แผนพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรียอนบุ าลตาก
สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาตากา เขต 1
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
สารบัญ
เรื่อง บทนำ หน้า
ส่วนท่ี 1 1) ความเปน็ มา 1
2) ข้อมลู พนื้ ฐาน 3
ส่วนที่2 3)การศึกษาสถานภาพของโรงเรียน 13
4) จดุ เน้นการพัฒนาครู 23
ส่วนที่ 3 ทิศทางการจดั การศึกษา 24
1) นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ 30
2) นโยบายการศึกษาของสำนักงานคระกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน 32
3) นโยบายการศึกษาของสำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 35
รายละเอยี ดของ แผนงาน / โครงการ ปกี ารศกึ ษา 2564 37
1)บญั ชีสรปุ รายละเอียด / แผนงาน / โครงการ
2)รายละเอยี ดแผนงาน / โครงการ 44
2.1 โครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา 45
❖กิจกรรมประเมนิ ตนเองและวางแผนพฒั นา (ID Plan)
❖ กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
❖กิจกรรมอบรมสัมมนา/ศึกษาดงู านอย่างน้อย 50 ช่ัวโมงตอ่ ปี
❖กจิ กรรมพฒั นาครูดา้ นงานวชิ าการ
สว่ นที่ 4 ❖กจิ กรรมการประกวดผลงานของนักเรยี นและครดู า้ นต่างๆ
❖กจิ กรรมการสรา้ งเครือข่ายและการมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษา
ให้กับโรงเรยี นในสังกดั อนบุ าลประจำอำเภอ
2.2 โครงการสร้างสังคมและชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ (PLC)
❖กจิ กรรม Coaching & Mentoring
❖กิจกรรมการจดั การความรู้ (KM)
แนวทางการบรหิ ารโครงการ
ภาคผนวก
คำส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการแผนพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาห้องเรียน
พิเศษด้านภาษา ประจำปีการศึกษา 2564
รายชื่อคณะกรรมการแผนพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาห้องเรยี นพเิ ศษ
ด้านภาษา ประจำปีการศึกษา 2564
คานา
แผนพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาห้องเรียนพิเศษด้านภาษา ประจำปีการศึกษา 2564 ได้จัดทำข้ึน
เพื่อใช้เป็นแนวทางในการขับเคล่ือนการศึกษาครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนอนุบาลตากให้บรรลุผล
ตามที่ระบุไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาตินโยบายของรัฐบาลสนองกลยุทธ์ของ สำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 และเป็นไปตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ
วัตถุประสงค์ และเป้าหมายท่ีโรงเรียนกำหนดไว้ ท้ังนี้เพ่ือการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาในกลุ่มสาระ
ภาษาต่างประเทศใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา
แผนพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาห้องเรียนพิเศษด้านภาษาประจำปีการศึกษา 2564 ได้รับความ
ร่วมมือเป็นอย่างดีจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง อาทิ ผู้บริหารสถานศึกษา คณะครู บุคลากร และคณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในการให้ข้อมูลสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อการกำหนดกิจกรรมต่างๆ ในโครงการอันจะ
นำไปสู่การปฏิบตั งิ านที่มีคุณภาพและบรรลตุ ามเปน็ หมายทก่ี ำหนดไวอ้ ย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
หอ้ งเรยี นพิเศษด้านภาษา
โรงเรยี นอนุบาลตาก
แผนพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ห้องเรยี นพเิ ศษด้านภาษา
สว่ นท่ี 1
บทนำ
1. ความเป็นมา
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ภาษาต่างประเทศ เป็นสิ่งจำเป็นในการติดต่อส่ือสาร เพ่ือศึกษาการ
แสวงหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ และการประกอบอาชีพตลอดจนเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการพัฒนาศักยภาพ
บุคลากรในยุคโลกาภิวัฒน์เพื่อให้สามารถนำประเทศสู่การแข่งขันด้านเศรษฐกิจการเมืองเพื่อดำเนินกิจกรรม
ทางสังคมหรือเศรษฐกิจเพ่ิมขึ้น แม้แต่การถ่ายทอดวิทยาการต่างๆการเจรจาต่อรองด้านการค้าการประกอบ
อาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนความสะดวกรวดเร็วในการติดต่อคมนาคมทำให้ประเทศต่างๆ มีความ
ใกล้ชิดกัน ต้องพ่ึงพาอาศัยกันมากขึ้น จึงเกิดความจำเป็นท่ีจะต้องใช้ภาษากลางเป็นการสื่อสารโดยเป็นที่
ยอมรับว่าภาษาองั กฤษนั้นเป็นภาษากลางหรอื ภาษาสากลท่ีทุกประเทศให้การยอมรับ ดังน้ันในการจดั การเรียน
การสอนภาษาอังกฤษจงึ มีความจำเป็นทจ่ี ะมงุ่ เนน้ ให้นักเรียนมีทักษะในการฟงั การพูด การอา่ นและการเขียน
การพัฒนาการศึกษา โดยเฉพาะการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้เป็นหัวใจของการพัฒนาการศึกษา
และกระบวนการเรียนรู้ท่ีมีทั้งความกว้างและความลึก มีความจำเป็นที่เราต้องมีความสามารถ
ดา้ นภาษาตา่ งประเทศโดยเฉพาะอย่างย่ิงภาษาอังกฤษเพราะการรภู้ าษาอังกฤษดี จะเป็นเคร่ืองมืออันทรงพลัง
ในการค้นหาความรู้ได้อย่างไม่มีที่สิ้นสุดและเป็นเคร่ืองมือการส่ือสารท่ีสำคัญมาก จุดอ่อนประการหนึ่งที่ทำให้
ประเทศมีความสามารถในการแข่งขันต่ำคือ การมีอัตราการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct
Investment หรือ FDls) ต่ำ และการที่ FDI ต่ำ เหตุผลส่วนหน่ึงก็มาจากนักลงทุนไม่มีความม่ันใจในทักษะ
ของแรงงานในประเทศ ทกั ษะท่ีว่านี้รวมถงึ ทักษะในการใชภ้ าษาต่างประเทศเพ่ือการส่อื สารด้วย ดว้ ยเหตุดงั นั้น
การพฒั นาวิชาชีพการสอนภาษาอังกฤษจึงมีความสำคัญต่อการพัฒนาศักยภาพการแข่งขันของประเทศอยา่ งไม่
