอต้องการ การมัดหมี่ คือ การทำให้เกิดลวดลายบน
วตั ถุดบิ ท่ีจะใชใ้ นทอผา้ เช่น ผ้าฝ้าย ผ้าไหมหรือเสน้ ใยสงั เคราะห์ในการสรา้ งลวดลายนนั้ ทำไดโ้ ดยการย้อมเส้น
ไหมฝา้ ย หรอื เสน้ ใยสงั เคราะห์ โดยการผูกหรอื มัดลวดลายใหเ้ กดิ ชอ่ งว่างสีไม่ตดิ กัน ในการมัดย้อมเส้นใยแต่ละ
ฝืนจะใช้เวลาและความประณีต ต้องระมัดระวังในการจัดเรียงเส้นใยให้สม่ำเสมอ ลวดลายจะสวยงามแค่ไหน
นั้นขึ้นอยู่กับเทคนิคของเปลอื กกลว้ ยซึ่งจะใชเ้ ป็นขนาดกาลังพอดี จะเป็นวธิ กี ารที่ดใี นการไดส้ ขี องหมี่ท่ีงดงาม
สีสนั ไมซ่ มึ เขา้ กันซึง่ เป็นสาเหตุทำให้สสี นั ของลวดลายเพยี้ นจากที่ต้องการ

(ก) (ข) (ค) (ง) (จ)

ภาพ (ก) แสดงการย้อมสีเส้นใยไหมโดยการใชเ้ ทคนคิ การมัดหมี่
ภาพ (ข) เป็นลวดลายทม่ี ัดดว้ ยเส้นเชอื กฟางและย้อมสตี ามท่ตี ้องการเสร็จแล้ว
ภาพ (ค) แกะเชือกฟางท่มี ัดแล้ว
ภาพ (ง) นำไหมที่ย้อมสีแลว้ ไปกรอกเขา้ หลอกดา้ ย
และภาพ (จ) นำหลอดดา้ ยไปใสก่ ระสวยเตรยี มทอตวั ซิ่น
ทม่ี า : บทความวิจยั ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ คนไทยเช้ือสายลาวครัง่ ของสนุ ิ โชตดิ ิลก และคณะ 2561.

http://www.scipnru.com/Binder1.pdf

8

ลวดลายที่ปรากฏบนผืนผ้าของลาวครั่ง ส่วนใหญ่เป็นลวดลายดั้งเดิมที่ได้รับการถ่ายทอดภูมิปัญญา
การทอผ้ามาจากบรรพบุรุษสู่รุ่นต่อรุ่น แสดงให้เห็นเอกลักษณ์เฉพาะถิ่นฐานและชาตพิ ันธุ์ของลาวครั่งมคี วาม
โดดเดน่ เรื่องลวดลายผา้ ทอพื้นเมือง เพราะแต่ละลวดลายเกิดจากฝีมือของชา่ งทอหลายรุ่นจนเปน็ ภมู ปิ ญั ญาสืบ
ตอ่ กันมาจนถึงปัจจุบนั
ลวดลายที่ชาวลาวครั่งทอแบง่ ออกเป็น 2 กลมุ่ คือ

1. ลวดลายเรขาคณิต เชน่ ลายสเี่ หลีย่ ม ลายสามเหลย่ี ม เสน้ ตรง เป็นตน้
2. ลวดลายธรรมชาติ แบ่งออกเป็น 3 แบบ ไดแ้ ก่

2.1 ลายสตั ว์ ไดแ้ ก่ ลายม้า ลายนาค ลายนกยงู ลายกระแต ลายแมงกะเบยี้ (ผเี ส้อื )
2.2 ลายพันธไ์ ม้ ไดแ้ ก่ ลายดอกพกิ ลุ ลายดอกแกว้ ลายมะเขอื ผา่ ซีก (มะเขือผา่ โผ่ง)
2.3 ลายสงิ่ ของเครอื่ งใช้ เชน่ ลายเชงิ เทยี น ลายโคม เปน็ ต้น
จากงานวิจยั ของทรงพล ต่วนเทศ และจากข้อสังเกตของคณุ สุพิศ ศรีพันธุ์ พบว่า ลายนาค เป็นลายที่
พบมากในกลุ่มผ้าทอของคนไทยเชื้อสายลาวครั่งในจังหวัดสุพรรณบุรี นอกจากจังหวัดชัยนาท และอุทัยธานี
ส่วนผลงานวิจัยของคุณสพุ ศิ ศรีพันธ์ุ (2552) กลา่ วว่า ผา้ ทอชาวลาวครั่งทีใ่ ช้เทคนิคทอผา้ มัดหมี่และผ้าจก คือ
ความพยายามและความสามารถของบรรพชน ที่ได้สร้างสรรค์ผลงานชั้นเยี่ยมไว้ให้เป็นมรดกตกทอดแก่
ลูกหลาน โดยพื้นฐานแล้วการทอผ้ามัดหมี่และการจก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้งานในครัวเรือน ไม่ได้มี
วัตถุประสงค์ในการจำหน่าย ปริมาณการทอมีจำนวนไม่มากเป็นสิ่งหายาก และที่ผ่านมาใช้เป็นสิ่งของแทน
ความรักของญาติผู้ใหญ่ ที่สร้างสรรค์ผลงานสืบต่อเป็นสมบัติบรรพชนสตรีที่สืบทอดสู่ลูกหลานที่เป็นผู้หญิง
เป็นผลงานทำงศิลปะจนคนผู้สร้างสรรค์เองก็ไม่ได้คาดคิดว่าจะมีคุณค่าตกทอดเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมที่ส่ง
ต่อสืบทอดให้แก่ลูกหลาน ผ้าทอเหล่าน้ีจึงถูกสร้างสรรค์ขึ้นมาให้เป็นตัวแทนของความผูกพันและความรัก

7. วสั ดุท่ีใช้ในการทอผ้าของลาวครัง่ บ้านบ่อกรุ

วสั ดทุ ใ่ี ชใ้ นการทอผา้ ของลาวคร่งั บ่อกรุ ประกอบด้วย เส้นใย และการยอ้ มสีเส้นใย ปัจจุบันช่างทอใน
จังหวัดสุพรรณบุรีไม่นิยมทำเส้นใยเอง ดังคำให้สัมภาษณ์ของประเทือง กาฬภักดี ให้สัมภาษณ์ว่า ใช้วิธีการ
“สั่งซื้อมาจากขอนแก่น โดยผ่านตัวแทนส่ง สั่งมาทีก็หลายหมื่นบาท ประมาณ 2-3 หมื่น ได้ประมาณ 30-40
ลูกเศษ ๆ ลูกหนึ่งก็ประมาณ 820 บาท แต่ช่วงน้ีไม่ไดแ้ ลว้ ลูกหนึง่ มี 55 ไจ ถ้าเป็นผา้ ขาวม้าก็ 3 ไจ ต่อ 1 ผืน
อย่างไม่ได้วันหนึ่งน่าจะได้ประมาณวันละ 2 ผืน” พะเยาว์ จันทร และบุญตา กาฬภักดี ได้กล่าวถึงการเลือก
เส้นใยไหมว่า “ซื้อฝ้ายมาจากบา้ นไร่ จังหวัดอุทัยธานี ซื้อมาครั้งละ 3 โล 4 โล ฝ้ายนี่ไม่แพงเท่าไหม ส่วนการ
ซื้อไหมจะสั่งซื้อจากจังหวัดขอนแก่น ขายเป็นกิโลๆ ละ 1,400 บาท ถ้าจะทอแบบมัดหมี่ต้องเลือกเบอร์ 6
เพราะเส้นใหญ่เมื่อนำมาฟอกน้ำหนักจะหายไป 2 ขีดครึ่ง”การเลือกซื้อเส้นใยประดิษฐ์ พะเยาว์ จันทร์ทร
กล่าวว่า “ไหมประดิษฐ์ประมาณกิโลละ 280 บาท ผ้าหน้าแคบกิโลหนึ่งก็ทอได้ 9-10 เมตร เอามาทำด้ายพุ่ง
เองมันจะไดเ้ ยอะ”

และจากการสัมภาษณ์ บง กาฬภักดี กล่าวถึงการเลือกเส้นใยฝ้ายว่า “จะสั่งซื้อฝ้ายสำเร็จที่ย้อมแล้ว
มาจากบา้ นไร่ ดา้ ยจะดมี ากสจี ะไม่ตก สะดวก ไม่เสียเวลาหรอื สงั่ ซอื้ ฝ้ายมาย้อมเองก็ได”้ ดงั นั้นปัจจบุ นั ชาวบ้าน