ต้องสงสัย ประเด็นคำถามสำคัญจึงมีอยู่ว่า เราจะพัฒนาวิชาชีพการสอนภาษาอังกฤษอย่างไร จึงจะช่วย ให้
ประเทศไทยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขนั ได้จรงิ
ครูจึงมีบทบาทสำคัญมากต่อความสำเร็จของการปฏิรูปการศึกษา โดยเฉพาะอย่างย่ิงการปฏิรูป
กระบวนการเรียนรู้ซึ่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 แก้ไข พ.ศ. 2545ให้ความสำคัญ
เป็นอันดับแรกการเปล่ียนแปลงองค์ประกอบอ่ืน เช่น ระบบโครงสร้างการบริหาร การพัฒนาหลักสูตร
การระดมทรัพยากรจากทุกภาคส่วนและการมีส่วนร่วมของชุมชน แม้จะเป็นองค์ประกอบท่ีสำคัญ
ต่อความสำเรจ็ ของการปฏริ ปู การศกึ ษา แตถ่ า้ หากการพฒั นาครูไมเ่ ปน็ ไปอย่างถูกตอ้ งและไดม้ าตรฐาน
แผนพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
หอ้ งเรียนพเิ ศษด้านภาษา
การปฏิรูปการศึกษาจะสำเร็จได้ยาก เพราะการท่ีครูผู้สอนที่ดี ย่อมจะมีผลอย่างมากต่อวิธีการเรียนรู้
ของนักเรียนและต่อส่ิงที่นักเรียนได้เรียนการพัฒนาวิธีการสอนที่ดีและการพัฒนาให้เป็นครูที่ดี เป็น
กระบวนการที่ตอ้ งใชเ้ วลานาน เรยี กว่าตลอดชวี ิตก็ว่าได้ เพราะการพฒั นาวิชาชีพครูมิใชเ่ พียงการพัฒนาทกั ษะ
ด้านการปฏิบัติภายใต้การแนะนำหรือชี้แนะจากศึกษานิเทศก์หรือผู้รู้เท่านั้นแต่เป็นกระบวนการที่ครูต้อง
แสวงหาความรู้เฉพาะด้าน การส่งเสริมคุณค่าด้านจริยธรรมและการมีทัศนะที่ดีต่อการเป็นครู การเป็นครูที่ดี
น้ัน นอกจากจะต้อง “Knowing What” และ “Knowing How” แล้ว ครูจะต้องมีความสามารถในด้าน
“Knowing Why” และ “Knowing When” ดว้ ยจึงจะสมบรู ณ์
ครูและบุคลากรทางการศึกษาถือเป็นหัวใจสำคัญของการพัฒนาการศึกษา เป็นผู้ท่ีให้การส่งเสริม
สนบั สนุนและจัดการเรียนรู้ใหก้ ับผู้เรยี น เพื่อใหบ้ รรลตุ ามวิสยั ทศั น์ พันธกิจและเป้าประสงค์ของสถานศึกษาครู
และบุคลากรทางการศึกษาจำเป็นต้องหม่ันฝึกฝนและพัฒนาตนเองอยู่เสมอ มีการแสวงหาความรู้และเทคนิค
วิธีการใหม่ ๆ อีกทั้งต้องเพ่ิมพูนประสบการณ์ในการเรียนรู้ จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งในและนอกสถานศึกษา
เพื่อให้รู้เท่าทันกับกระแสโลกาภิวัตน์ท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา ประกอบกับสถานศึกษาต้องมีการ
เตรยี มความพรอ้ มครูและบคุ ลากรทางการศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพสู่มาตรฐานสากล
การพัฒนาการเรียนการสอนตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 น้ัน จะเน้นการ
จัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้สอนเป็นผู้ช่วยส่งเสริม แนะแนวทางให้เกิดองค์ความรู้แก่
ผู้เรียน โดยการจัดหาแหล่งการเรียนรู้ ทั้งแหล่งการเรียนรู้ภายในห้องเรียนและนอกห้องเรียน และนำเอา
เทคโนโลยี มาผสมผสานให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ให้มากที่สุด ดังนั้นผู้สอนจะต้องพัฒนาตนเอง พัฒนา
ความรู้ความสามารถ ทั้งด้านเน้ือหาตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ตาสง ๆ ท่ีทำหน้าท่ีรับผิดชอบสอน ด้านการ
ถ่ายทอดความรู้สู่เรียนในวิธีต่าง ๆ ให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ให้มากท่ีสุด การพัฒนาตนเองให้มีประสิทธิภาพ
นนั้ ย่อมเกิดมาจากรา่ งกายและจติ ใจทสี่ มบูรณ์แขง็ แรง และขวญั กำลังใจท่ดี ีด้วย
แผนพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
ห้องเรียนพิเศษดา้ นภาษา
2. ข้อมูลพืน้ ฐาน
ประวตั โิ รงเรยี น
โรงเรยี นอนบุ าลตากเปิดทำการสอนเม่ือวันที่24มิถนุ ายน2486โดยใช้อาคารเรียนของโรงเรียนฝกึ หัดครู
ประกาศนียบัตรซึ่งว่างอยู่ในบริเวณเดียวกับโรงเรียนสตรีตาก “ผดุงปัญญา” แรกเปิดทำการสอนมีนักเรียน
16 คนครู 1 คน คือ นางสาวจำนง กาญจนโชติ ครูช่วยราชการ 1 คน คือ ครูกุหลาบ คำราชา ครูใหญ่ช่ือครู
จนั ทนา พจิ ิตรคุรุการ ซ่งึ เปน็ ครใู หญโ่ รงเรยี นสตรตี าก “ผดุงปัญญา” ด้วย
พ.ศ. 2496 - เปดิ ทำการสอนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 เพม่ิ ทลี ะชน้ั จนถึงชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4
พ.ศ. 2497 - โรงเรียนได้แยกการบริหารเปน็ เอกเทศโดยมีนางอษุ ณีย์ ฉ่ำกมล เปน็ ครใู หญ่
พ.ศ. 2505 - โรงเรยี นผดงุ ปัญญายา้ ยไปสถานทใี่ หม่ท่ีดนิ เดิมซ่ึงเปน็ ทรี่ าชพัสดุติดกับวัดพร้าว
กรมธนารักษ์อนญุ าตให้ใชท้ ่ีดินดงั กลา่ วเปน็ ท่ีตงั้ ของโรงเรียนอนุบาลตาก
พ.ศ. 2508 - ไดร้ บั งบประมาณกอ่ สรา้ งอาคารไม้ชัน้ เดยี ว 1 หลงั 9 หอ้ งเรียนและหอประชมุ
พร้อมกับได้รับงบประมาณสรา้ งบ้านพักครู 1 หลงั
พ.ศ. 2514 - ได้รบั งบประมาณสรา้ งอาคาร 2 ช้ันแบบ 505 เปิดใช้เม่ือวนั ท่ี 29 มิถนุ ายน
2515 ปัจจุบนั คอื อาคารบัวหลวง
พ.ศ. 2515 - ฯพณฯ นายอภัยจนั ทวมิ ลรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการไดม้ าเป็นประธาน
เปดิ อาคารเรียนแบบ 505
พ.ศ. 2523 - ผู้ปกครองนักเรยี นชว่ ยกนั บรจิ าคเงินสรา้ งอาคารเรียนชัว่ คราว
พ.ศ. 2526 - ได้งบประมาณก่อสร้างต่อเติมอาคารเรยี นแบบ 505 พิเศษ 4 หอ้ ง
พ.ศ. 2527 - นางอษุ ณีษ์ ฉ่ำกมล อาจารย์ใหญ่ครบเกษียณอายรุ าชการโดยมี
นางสาวบุญเออ้ื ผ่องลำเจียกผู้ชว่ ยผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลพษิ ณโุ ลก
ยา้ ยมารกั ษาการในตำแหน่งอาจารยใ์ หญเ่ มอื่ วนั ที่ 1 ตลุ าคม 2527
พ.ศ. 2528 - นางสาวบุญเออ้ื ผ่องลำเจยี กได้ดำรงตำแหนง่ อาจารย์ใหญ่และดำรงตำแหน่ง
ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นอนุบาลตากตามลำดับ
พ.ศ. 2529 - ได้รับรางวลั พระราชทานระดบั ประถมศึกษาขนาดใหญเ่ ป็นครั้งแรก
- ไดร้ ับรางวัลโรงเรยี นดีเดน่ วันประถมศกึ ษาแห่งชาติ