9

ในจังหวัดสุพรรณบุรีไม่ได้ปลูกฝ้ายหรือผลิตเส้นใยฝ้ายใช้เองแล้วส่วนมากช่างทอผ้าจะสั่งซื้อเส้นใยฝ้ายจาก
จังหวัดขอนแก่นบ้าง ซื้อจากอำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานีบ้าง เพราะสะดวกมีคนขายมาส่งของให้ถึงบ้านไม่
ต้องออกเดินทำงไปซ้อื เอง วัสดุในการทอผา้ พื้นเมอื ง ในปัจจุบนั คือ เส้นใยฝา้ ย และเสน้ ใยประดษิ ฐ์ เส้นใยฝ้าย
สามารถหาซื้อได้ง่าย ชาวบ้านสามารถทอผ้า ได้เฉลี่ยในหนึ่งวันทอผ้าได้ประมาณ 2 ผืน เส้นใยฝ้ายที่สั่งซื้อมา
เป็นเส้นใยสำเร็จรูปย้อมสีมาให้เสรจ็ แล้ว ซึ่งเป็นข้อดี คือ สีไม่ตก พร้อมที่จะทอ โดยชาวบ้านจะเป็นผู้กาหนด
เลือกสีเอง โดยเฉพาะเส้นใยฝ้ายที่อำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี เป็นเส้นใยฝ้ายสำเร็จรูปที่ดี เนื้อดี ไม่ตกสี
ส่วนเส้นใยประดิษฐ์ช่างทอนำมาใช้ทำเป็นเส้นพุ่ง เส้นใยฝา้ ยหนึ่งกิโลกรัมถ้าทอผ้าพืน้ เมืองหน้าแคบจะได้ผา้ ท่ี
ทอแล้วประมาณ 9-10 เมตรส่วนการทอผ้าไหมช่างทอผ้าตาบลบ่อกรุจะใช้วัสดุในการทอผ้า คือ เส้นใยไหม
และเสน้ ใยไหมประดษิ ฐ์ ซึง่ ส่วนใหญ่ชา่ งทอจะย้อมสเี อง ใช้สีเคมี ตราสงิ โตเกาะลกู โลก ราคาขายประมาณซอง
ละ 8-10 บาท ถ้าทอแบบเดยี วกบั ผ้ามัดหม่ี ก็จะมัดเส้นใยให้มีความแน่นพอดี ต้มน้าใหเ้ ดอื ดใส่สี ผงเคลือบมัน
เกลือ คนให้เข้ากัน แล้วนาเส้นใยที่มัดเป็นลวดลายจุ่มลงสีที่เตรียมไว้พลิกกลับไปมา สีจะได้ซึมเข้าเส้นใย
วิธีการเลือกสีที่จะยอ้ ม จะเลือกใช้สีเหลืองหรือสีอ่อนย้อมก่อนสีแรก เพราะสีเข้มเมื่อผสมกับสีเหลืองจะได้สีท่ี
ต้องการ เช่น ย้อมสีเหลืองแล้วยอ้ มด้วยสีบานเย็นจะทำให้เกิดเป็นสีแดง ถ้าต้องการสีเขยี วก็ย้อมสีเหลืองก่อน
แล้วยอ้ มสฟี า้ ก็จะได้สเี ขียว เมอื่ นามาล้างน้าแลว้ กเ็ อาไปแช่นา้ อุน่ ๆ แล้วกห็ ยดกรดน้ำส้มกันสีตก การหยดกรด
น้าส้มถือว่าเป็นภูมิปัญญาที่ช่างทอสั่งสมประสบการณ์มาจากการเรียนรู้ในเรื่องการย้อมสีเส้นด้าย (ทรงพล
ตว่ นเทศ. 2555.) จากขอ้ มลู ดังกล่าว สอดคล้องกบั การให้สัมภาษณ์ของพะเยาว์ จันทร (2553) เรื่องการย้อมสี
ว่า “สีที่ใช้จะใช้สีเคมี ตราสิงโตเกาะลูกโลก ขายเป็นซองๆ ละ 8-10 บาท เวลาซื้อจะซื้อเป็นกล่อง
เรื่องลวดลายมันจะมีต้นฉบับเก่ามา สีนี่เราก็นึกเอาถ้าลงขาวแล้วมาลงเหลือง ลงเหลืองแล้วทำไงถึงลงแดง
ถ้าเปน็ ไหมประดิษฐ์มัดขาวลงเหลอื ง ลงเหลืองแล้วอบเหลืองไว้ลงบานเย็นจะเปน็ แดง อบแดงไว้ แกต้ รงเหลือง
ก็ย้อมสีฟา้ น้าทะเลจะเปน็ เขยี ว สพี ืน้ นเ้ี ปน็ สีเขียวเราอบขาวไว้กเ็ ปน็ สีฟ้า พอลา้ งน้าแล้วกเ็ อาไปแช่น้าอุ่นๆ แล้ว
ก็หยดกรดนา้ สม้ กนั สตี ก”