- ไดร้ ับงบประมาณสร้างอาคารเรยี น 3 ชัน้ 15 หอ้ งเรียน แบบสปช. 2 / 28
วงเงิน 3,380,000 บาท ปจั จบุ นั คอื อาคารสัตตบงกช
พ.ศ. 2531 - ได้รบั งบประมาณสรา้ งอาคารเรียน3ชั้น9ห้องเรยี น แบบสปช. 2 / 28
วงเงิน 1,698,000 บาท ปจั จบุ นั คือ อาคารบงกชรัตน์
พ.ศ. 2534 - ไดร้ บั งบประมาณสรา้ งอาคารเฉลมิ พระเกียรติสมเด็จพระบรมราชนิ นี าถเปน็
อาคาร 3 ชน้ั แบบพิเศษวงเงิน 8,000,000 บาทโดยทางวดั พรา้ วอนญุ าตใหใ้ ช้
พนื้ ที่ 1 ไร่ 25 ตารางวาเป็นสถานทก่ี ่อสรา้ ง
พ.ศ. 2537 - ไดร้ ับรางวัลโรงเรียนพระราชทานระดบั ประถมศึกษาขนาดใหญ่เป็นครั้งท่ี 2
พ.ศ. 2541 - ไดร้ ับงบประมาณสรา้ งอาคารเรยี นแบบพเิ ศษ 4 ชน้ั 8 ห้องเรยี น
แผนพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
หอ้ งเรียนพิเศษด้านภาษา
พ.ศ. 2543 วงเงนิ 7,040,553 บาท โดยห้างหนุ่ สว่ นจำกดั มาดามวีกอ่ สร้างปจั จุบนั
คอื อาคารอบุ ลมาศ
พ.ศ. 2546 - นางสาวบุญเออื้ ผ่องลำเจยี กผอู้ ำนวยการโรงเรียนระดบั 9 ครบเกษยี ณอายุ
พ.ศ. 2547 ราชการเม่อื วันที่ 30 กนั ยายน 2543
- นายสมศักดิ์ จันทรเ์ ดช ได้มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรยี นอนุบาลตาก
พ.ศ. 2548 ต้งั แตว่ นั ที่ 1 ตลุ าคม 2543 จนถึง 31 มีนาคม 2547
พ.ศ. 2549 - ไดร้ บั การประเมนิ จากสำนักงานมาตรฐานการศกึ ษา (องค์กรมหาชน) รอบแรก
พ.ศ. 2550 - นายกำจรวงศ์ จันทรวิรัช ได้มาดำรงตำแหน่งผ้อู ำนวยการโรงเรียนอนบุ าลตาก
พ.ศ. 2551 ปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ตั้งแตว่ นั ที่ 7 ตุลาคม 2547 จนถึงปจั จุบนั
พ.ศ. 2554 - สร้างอาคารอเนกประสงค์ โดยร้ือถอนอาคารเรยี นไม้โรงเรยี นบ้านลานขวาง
พ.ศ. 2555 มาทำการก่อสร้าง ได้รับงบประมาณการก่อสรา้ งจากชมรมผูป้ กครอง – ครู
พ.ศ. 2555 โรงเรียนอนุบาลตาก จำนวน 386,000 บาท
พ.ศ. 2555 - สร้างหลังคาโครงเหลก็ มุงตาขา่ ยพรางแสงระหวา่ งอาคารสัตตบงกช / อาคาร
บงกชรตั นไ์ ดร้ ับงบประมาณการก่อสรา้ งจากชมรมผูป้ กครอง – ครูโรงเรยี น
อนุบาลตาก จำนวน 289,840 บาท
- ไดร้ บั การประเมินจากสำนักงานมาตรฐานการศึกษา (องค์กรมหาชน) รอบสอง
- ได้รบั งบประมาณสร้างอาคารเรยี นแบบ 216 ปรับปรงุ 46 เปน็ เงนิ
13,900,000บาท โดย หจก. พมิ พสิ ุทธ์ เอ็นจเิ นยี ริ่ง
- วันท่ี 22 พฤศจกิ ายน 2550 คณุ หญงิ ดร.กษมา วรวรรณ ณ อยุธยา
เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐานไดม้ าเป็นประธานเปดิ
อาคารเรียนแบบ 216 ปรับปรงุ 46
- ได้รับงบประมาณสรา้ งอาคารเรยี นและอาคารประกอบ จำนวน 54 รายการ
เปน็ เงิน 11,,963,500 บาท โดย หจก. มาดามวี กอ่ สรา้ ง
- ได้รับการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554 - 2558)
จากสำนกั งานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคก์ ารมหาชน)
เม่ือวนั ท่ี 27-29 มถิ นุ ายน 2554
- ไดร้ บั งบประมาณก่อสร้างอาคารเรยี นแบบ 324 ล.ตอกเขม็ จำนวน 1 หลัง
จำนวนเงนิ 21,718,000 บาท โดย หจก. มาดามวี กำหนดแลว้ เสรจ็
วนั ท่ี 8 พฤศจิกายน 2556
- สร้างรั้วโรงเรยี นด้านทศิ ตะวนั ตก จำนวน 67 ช่อง จำนวนเงนิ 268,000 บาท
โดย นายชาติ โยชุม่ กำหนดแล้วเสร็จวนั ที่ 16 พฤศจิกายน 2555
- สร้างเสาธงและและเวที โดยเงิน บรจิ าคจากนายแพทย์ชลิศ สนิ รัชตานันท์
146,683.00 บาท นายณัฐวุฒิ ทวีเกือ้ กลู กจิ 50,000.00 บาท
สหกรณร์ ้านคา้ โรงเรียนอนบุ าลตาก 270,000.00บาท รวมเปน็ จำนวนเงิน
466,683.00 บาท โดย นายชาติ โยชุม่ กำหนดแลว้ เสร็จ
วันท่ี 10 พฤศจิกายน 2555
แผนพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
หอ้ งเรียนพเิ ศษด้านภาษา
พ.ศ. 2555 - ถมสนามหน้าโรงเรียน โดยเงิน งบประมาณเกีย่ วกบั งบน้ำท่วม
จำนวนเงนิ 2,100.000.00 บาทโดย หจก. พยอมก่อสร้าง กำหนดแล้วเสรจ็
พ.ศ. 2555 วนั ท่ี 12 พฤษภาคม 2555
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2555 - ต่อเตมิ อาคารเป็นห้องสหกรณ์รา้ นค้า 2 หอ้ ง จำนวนเงนิ 214,670.00 บาท
โดย หจก. ดำรงค์อลูมิเนียม กำหนดแล้วเสรจ็ วันท่ี 8 พฤศจิกายน 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2555 - เทคอนกรตี เชื่อมอาคาร 216 กบั อาคาร สปช. 2/28 จำนวนเงนิ 37,000.00 บาท
พ.ศ. 2556 โดย นายชาติ โยชมุ่ กำหนดแลว้ เสร็จ วนั ที่ 29 เมษายน 2556
พ.ศ.2556
พ.ศ. 2557 - ตอ่ เตมิ หนา้ อาคารและเทพ้ืนคอนกรีตหนา้ ห้องสหกรณร์ ้านค้า
พ.ศ. 2557 จำนวนเงนิ 152,600.00 บาท โดย หจก. ดำรงอลมู เิ นียมกำหนดแลว้ เสรจ็
พ.ศ. 2557 วนั ท่ี 8 พฤศจิกายน 2556
พ.ศ. 2558 - โรงเกบ็ รถยนต์ โดยเงนิ บรจิ าคของคณะครู จำนวนเงิน 115,000.00 บาท
พ.ศ. 2558 โดย หจก. ดำรงคอ์ ลูมิเนยี ม กำหนดแลว้ เสรจ็ วนั ที่ 11 พฤษภาคม 2555
- โรงเรอื นล้างถาดอาหาร จำนวนเงนิ 50,000 บาท โดย หจก. ดำรงค์อลูมิเนียม
พ.ศ. 2558 กำหนดแลว้ เสรจ็ วันที่ 23 พฤษภาคม 2555
พ.ศ.2558 - ต่อเติมหลงั คาด้านหลงั อาคาร 2/28 โดยเงนิ จำนวนเงิน 95,000 บาท
โดย นายชาติ โยชมุ่ กำหนดแลว้ เสร็จวันที่ 8 พฤษภาคม 2556
- ทำสะพานเช่ือมอาคาร 216กบั อาคาร สปช. 2/28 จำนวนเงนิ 140,000 บาท
โดย นายชาติ โยชุ่ม กำหนดแลว้ เสร็จ วนั ที่ 2 พฤษภาคม 2556
- ทำเวทใี ตอ้ าคารเรียนแบบ 324 ล ตอกเขม็ จำนวนเงิน 180,000 บาท
โดยนายสชุ าติ โยชุ่ม กำหนดแลว้ เสรจ็ 20 พฤศจกิ ายน 2557
- กอ่ สรา้ งห้องน้ำหอ้ งสว้ มนักเรยี น จำนวน 10 ทีน่ งั่ ราคา 240,000 บาท
โดย นายสมบัติ ฉายอรุณกำหนดแลว้ เสร็จ วันท่ี 12ธนั วาคม 2557
- ไดร้ ับโรงผลติ นำ้ ประปา สรา้ งโดยกรมทรัพยากรนำ้ บาดาล กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม
- ปพู น้ื กระเบ้ืองอาคารเรยี น 324 ล ตอกเข็ม จำนวนเงนิ 886,400 บาท
โดย รา้ นศภุ ณฐั การคา้ กำหนดแลว้ เสรจ็ วันที่ 10 มีนาคม 2558
- ถนนคอนกรีตเสรมิ เหล็กหน้าอาคารเรียน 324 ล ตอกเข็ม
จำนวนเงนิ 300,000 บาท โดย นางพนิดา ดังก้อง กำหนดแล้วเสร็จ
วันท่ี 21 มีนาคม 2558
- ก่อสร้างห้องน้ำห้องสว้ มนักเรยี นชาย 4 ที่ / 49 จำนวนเงนิ 442,000 บาท
โดย นายประเสรฐิ ปัญญาคง กำหนดแล้วเสร็จ วันที่ 13 มิถุนายน 2558
- ค่าปรับปรงุ ซ่อมแซมถนนคอนกรีตภายในโรงเรยี น จำนวนเงิน 200,000 บาท
โดย หจก. ตากเพชรมณี คอนสตรคั ชน่ั กำหนดแลว้ เสรจ็
วันที่ 31 ธันวาคม 2558
แผนพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ห้องเรียนพเิ ศษดา้ นภาษา
พ.ศ. 2558 - ค่าก่อสร้างปรบั ปรุงซอ่ มแซมอาคารประกอบและสิ่งก่อสร้าง
พ.ศ. 2559 จำนวนเงิน 700,000 บาท โดย นางสาวฐิติณัฐ คำกว้าง
กำหนดแลว้ เสรจ็ วันท่ี 30 ธนั วาคม 2558
- ซอ่ มแซมระบบไฟฟ้า จำนวนเงนิ 275,000 บาทโดยหจก.ตาก แอดเวนเจอร์
กำหนดแลว้ เสร็จวนั ที่ 28 กุมภาพันธ์ 2559
พ.ศ. 2559 - ค่าก่อสร้างโรงอาหาร ขนาดกลาง 500 ท่ีน่ัง จำนวนเงนิ 6,069,000 บาท
โดย หจก. ตากทวกี ารค้า กำหนดแลว้ เสรจ็ 14 กนั ยายน 2559
ครจู ันทนา พจิ ิตรครุ ุการ รายนามผูบ้ ริหารโรงเรียนอนบุ าลตาก
นางอษุ ณยี ์ ฉำ่ กมล ปี 2486 (ครใู หญต่ ำแหนง่ เดียวกันกบั ผู้บริหารโรงเรียนสตรีตาก
นางสาวบญุ เอื้อ ผ่องลำเจียก “ผดงุ ปญั ญา”)
นายสมศักด์ิ จันทร์เดช ปี 2497 – 30 กนั ยายน 2527 (อาจารย์ใหญ่)
นางเสาวลีย์ บุญเรอื ง ตลุ าคม 2527 – 31 มนี าคม 2543 (ผูอ้ ำนวยการโรงเรียน)
ตลุ าคม 2543 – 31 มีนาคม 2547 (ผู้อำนวยการโรงเรียน)
นายกำจรวงศ์ จนั ทรวริ ชั 1 เมษายน 2547 – 7 ตลุ าคม 2547
นายพยนต์ สบื รอด (รกั ษาการในตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน)
ดร.เสวก บญุ ประสพ 7 ตลุ าคม 2547 – 30 กนั ยายน 2559
1 พฤศจิกายน 2559 – ถงึ ปัจจุบัน (ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นอนบุ าลตาก)
1 พฤศจิกายน 2562 – ถงึ ปัจจบุ ัน (ผู้อำนวยการโรงเรียนอนบุ าลตาก)
รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนอนุบาลตาก
นางศรีรวญ โสภโณดร เกษยี ณอายรุ าชการ
นางสาวนาฏยา ตันตสิ นุ ทร เกษยี ณอายรุ าชการ
นางสาวพาณี พชั รสุภา ลาออกราชการ
นายเกษมสันต์ คำพฒุ เกษยี ณอายุก่อนกำหนด
ยา้ ย
นายธงชัย บวั เกตุ ย้าย
นางสาวอำพร เศษโพธิ์ ย้าย
นางยุวดี คุตติวรัญญู เสียชีวิต
นายสรเศรษฐ์ สายปาน ย้าย
เกษียณอายุราชการ
นางเสาวลีย์ บุญเรอื ง เกษยี ณอายุกอ่ นกำหนด
นางปราณี บุญยัง ฝ่ายงบประมาณและสนิ ทรัพย์บริหารทั่วไป
นายสละ เครืออยู่ ฝ่ายบริหารวชิ าการ / ฝ่ายบริหารบุคลากร
นางสาวจตรุ พร มหาภาส การจดั การศึกษาปฐมวยั
นางปยิ นนั ท์ ใจแกว้ ฝา่ ยบริหารทว่ั ไป
นางเสาวรส วงศ์ทาฝ้นั
นางสาวลกั ขณา จ๋ิวปญั ญา
แผนพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ห้องเรยี นพิเศษด้านภาษา
ทต่ี ัง้ โรงเรียนอนบุ าลตาก
สถานทีต่ ้ัง 99/8 หมู่ท่ี 9 ตำบลน้ำรึม อำเภอเมอื งตาก จงั หวดั ตาก 63000
ตรงข้ามสนามกฬี าองคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวดั ตาก มีเน้อื ท่ี 14 ไร่ 3 งาน 69 ตารางวา
โทรศัพท์ 0 – 5551 – 3600 โทรสาร 0 – 5551 - 3610
เปิดสอนต้งั แต่ระดับช้นั อนุบาล 1 ถงึ ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6
เขตพ้นื ทีบ่ รกิ ารไดแ้ ก่ ตำบลนำ้ รมึ หมู่ 5,8,9,11 ตำบลเชียงเงนิ , ตำบลระแหง
E-mail : [email protected] Website : www.anubantak.ac.th
มีอาคารเรียน อาคารประกอบ รวม 15 หลงั ดังนี้
อาคารเรียนแบบ 216 หอ้ งสมดุ ,สหกรณ์รา้ นค้า,ห้องพยาบาล,หอ้ งวิทยาศาสตร์,หอ้ งพุทธศาสนา
ปรบั ปรงุ 46หอ้ งเรียน E-Classroom,หอ้ งปฏบิ ตั ิการคอมพวิ เตอร์,ห้องเรียน
นักเรยี นเรียนรว่ ม ห้องเรยี นDLTV,หอ้ งแสดงผลงานทางวิชาการ,
หอ้ งปฏิบตั กิ ารคณติ ศาสตร์,ห้องอาเซยี นศึกษา,ห้องพัฒนาทักษะทางภาษา,
ห้องผ้อู ำนวยการ,ห้องเกยี รติยศ
อาคารเรียนแบบ สปช.2/28 ห้องงานวชิ าการและงานบุคคล , ห้องธุรการ-งานสารสนเทศ,
(4 ช้ัน) ห้องเรยี น ป. 4/1-4/5 ห้องเรียน ป. 5/1-5/5, ห้องเรียน
ป. 6/1-6/5
อาคารเรยี นแบบ 324 ล.ตอกเข็ม ห้องเรยี น MEP1 หอ้ งเรียน ป. 1/1-1/6, ห้องเรยี น MEP2EMS2
ป.2/1-(4 ชั้น) 2/4, หอ้ งเรยี น EMS3 ป.3/1-3/4, หอ้ งพักครู,
ห้องการเงิน-พัสดุ,หอ้ งคอมพิวเตอร์,หอ้ งเรยี นนาฏศลิ ป์,ห้องเรียนดนตรี
สากล,ห้องพยาบาล, หอ้ งพักครูชาวต่างชาติ
อาคารเรยี นแบบ 105 ล/58(ข) ตา้ นแผ่นดินไหว 4 ห้องเรียน จำนวน 1 หลัง
อาคารเรยี นแบบ 105 ล/58(ข) ตา้ นแผ่นดนิ ไหว 4 ห้องเรยี น จำนวน 1 หลัง
โรงอาหาร/หอประชมุ แบบ 101 ล/27(พิเศษ) ปรับปรุงชนั้ บนเปน็ โรงพลศึกษา จำนวน 1 หลงั
บ้านพักครูแบบ 207 จำนวน 2 หลัง บ้านพกั ภารโรง/32 จำนวน 1 หลงั
สว้ มแบบ สปช. 605/34 จำนวน 2 หลงั สว้ มแบบ 10 ทนี่ ่งั จำนวน 1 หลัง
สว้ มนักเรียนชาย 4 ท่นี งั่ /49 จำนวน 1 หลัง โรงอาหารขนาด 500 ท่นี ง่ั จำนวน 1 หลัง
อาคารไมเ้ อนกประสงค์ , ลานกีฬาเอนกประสงค์
แผนพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงพยาบาลสมเดจ็ พระเจ้า
ห้องเรยี นพเิ ศษดา้ นภาษา ตากสนิ มหาราช
ผังบรเิ วณ โรงเรยี นอนบุ าลตาก ตำบลน้ำรมึ ไปลำปาง
ไปกำแพงเพชร
N
บ้านพักครู อาคารเรียน
เอนกประสงค์
บ้านพกั ครู อาคารเรียนแบบ ๒๑๖ ๓ ชั้น
ลานกีฬา
บ้านพกั เอนกประสงค์
ภารโรง
สะพาน
โรงผลติ
นำ้ ดม่ื อาคารเรียนแบบ สปช ๒/๒๘ ๔ ชนั้ สนามฟตุ บอล
อาคาร ถนนส่วนราชการ อบจ.ตาก
ประกอบ อบจ.ตาก
อาหาร
ส้วมแบบ
สปช.
๖๐๕/๓๔
ส้วมแบบ
สปช.