นางบง กาฬภักดี ให้สัมภาษณ์ (2560.) ว่า “การย้อมและการมัดหมี่ในช่วงนี้ ช่างทอต้องการความ
สะดวก สบาย และประหยดั เวลา จึงใชว้ ธิ ีการสัง่ ซ้ือฝ้ายมาจากบ้านไร่ ซ่งึ เปน็ ฝา้ ยสีธรรมชาติและนำมาย้อมเอง
หากจะทำลวดลายมัดหมี่จะทำการ “แจะ” ด้วยสเี คมีเพอื่ ความสะดวกและประหยดั เวลาลงไปทเี่ ส้นดา้ ยให้เป็น
ลวดลายต่างๆ และสีต่างๆ ซึ่งการทำแบบนี้เป็นวิธีเฉพาะของนางบง กาฬภักดี ส่วนผู้ทอคนอื่นๆ ยังคงใช้วิธี
เดมิ เทศบาลตาบลบ่อกรุ อำเภอเดิมบางนางบวช จงั หวดั สุพรรณบรุ ี เปน็ พืน้ ท่ที ี่มปี ระชากรเป็นชาวไทยเชือ้ สาย
ลาวคร่งั มากกวา่ รอ้ ยละแปดสิบ และเปน็ พืน้ ทซ่ี ่งึ มีความพร้อมเกี่ยวกับบุคลากรและมีองคค์ วามร้ดู ้านการทอผ้า
ทอ่ี าศยั อยูใ่ นพน้ื ทีน่ ี้หลายคน ในขณะเดียวกนั กม็ โี รงทอผา้ ที่ใช้ก่ีกระตุกท่ีสามารถรองรบั การทอผ้าได้ ประกอบ
กับผู้บริหารเทศบาลให้ความสำคัญโดยการส่งเสริมทั้งทางด้านเงินอุดหนุนกิจการทอผ้าและการจัดหาวัสดุ
อุปกรณ์ในการทอผ้า รวมถึงการอำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ อยู่แล้ว และส่งเสริมให้มีการผลิตผ้าจกและ
ผ้ามัดหมี่ลวดลายโบราณตามแบบอย่างของเก่าโดยเทศบาลตาบลบ่อกรุ อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัด
สุพรรณบุรี ทำหน้าที่เป็นศนู ย์กลางในการติดต่อประสานงาน ทางด้านการตลาดตลอดจนจัดหาสถานท่ีเพื่อตั้ง
วางสนิ ค้าในการจาหนา่ ย

10

8.ประโยชน์ของผ้าซ่ินตีนจก

ผา้ ซิน่ ตีนจกเป็นความภาคภูมิใจของหญงิ สาวชาวลาวคร่ังทุกคน ซง่ึ เปน็ ประโยชนท์ างจิตใจทำให้ผู้ทอ
มสี มาธิมากขึน้ มีความคดิ สรา้ งสรรค์ เปน็ รายไดเ้ สรมิ ใหค้ รอบครัว แลว้ ยงั มีประโยชน์ในการใช้สอยในงานต่างๆ
เชน่ งานบญุ งานแตง่ งาน งานบวช เปน็ ตน้

ตัวอย่างผา้ ซน่ิ ตีนจกบา้ นบอ่ กรุ

เทคนิคที่ใช้ทอผ้า : ใช้เทคนิควิธีการเพิ่มเส้นด้ายพุ่งพิเศษเข้าไปเป็นช่วงๆ สอดขึ้นลง ใช้เข็มปัก
ขนเมน่ ไมห้ รือนิว้ สอดนบั เส้นยืนแลว้ ยกขนึ้ จากน้นั สอดเส้นด้ายพุ่งพิเศษเขา้ ไป