๖๐๕/๓๔
โรงอาหารขนาด อาคารเรยี นแบบ ๓๒๔ ล. ตอกเขม็ ๔ ช้นั
๕๐๐ ท่ีนั่ง
สวนเกษตรพอเพียง
ส้วมนกั เรียนชาย หอ้ งสว้ ม ๑๐
๔ ท/่ี ๔๙ ท่นี ัง่
อา
แผนพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
ห้องเรียนพิเศษดา้ นภาษา
สภาพการจดั การศึกษา จำนวนห้องเรียน
4
1. ขอ้ มูลจำนวนหอ้ งเรียน 5
5
1.1 จำแนกตามระดบั ชน้ั ดังน้ี 7
6
ระดับช้นั 6
อนบุ าลปีที่ 1 5
อนุบาลปีท่ี 2 5
อนบุ าลปีที่ 3 5
ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 48
ประถมศึกษาปีที่ 2
ประถมศึกษาปที ่ี 3 จำนวนหอ้ งเรยี น
ประถมศึกษาปีที่ 4 14
ประถมศึกษาปที ี่ 5 19
ประถมศกึ ษาปีที่ 6 15
48
รวม
1.2 จำแนกตามระดับการจัดการศึกษา
ระดบั การจัดการศึกษา
อนบุ าล
การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานช่วงชน้ั ที่ 1
การศึกษาขน้ั พื้นฐานช่วงชนั้ ท่ี 2
รวม
แผนพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
หอ้ งเรียนพเิ ศษดา้ นภาษา
2. ข้อมูลจำนวนนกั เรยี นปกี ารศกึ ษา 2563
2.1 จำนวนนักเรยี นจำนวนหอ้ งเรียนแยกรายห้องเรียนจำแนกตามระดับช้ัน
(ขอ้ มลู ณ 10 มถิ นุ ายน 2563)
จำนวน หอ้ งเรยี น / ทบั รวม
ช้นั หอ้ ง
อนุบาลปีที่ 1 12 3 4 5 67
4 19 26 29 25 - - - 99
อนบุ าลปที ี่ 2 5 28 33 32 34 34 - - 161
อนุบาลปที ี่ 3 5 21 31 30 31 31 - - 144
รวมระดับปฐมวัย 14 68 90 91 90 65 404
ประถมศึกษาปีที่ 1 7 31 30 33 33 34 33 32 226
ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 6 32 32 41 41 40 39 - 225
ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 6 28 36 41 41 41 40 - 227
ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 5 26 23 47 48 47 - - 191
ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 5 23 23 40 41 40 - - 167
ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 5 31 31 47 48 47 - - 204
รวมระดบั ประถม 34 171 175 249 252 249 112 32 1,240
รวมท้ังสิ้น 48 239 265 340 342 314 112 32 1,644
2.2 อตั ราสว่ นห้องเรยี น : นกั เรียนปกี ารศึกษา 2563
ระดบั ชน้ั จำนวน
อนบุ าลปที ี่ 1 1 : 23
อนุบาลปีท่ี 2 1 : 27
อนบุ าลปที ี่ 3 1 : 21
ระดบั ปฐมวยั 1 : 24
ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 1 : 34
ประถมศกึ ษาปีที่ 2 1 : 29
ประถมศกึ ษาปีที่ 3 1 : 37
ประถมศึกษาปีที่ 4 1 : 41
ประถมศึกษาปที ่ี 5 1 : 39
ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 1 : 39
1 : 37
ระดบั ประถมศึกษา 1 : 33
ระดับอนบุ าล – ประถมศึกษา
แผนพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
หอ้ งเรยี นพเิ ศษด้านภาษา
2.3 ตารางแสดงจำนวนนักเรยี นห้องเรยี นพเิ ศษดา้ นภาษา ในระยะ 3 ปี (256๔ - 256๖)
จำนวนนักเรยี นทไ่ี ดร้ ับการจัดการศกึ ษา
ปกี ารศกึ ษา 2564(คน) ปีการศึกษา 2565(คน) ปีการศึกษา 2566(คน)
อนุบาลปีที่ 1 ๒๕ ๒๕ ๒๕
อนุบาลปีท่ี 2 ๒๕ ๒๕ ๒๕
อนบุ าลปีที่ 3 ๒๕ ๒๕ ๒๕
รวมระดบั ปฐมวัย ๗๕ ๗๕ ๗๕
ประถมศึกษาปีท่ี 1 ๓๐ ๓๐ ๓๐
ประถมศึกษาปที ี่ 2 ๓๐ ๓๐ ๓๐
ประถมศึกษาปที ี่ 3 ๓๐ ๓๐ ๓๐
ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 ๓๐ ๓๐ ๓๐
ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 ๓๐ ๓๐ ๓๐
ประถมศึกษาปที ี่ 6 - ๓๐ ๓๐
๑๕๐ ๑๘๐ ๑๘๐
รวมระดบั ประถม ๒๒๕ ๒๕๕ ๒๕๕
รวมท้งั สิ้น
3.1 ตารางแสดงจำนวนของขา้ ราชการครู จำแนกตาม ตำแหน่ง และ เพศ ปกี ารศึกษา 2563
รายการ เพศ อนั ดับ ค.ศ. การศกึ ษา รวม
3 ต่ำกวา่ ป.ตรี ป.โท
ชาย หญงิ ครู ครู 1 2 1
ผชู้ ่วย ป.ตรี 2
10
ผู้อำนวยการ 1 - ---- 1- - 1 -
รองผู้อำนวยการ - 2 ---- 5- - 2
ครู - 10 4 7 1 3 3- 7 3 13
ครูมาช่วยราชการ - - ---- -- - -
2
รวม 1 12 4 7 1 3 9- 67 -
3
ครูชาวต่างชาติ 1 1 ---- -- 2 - 1
ลกู จ้างประจำ - - ---- -- - - -
ลกู จ้างชว่ั คราว (คนครัว/คนงาน) 2 3 ---- -5 - - 10
ลกู จ้างชั่วคราว (ธุรการ) - 1 ---- -- 1 - 9
ลกู จ้างชั่วคราว (ห้องสมดุ ) - 0 ---- -- - - -
ลูกจ้างชั่วคราว (พีเ่ ล้ยี งเดก็ ) - 10 - - - - -2 8 - -
ลกู จ้างชว่ั คราว (ครูอัตราจ้าง) 1 8 ---- -1 8 -
พนกั งานราชการ - - ---- -- - - 25
พี่เลยี้ งเด็กเรียนร่วม - -- - - 28
----
รวม 4 - 8 19 -
23 - - - - - 8 25 7
รวมทง้ั สน้ิ 5
35 - - - -
แผนพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
หอ้ งเรยี นพเิ ศษด้านภาษา
3.2 ขา้ ราชการครูในสถานศึกษาจำแนกตามลักษณะการปฏิบัติงานปกี ารศึกษา 2563
ลกั ษณะการปฏิบัตงิ าน ชาย หญิง รวม
ผ้อู ำนวยการ 1- 1
รองผู้อำนวยการ -3 3
ครูประจำชั้น - 14 14
ครูพิเศษสายช้ันเดียว -- -
ครูพเิ ศษขา้ มสายช้นั 18 9
2 24 26
รวม
3.3 ข้าราชการครูท่ปี ฏิบตั ิงานในสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2563
ลักษณะการปฏบิ ตั ิงาน ชาย หญิง รวม
ประจำการ - 10 10
มาชว่ ยราชการ --
ไปชว่ ยราชการ -- -
อตั ราจ้างงบประมาณ - 23 -
- 33 23
รวม 33
แผนพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
ห้องเรยี นพเิ ศษด้านภาษา
3. การศึกษาสถานภาพของโรงเรยี น
รูปแบบการวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ ม
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก (External Environment) เป็นการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
ที่เปน็ โอกาส (Opportunities) หรืออุปสรรค (Threats) โดยพจิ ารณาถึงแนวโนม้ ของปจั จัยทม่ี ีอทิ ธพิ ลต่อความ
คงอยู่และการขยายตัวของภารกิจหน่วยงาน มีทั้งปัจจัยที่เป็นโอกาสและปัจจัยที่เป็นอุปสรรคที่ส่งผลต่อการ
บรหิ ารจัดการของหน่วยงานซึ่งไม่สามารถควบคุมได้หรือควบคุมได้ในระยะสั้น ๆ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
ภายนอกทางด้านการศึกษาสามารถใชห้ ลักการวิเคราะห์ทเ่ี รียกว่า STEP ดงั น้ี
STEP คือ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกท่ีนำปัจจัย 4 ด้านที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการ
หนว่ ยงานให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์ มาวเิ คราะหไ์ ดแ้ ก่
1. ด้านสังคมและวัฒนธรรม (Socio – cultural Factors : S)เป็นการวิเคราะห์ในเรื่อง
โครงสร้างประชากร ระบบการศึกษา ค่านิยม ความเชื่อ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี แนวคิดอนุรักษ์
คุณภาพชีวติ การอนามัย สภาพและกระแสสังคมและชุมชน ที่ล้อมรอบหน่วยงานความต้องการของประชาชน
ปญั หาของสังคม เครือขา่ ยความรว่ มมอื ระหว่างหนว่ ยงานภาครัฐ ฯลฯ
2. ดา้ นเทคโนโลยี (Technological Factors : T)เป็นการวิเคราะห์ในเรอื่ งความก้าวหน้าทาง
เทคโนโลยเี ทคโนโลยสี ารสนเทศ เทคโนโลยกี ารบรหิ าร ภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ ฯลฯ
3. ด้านเศรษฐกิจ (Economic Factors : E )เป็นการวิเคราะห์ในเร่ืองสภาพและแนวโน้ม
เศรษฐกิจ สภาพเศรษฐกิจของผู้ปกครองภาวะทางการเงินการว่างงานอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจอัตรา
ดอกเบย้ี และการลงทุนต่างๆ ฯลฯ
4. ดา้ นการเมืองและกฎหมาย(Political and Legal Factors : P) เป็นการวิเคราะห์ในเร่ือง
รัฐธรรมนูญพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับมาตรฐานการศึกษา
หลักสูตรนโยบายรัฐบาล นโยบายกระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานต้นสังกัด กฎ ระเบียบท่ีเกี่ยวข้องกับการ
บรหิ ารจัดการหนว่ ยงาน ฯลฯ
แผนพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
ห้องเรยี นพิเศษดา้ นภาษา
ผลการศกึ ษาสภาพแวดล้อมแบบ STEP ทัง้ 4 ด้าน ดังน้ี
1. ด้านสงั คมและวัฒนธรรม (Social – cultural: S)
ประเด็นการวิเคราะห์ ประเดน็ ทเ่ี ปน็ โอกาส (Opportunities) ประเดน็ ที่เป็นอุปสรรค
1.จำนวนประชากรและ (Threats)
โครงสร้างประชากร
กลมุ่ เปา้ หมาย 1. ผปู้ กครองมีความเขา้ ใจ ในการจดั การศึกษา 1. นกั เรียนอยูน่ อกเขตพน้ื ที่
2. สภาพของชุมชน
ตามพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาตติ ามแนว บริการทำให้การจัดกิจกรรม
ครัวเรือนกลมุ่ เป้าหมาย
ปฏิรปู การศกึ ษา การศึกษาไมต่ ่อเน่ือง
3. คุณภาพชีวิตของ
ประชาชน 1. สถานศกึ ษาตัง้ อยู่ในเขตเทศบาลเมอื งตากและ 1. ชมุ ชนรอบโรงเรยี นเปน็ ชมุ ชน
ขนบธรรมเนยี ม
ประเพณี ความเชอื่ โรงเรียนอนุบาลตากแห่งใหม่ ตำบลนำ้ รมึ เมอื ง ทำให้การจราจรติดขัด
ค่านยิ ม และวัฒนธรรม
ใกล้ศนู ย์ราชการ หา้ งรา้ น และห้างสรรพสินค้า นกั เรยี น เดนิ ทางไปกลบั เชา้
การคมนาคมสะดวก และเย็นไม่สะดวก
2. ผูป้ กครองสว่ นใหญใ่ นชมุ ชนประกอบอาชีพ 2. ชมุ ชนมีสว่ นร่วมในการจดั
อิสระ และรบั ราชการเปน็ ส่วนใหญ่ การศกึ ษาค่อนขา้ งน้อย
3. สภาพชมุ ชนมีการคมนาคมและการสื่อสาร 3. ครอบครัวกลมุ่ เป้าหมายอยู่
สะดวก รวดเร็ว นอกเขตพน้ื ท่ีบริการ
1. สังคมโดยส่วนรวมเป็นสังคมเมือง เห็นคณุ คา่ สงั คมปจั จุบนั มีการใช้เทคโนโลยี
และประโยชน์ของการศึกษาส่งผลใหส้ นบั สนนุ การสือ่ สารทำใหน้ กั เรียนไดร้ ับ
การศกึ ษาด้วยรปู แบบทห่ี ลากหลาย การพฒั นาทักษะกระบวนการคิด
2. ชมุ ชนมีเอกลกั ษณ์ขนบธรรมเนยี มประเพณีที่ และระเบียบวินยั น้อย
เดน่ ชดั ส่งผลใหน้ กั เรยี นไดเ้ รยี นรปู้ ระเพณี
ท้องถนิ่
3. คุณภาพชวี ติ ของประชาชนค่อนข้างดี ส่งเสรมิ
ให้ผเู้ รียนได้รับการเรยี นรู้อย่างรอบด้าน
แผนพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ห้องเรียนพเิ ศษดา้ นภาษา
2. ดา้ นเทคโนโลยี (Technological: T )
ประเดน็ การวเิ คราะห์ ประเด็นท่เี ป็นโอกาส (Opportunities) ประเด็นทเ่ี ปน็ อปุ สรรค
1. ความกา้ วหนา้ และ (Threats)
ความเปล่ียนแปลงทาง 1. ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยีส่งผลให้ สามารถ 1. ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยี
ดา้ นเทคโนโลยี
เปน็ ส่ือการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ท่นี กั เรยี น สามารถสือ่ สารได้อยา่ งรวดเรว็
2. ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ และ
แหล่งเรียนรู้ สามารถเรียนรดู้ ้วยตนเองได้ตามความสนใจ สง่ ผลใหน้ กั เรียนเลยี นแบบ
2. ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยสี ง่ ผลให้ พฤติกรรมทไ่ี ม่พงึ ประสงค์ได้
สถานศึกษานำมาประยุกตใ์ ช้ในการบริหาร 2. ขอ้ มลู ขา่ วสารและการส่ือสาร
การศึกษาได้ ทีร่ วดเร็วมีผลกระทบต่อการ
จดั การเรียนการสอน
1. ภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ /ปราชญ์ชาวบ้านท่ี โรงเรียนยงั ใช้แหล่งเรียนรู้
หลากหลายสง่ ผลใหโ้ รงเรียนสามารถใชเ้ ป็น ภายนอกไม่คมุ้ ค่า ทำใหน้ กั เรียน
แหลง่ เรียนรแู้ ละ การดำรงชวี ิตทส่ี อดคลอ้ งกบั ขาดโอกาสเรยี นรูจ้ าก
ท้องถนิ่ ประสบการณจ์ ริง
2. มแี หลง่ เรียนรูห้ ลากหลายในท้องถน่ิ
3. ดา้ นเศรษฐกิจ (Economic: E)
ประเด็นการวิเคราะห์ ประเด็นทเี่ ป็นโอกาส (Opportunities) ประเดน็ ทเ่ี ปน็ อปุ สรรค
(Threats)
1. สภาวะทางเศรษฐกิจ องค์กรภาครฐั และเอกชน และผปู้ กครองเขา้ มามี ชมุ ชนมีรายได้ และฐานะทาง
อัตราค่าครองชีพ ส่วนสนบั สนุนงบประมาณอย่างตอ่ เน่ือง เศรษฐกิจไมเ่ ท่าเทยี ม
ผลผลติ ทางการเกษตร มีผลกระทบต่อการใหบ้ รกิ าร
สนับสนุนการศึกษา
2. งบประมาณ/ สพฐ. สพป. ตระหนกั ถงึ ประโยชน์ของการศกึ ษา เนอ่ื งจากโรงเรียนมสี องแห่งทำให้
การสนับสนนุ สง่ ผลให้จดั เงนิ เพมิ่ ให้ตามโครงการ และความ การจัดสรรงบประมาณที่ไดร้ ับไม่
งบประมาณของรัฐบาล จำเป็นของสถานศึกษา เพยี งพอต่อการพัฒนา ด้าน
อาคารสถานที่ และส่ิงแวดลอ้ มท้ัง
ในหอ้ งเรียน และนอกห้องเรียน
แผนพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
หอ้ งเรยี นพิเศษด้านภาษา
4. ดา้ นการเมอื งและกฎหมาย (Political and Legal: P)
ประเด็นการวิเคราะห์ ประเดน็ ที่เปน็ โอกาส (Opportunities) ประเดน็ ทเ่ี ป็นอปุ สรรค
(Threats)
1. นโยบายการศกึ ษาของ 1. สรา้ งสภาพแวดลอ้ มให้เออื้ ต่อการสรา้ งความ
รัฐบาล ปรองดอง สมานฉันท์ ความสามัคคี จดุ เน้นและนโยบายของรัฐ
หลากหลาย ส่งผลใหก้ ารทำงาน
2. เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาให้ ขาดประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล
ประชาชนอยา่ งเท่าเทียม
3. เพ่มิ ศักยภาพการแขง่ ขันของประเทศ โดยเนน้
ผลติ และพัฒนากำลังคนระดบั กลางและ
ระดบั สงู ท่ีมคี ุณภาพ และส่งเสรมิ การวิจัยและ
พัฒนาเพื่อการพฒั นาประเทศ
4. ยกระดบั คุณภาพการศึกษา โดยปฏิรปู
หลักสตู ร การเรียนการสอน เนน้ กระบวนการ
คดิ วิเคราะห์ การส่ือสารสองภาษา และดา้ น
เทคโนโลยี ปลกู ฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม ความมี
วินยั จติ สำนึกความเป็นไทย ต่อตา้ นการทุจรติ
คอร์รปั ชัน และยึดม่ันในสถาบนั ชาติ ศาสนา
และพระมหากษัตรยิ ์ และพฒั นาคณุ ภาพ
สถานศึกษา
5. ปฏิรูปครู โดยเนน้ การผลิตและพัฒนาครู
คณุ ภาพ และให้คนเกง่ คนดีมาเปน็ ครู