ลวดลาย : เป็นลายโบราณที่ได้รับการสืบทอดต่อ ๆ กันมาจากรุ่นหนึ่งสู่อีกรุ่นหนึ่ง ทำตามแบบ
ลวดลายของผา้ เกา่ ที่มีเหลืออยู่ในชุมชน เพอื่ อนรุ ักษ์ลวดลายดัง้ เดิมไว้ ตัวอยา่ ง ผ้าซ่ินตีนจก ดงั ภาพท่ี

ภาพที่ 2 ผ้าตนี จกของแมค่ ำ กาฬภกั ดี
ท่มี า : บทความวิจัยภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่นคนไทยเช้อื สายลาวคร่ัง ของสนุ ิ โชตดิ ลิ ก และคณะ 2561.
http://www.scipnru.com/Binder1.pdf

เทคนคิ ที่ใช้ทอผ้า : ใช้เทคนิคการทอแบบจกทง้ั ตัว ต่อดา้ นล่างของซ่นิ ด้วยผ้าตีนจกพน้ื สีแดง ดงั ภาพ
ท่ี 3

ภาพท่ี 3 ผ้าซน่ิ ตนี จก
ท่มี า : บทความวจิ ัยภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ คนไทยเชอ้ื สายลาวครงั่ ของสนุ ิ โชติดิลก และคณะ 2561.
http://www.scipnru.com/Binder1.pdf

11

บรรณานกุ รม

คนงึ นุช มียะบุญ. (2537). การปรบั ตัวต่อสภาพเศรษฐกจิ และสงั คมท่ีเปล่ียนแปลงของลาวครั่งท่ี
บา้ นโคก จังหวดั สพุ รุ รณบรี ุ. วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชามานษยุ

ชนดิา ตงั้ ถาวรสิรกิ ลุ. (2541). สอ่ื สญั ลักษณ์ผ้าลาวเวียงจันทน์. กรงเุ ทพฯ: สำนกั งานกองทนุ สนบั สนุนการ
วิจัย.ชมุ ชนลาวครัง่ บา้ นบ่อกรุ อ.เดมิ บางนางบวช จ.สพุ รรณบุรี. 2514.
https://www.facebook.com. สืบคน้ เม่ือวนั ท่ี 9 กนั ยายน 2564.

ชมุ ชนลาวครัง่ บ้านบ่อกรุ. (2559). ผา้ ตีนจกไทยโบราณ. ออนไลน์, http://www.otop5star.
com/pop_up01-th.php?id=50 สืบคน้ เมื่อวันที่ 9 กนั ยายน 2564.

ชมรมลาวครง่ั บา้ นบ่อกรุ.(2557). อัตลกั ษณป์ ระเพณกี ารแต่งกายวัฒนธรรมความเช่ือและภาษาลาว
ออนไลน์, https://www.facebook.com สบื คน้ เมื่อวนั ท่ี 9 กันยายน 2564.

ณัฐกฤตย์ ดฐิ วิรุฬ. (2558). การสอื่ สารเพ่ือการเรียนรู้และถา่ ยทอดมรดกภมู ิปญั ญา. วารสารวิชาการ
นวัตกรรมสื่อสารสังคม ปที ่ี 3 ฉบบั ท่ี 2(6) ก.ค. - ธ.ค.58 น.39 - 48.

บษุ บา หนิ เธาว์. (2557). การวจิ ัยปฏิบัตกิ ารแบบมีส่วนรว่ มของชุมชนเพอ่ื หาแนวทางอนุรกั ษ์
วิทยา ภาควิชามานษุ ยวทิ ยา บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.คณะกรรมการส่งเสรมิ และรักษาภมู ิ

ปัญญาทางวัฒนธรรม มรดกภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรม : ผ้าและผลติ ภณั ฑข์ องผ้า, 2555.
http://ich.culture.go.th/index.php/th/ich/register
สุนิ โชติดลิ ก และคณะ. (บรรณาธิการ). (2561). ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ คนไทยเช้ือสายลาวครั่ง.
กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร

12

ภาคผนวก

13

คุณพัสวี กาฬภักดี

เจ้าหนา้ ท่พี ิพธิ ภณั ฑ์ศูนยว์ ัฒนธรรมลาวคร่งั บ้านบ่อกรุ
ขอขอบคณุ คุณพัสวี กาฬภักดีเปน็ อย่างยิ่งท่ีให้ข้อมลู เกี่ยวกับ

วฒั นธรรมลาวคร่งั บ้านบ่อกรุ


Click to View FlipBook Version