6. ปฏิรูประบบการบริหารจดั การให้มี
ประสิทธภิ าพ เนน้ การมสี ่วนรว่ มจากทกุ ภาค
ส่วนของสังคม และการกระจายอำนาจ
7. พฒั นาการจดั การศกึ ษาจังหวดั ชายแดน
ภาคใต้
8. เตรยี มความพร้อมเพ่อื การเข้าสปู่ ระชาคม
อาเซียน
9. พัฒนาระบบการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือ
การศกึ ษาใหท้ นั สมัย
แผนพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
ห้องเรียนพเิ ศษดา้ นภาษา
ประเดน็ การวเิ คราะห์ ประเด็นท่เี ป็นโอกาส (Opportunities) ประเดน็ ทเี่ ปน็ อุปสรรค
(Threats)
2. นโยบายการศึกษาของ 1. นักเรยี นมีสมรรถนะสำคัญ สู่มาตรฐานสากล
หน่วยงานตน้ สังกดั 2. นักเรยี นมคี ุณธรรม จริยธรรม รักสามคั คี 1. สถานศกึ ษาได้รับการนิเทศ
ตดิ ตามผลการดำเนินงานจาก
ปรองดอง สมานฉนั ท์ รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ เขตพ้นื ทีไ่ ม่ต่อเนื่อง
ภูมิใจในความเป็นไทย หา่ งไกลยาเสพตดิ มี
คุณลกั ษณะและทกั ษะทางสงั คมทีเ่ หมาะสม 2. ภาระงานพเิ ศษมีมากและการ
3. นกั เรียนที่มคี วามตอ้ งการพิเศษไดร้ ับการ พฒั นาครใู นช่วงเวลาเรียน ทำ
ส่งเสริม และพัฒนาเตม็ ศักยภาพ ให้ครูจดั กจิ กรรมการเรยี นการ
4. ครูไดร้ บั การพัฒนาองค์ความรู้ และสมรรถนะ สอนไมเ่ ต็มศักยภาพ
ผ่านการปฏิบัติจริงและการชว่ ยเหลอื อยา่ ง
ตอ่ เน่ือง
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน (Internal Environment) เป็นการวิเคราะห์ถึงแนวโน้มของ
ตัวแปรปัจจัย ที่เป็นจุดแข็ง (Strengths :S) และจุดอ่อน (Weaknesses :W) ท่ีหน่วยงาน สามารถควบคุม/
บริหารจัดการได้และมีอิทธิพลโดยตรง ที่แสดงถึงศักยภาพของหน่วยงาน ท่ีส่งผลต่อการกำหนด กลยุทธ์ของ
หนว่ ยงาน การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายในทางด้านการศกึ ษาเดิมนยิ มใชป้ ระเด็นสำคญั มาวิเคราะห์
ทเ่ี รยี กว่า 2S 4M มรี ายละเอยี ดดงั น้ี
แบบ 2S 4M คือ การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในหน่วยงานโดยนำปัจจัย 6 ดา้ น
มาวิเคราะหป์ ระกอบด้วย
1. ด้านโครงสร้างและนโยบาย (Structure: S1) เป็นการวิเคราะห์ในเร่ืองโครงสร้างการ
บรหิ ารหน่วยงาน โครงสรา้ งการแบง่ หนา้ ทท่ี ำงาน ระบบงานของหนว่ ยงาน นโยบายของหน่วยงาน ฯลฯ
2. ด้านผลผลิตและการบริการ (Service: S2) เป็นการวิเคราะห์ในเรื่องการให้บริการทาง
การศกึ ษา คณุ ภาพของการให้บริการ คุณภาพนกั เรยี น ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น ฯลฯ
3. ด้านบุคลากร (Man: M1) เป็นการวิเคราะห์ในเรื่องปริมาณบุคลากร คุณภาพบุคลากร
ความเพียงพอของบคุ ลากร การพฒั นาบคุ ลากร ขวญั กำลังใจบุคลากร ความกา้ วหนา้ ของบคุ ลากร ความรู้
และความสามารถและทกั ษะของบคุ ลากร ฯลฯ
4. ด้านประสิทธิภาพทางการเงิน (Money: M2) เป็นการวิเคราะห์ในเร่ืองความเพียงพอ
ของงบประมาณ แผนการบริหารงบประมาณ ประสิทธิภาพการใช้เงิน ความประหยัด ความคุ้มค่าความ
คล่องตวั ในการเบิกจา่ ย ฯลฯ
แผนพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
หอ้ งเรยี นพิเศษดา้ นภาษา
5. ด้านวัสดุอุปกรณ์ (Material: M3) เป็นการวิเคราะห์ในเรื่อง ความเพียงพอของสื่อวัสดุ
ครภุ ณั ฑค์ ุณภาพของสือ่ การใช้และการบำรุงรกั ษาสือ่ เทคโนโลยใี น การเรียนการสอน ห้องปฏิบัตกิ าร
แหล่งเรียนรู้ ฯลฯ
6. ด้านการบริหารจัดการ (Management: M4) เป็นการวิเคราะห์ในเร่ืองระบบการ
บริหารจัดการ การมีส่วนร่วมของบุคลากร การกระจายอำนาจ การใช้เทคโนโลยีในการบริหาร
การประชาสมั พนั ธ์ การระดมทรพั ยากรจากทกุ ภาคสว่ นฯลฯ
การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายใน
ด้านโครงสรา้ ง (Structure: S1)
ประเดน็ การวเิ คราะห์ ประเดน็ ทีจ่ ดุ แข็ง (Strengths) ประเด็นทจ่ี ดุ อ่อน (Weaknesses)
1. การจัดโครงสร้างการบริหาร โครงสร้างการบริหารงานของ 1. การปฏิบัตงิ าน การสัง่ การยังไม่
โครงการห้องเรียนพิเศษด้าน โครงการหอ้ งเรยี นพิเศษด้านภาษา ชดั เจนตามโครงสร้างการบริหาร
ภาษา (MEP) เป็นระบบตามแนวทางการเปิด 2. การปฏบิ ัติงานแตล่ ะฝ่ายยัง
หอ้ งเรยี นพเิ ศษในสถานศึกษา สับสนระหว่างโครงการหอ้ งเรยี น
สามารถบรหิ ารจัดการได้ พเิ ศษกับสถานศึกษา
2. การกำหนดบทบาทหนา้ ที่ สถานศึกษากำหนดบทบาท อำนาจ 1. ครูผสู้ อนไมค่ รบทุกกลมุ่ สาระ
ความรบั ผิดชอบ หนา้ ท่ี มอบหมายงานให้ครู 2. ครูผูส้ อนบางท่านปฏิบตั ิหนา้ ที่
ชัดเจนตามความรู้ ความสามารถ ที่ได้รับมอบหมายไม่เตม็
ความสามารถและศักยภาพ
3. บทบาทของผู้ปกครองและ กรรมการสถานศกึ ษาและบคุ ลากร 1. ผปู้ กครองมีความต้องการเน้น
ชุมชนในการมสี ว่ นร่วมการ ในสถานศึกษาและผูป้ กครองให้ การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน
จดั การศึกษา ความรว่ มมือในการจดั การศึกษา โครงการห้องเรียนพิเศษแตกตา่ ง
ของสถานศึกษา กนั
2. การประชมุ ของคณะกรรมการ
สถานศกึ ษาในแต่ละครั้งไม่ครบ
องค์ประชุม
แผนพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
หอ้ งเรยี นพเิ ศษดา้ นภาษา
ดา้ นการบรกิ ารและผลผลติ Service & Product: S2
ประเด็นการวเิ คราะห์ ประเดน็ ที่จดุ แขง็ (Strengths) ประเดน็ ท่จี ดุ อ่อน (Weaknesses)
1. ดา้ นคุณภาพผู้เรยี น
1. ผู้เรียนมีสขุ ภาพกาย สุขภาพจิต 1. ผเู้ รียนขาดทักษะชวี ิต
2. ด้านอตั ลักษณ์ของ ดี มวี ินยั ท่ีดี 2. ผู้เรียนใช้ทกั ษะกระบวนการคดิ
สถานศึกษา
2. ผูเ้ รียนมีสมรรถนะสำคัญและ การแก้ปัญหาน้อย
3. ดา้ นมาตรการส่งเสรมิ คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์พร้อมที่ 3. ผเู้ รียนมพี นื้ ฐานความรแู้ ตกต่าง
จะเรียนรู้
กัน
1. ผู้เรยี นมีคณุ ธรรม และจรยิ ธรรม
2. ผู้เรียนรา่ เรงิ แจม่ ใส ผู้เรียนสว่ นน้อยยังใชค้ ำพูดไม่สุภาพ
3. สามารถสื่อสารได้สองภาษา และไมป่ ฏิบัติตามกฏระเบียบของ
โรงเรียน
1. สถานศึกษาจัดโครงการสง่ เสรมิ
อัจฉรยิ ภาพแกน่ ักเรียนนอกเวลา 1. มาตรการด้านส่งเสรมิ ทักษะทาง
เรียน ภาษาไมส่ ามารถจดั ได้อย่าง
ท่วั ถึง
2. จัดโครงการศกึ ษานอก
สถานศึกษา 2. งบประมาณในการจา้ งครตู ่างชาติ
สอนภาษาต่างประเทศสงู
3. จดั กิจกรรมส่งเสรมิ ทักษะการ
อา่ น การเขยี น และการสอ่ื สาร 3. ระบบ Internet ของสถานศึกษา
ดา้ นภาษาต่างประเทศ ไมค่ รอบคลุมทุกอาคารเรยี น
ด้านการบรกิ ารและผลผลติ Service & Product: S2(ต่อ)
ประเดน็ การวเิ คราะห์ ประเดน็ ทจ่ี ุดแขง็ (Strengths) ประเดน็ ทีจ่ ดุ อ่อน (Weaknesses)
4. แหล่งเรยี นรู้
สถานศึกษามแี หลง่ เรียนรู้ท่ีทันสมยั 1. มีแหลง่ เรยี นรภู้ ายในยงั ไม่
เชน่ หอ้ งสมดุ , ห้องเรยี น หลากหลายและไม่เพียงพอตอ่
อิเลก็ ทรอนกิ ส์ E-Classroom , จำนวนผเู้ รียน
ห้องเรยี นพัฒนาทักษะทางภาษา ,
ห้องเรยี นอาเซียนศึกษา ห้องเรยี น 2. แหลง่ เรียนรูภ้ ายในห้องเรียน
DLTV , ห้องเรยี นดนตรี-นาฏศลิ ป์ , ยังไม่ส่งเสรมิ ทักษะทางภาษา
หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารทางวิทยาศาสตร์
หอ้ งปฎบิ ตั ิการทางคณิตศาสตร์ ,
หอ้ งคอมพิวเตอร์
แผนพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
ห้องเรยี นพิเศษด้านภาษา
ด้านครูและบุคลากร Man : M1
ประเด็นการวเิ คราะห์ ประเดน็ ทจ่ี ุดแขง็ (Strengths) ประเดน็ ทจี่ ุดอ่อน (Weaknesses)
1. จำนวนบุคลากรมเี พียงพอ
บุคลากรในสถานศึกษาจดั การ 1. บคุ ลากรชาวต่างชาตขิ าดเทคนิค
เหมาะสมกับความต้องการ
ของหน่วยงาน ภารกิจทไี่ ด้รบั มอบหมายอยา่ ง การสอน
2. บคุ ลากรมีคณุ ธรรม ครบถ้วนตามบทบาทหน้าที่ตามท่ี 2. การจัดกจิ กรรมการสอนของครู
จริยธรรม ความรู้
ความสามารถ ตรงกับงานท่ี กฎหมายกำหนด บางส่วนยงั ยดึ ครูเปน็ ศูนยก์ ลาง
รับผิดชอบ หม่นั พัฒนา
ตนเอง บุคลากรทุกระดบั ในสถานศึกษา 1. ครูผูส้ อนบางท่านยงั ขาดเทคนิค
3. บคุ ลากรมคี วามรู้ จัดการการเรยี นการสอนท่ีได้รบั การสอน
ความสามารถ และทักษะ
ในการปฏิบตั งิ าน มอบหมายอย่างครบถว้ นตาม 2. ครผู ูส้ อนบางท่านขาดทักษะการ
4. ค่านิยมและบรรทดั ฐานท่ี บทบาทหนา้ ทีต่ ามที่กฎหมาย สอ่ื สารดา้ นภาษาต่างประเทศ
ยดึ ถือรว่ มกนั
กำหนด มีประสิทธภิ าพได้มาตรฐาน
ดแู ลนักเรียนดังบุตรหลานของ
ตนเอง
1. บุคลากรสว่ นใหญจ่ ดั ทำ 1. บุคลากรสว่ นใหญไ่ ม่ไดท้ ำ
แผนพัฒนาตนเองเพอื่ ใหส้ ามารถ แผนพฒั นาตนเองด้านภาษา
จดั การเรยี นรู้ และปฏบิ ตั งิ าน 2. มีการใช้ ICT ในการจัดกจิ กรรม
ไดผ้ ลสำเร็จสอดคล้องกับ การเรียนการสอนน้อย
สมรรถนะ/มาตรฐานวชิ าชีพ
2. บุคลากรสว่ นใหญเ่ ปน็ ผู้มคี วามรู้
และประสบการณ์สงู
บคุ ลากรส่วนใหญ่ในสถานศกึ ษา มี 1. ครูบางสว่ นยงั จัดการเรยี นการ
ค่านิยมในการทำงาน “แบบพ่ีน้อง” สอนแบบเดิมควรจดั การเรียนการ
ครผู ู้น้อยเคารพครูอาวุโส การ สอนที่เน้นผูเ้ รยี นเปน็ สำคญั
ทำงานเป็นทีมชว่ ยเหลอื ซึง่ กัน 2. ครขู าดแรงกระตนุ้ ในการ
และกนั ปฏบิ ตั ิงาน และบางส่วนไม่
ยอมรบั การเปลย่ี นแปลง
แผนพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
หอ้ งเรยี นพเิ ศษด้านภาษา
ด้านงบประมาณ Money: M2
ประเดน็ การวเิ คราะห์ ประเดน็ ที่จดุ แข็ง (Strengths) ประเดน็ ท่ีจุดอ่อน (Weaknesses)
1. ระบบด้านงบประมาณ
1. สถานศกึ ษาได้รบั งบประมาณใน 1. การบริหารจดั การงบประมาณยัง
ระบบบญั ชี การเงิน การสนับสนุนจัดการศึกษาทง้ั ไม่ครอบคลมุ่ และไม่ชัดเจน
การพสั ดุ ภาครัฐ เอกชน และผู้ปกครอง เน่ืองจากคา่ ใช้จา่ ยดา้ น
ทำให้การบรหิ ารจดั การศกึ ษา สาธารณูปโภคสูง
คลอ่ งตัว
2. สถานศึกษามสี องแห่ง ทำใหม้ ี
ค่าใชจ้ ่ายด้านสาธารณูปโภคสูง
ด้านปจั จยั การจัดการศกึ ษา Materials: M3
ประเดน็ การวิเคราะห์ ประเด็นทจี่ ดุ แข็ง (Strengths) ประเดน็ ท่จี ุดอ่อน (Weaknesses)
1. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ภาวะ
1. ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบริหาร ผ้บู รหิ ารควรเนน้ งานวิชาการเป็น
ผู้นำ ความสามารถในการ จดั การสถานศึกษามีประสิทธิภาพ หลกั
บรหิ ารจดั การศึกษา ไดม้ าตรฐาน ภาวะผ้นู ำ
ความสามารถในการบริหารจดั
การศึกษาเชงิ กลยุทธ์ได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ
2. สถานศึกษามีการติดตอ่
ประสานงานกับชุมชนและ
หน่วยงานตา่ งๆอย่างสม่ำเสมอ ทำ
ใหไ้ ด้รบั ความรว่ มมือในดา้ นตา่ งๆที่
เปน็ ประโยชน์ต่อการเรยี นการสอน
3. ครบู ุคลากรทางการศึกษาจัดการ
ตามภารกจิ สถานศกึ ษาท่ีได้รบั
มอบหมายมปี ระสิทธิภาพได้
มาตรฐานการปฏบิ ัติงานเนื่องจาก
ครบู ุคลากรทกุ ระดบั มีคุณธรรม
จริยธรรม ภาวะผนู้ ำและสมรรถนะ
การปฏบิ ตั ิงานเชิงกลยุทธ์
แผนพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ห้องเรยี นพิเศษดา้ นภาษา
2. การกระจายอำนาจ ผู้อำนวยการโรงเรยี น บริหารจดั การ ผู้อำนวยการโรงเรียนบรหิ ารจดั การ
ตัดสินใจ ใหบ้ ุคลากรได้ใช้ สถานศกึ ษามปี ระสิทธิภาพได้ สถานศึกษาตอ้ งกำกบั ติดตามการ
ศกั ยภาพท่มี ีอยู่ปฏบิ ัตงิ าน มาตรฐานเนอื่ งจาก ผู้อำนวยการ ปฏบิ ตั งิ านอย่างเขม้ งวดในบางจุด
อยา่ งเตม็ ท่ี โรงเรียนไดก้ ระจายอำนาจตัดสนิ ใจ เนอ่ื งจากครูบคุ ลากรบางส่วน
ให้ครูบคุ ลากรไดใ้ ช้ศกั ยภาพทมี่ ีอยู่ ปฏิบตั งิ านไมบ่ รรลุเปา้ หมาย
ปฏบิ ัติงานอย่างเตม็ ความรู้
ความสามารถและสมรรถนะท่ี
กำหนด
ดา้ นการบรหิ ารจัดการ Management: M4
ประเด็นการวิเคราะห์ ประเด็นท่จี ดุ แข็ง (Strengths) ประเดน็ ทีจ่ ดุ อ่อน (Weaknesses)
1. การกระจายอำนาจการ
1. การใชร้ ูปแบบบริหารจดั การ 1. ผบู้ รหิ ารมีภาวะผนู้ ำ มีวินยั ทัศน์
ปฏบิ ัตงิ านยังไมท่ วั่ ถึง
ท่ีเหมาะสมในการบริหารงาน กวา้ งไกล 2. การนำผลการนิเทศติดตามไป
2. มรี ะบบการบริหารงานท่ีชัดเจน พฒั นาไดไ้ ม่ครอบคลมุ
ครอบคลุ่ม 1. ขาดการนำภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ มา
บรู ณาการในการเรยี นการสอน
3. มีหลักสูตรโครงการห้องเรียน
2. การใหบ้ รกิ ารทางเทคโนโลยี
พิเศษด้านภาษาที่สอดคลอ้ งกับ ไม่ครอบคลุม
ความตอ้ งการของผเู้ รยี นและ
ชมุ ชน สังคม
2. การคิดคน้ ระบบงานและ 1. มกี ารนำนวตั กรรมเทคโนโลยี
เทคนิคการบรหิ ารเพือ่ ใชใ้ น มาใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรียน
การปฏบิ ัติงานมุ่งสวู่ ิสัยทัศน์ การสอนและการบริหารงาน
2. มรี ะบบอินเตอรเ์ น็ท และ WIFI
ไว้บริการนกั เรียนและบุคลากร
ทางการศึกษา
แผนพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
หอ้ งเรยี นพิเศษดา้ นภาษา
4.จุดเน้นการพัฒนาครู
เปา้ หมายความสำเรจ็
1. ครแู ละบุคลากรไดร้ บั การพัฒนาและสามารถจดั การเรียนร้ไู ดอ้ ยา่ งมคี ุณภาพ
2. ครมู นี วัตกรรมทีเ่ ป็นเลิศสามารถจัดประสบการณเ์ รยี นรู้ที่หลากหลายสอดคล้องกับพัฒนาการของ
เด็ก
3. สถานศึกษามีความเข้มแข็งดา้ นการบริหารทรัพยากรบุคคล
4. ครแู ละบคุ ลากรมีความพอใจในความมั่นคงของการประกอบวชิ าชพี มีขวญั และกำลงั ใจในการ
ปฏบิ ัตงิ าน
5. ครทู กุ คนได้รับการพฒั นาใหม้ คี ณุ ภาพและสามารถปฏิบัตงิ านได้ตามมาตรฐานหรือเกณฑท์ ่ี
กำหนด
มาตรการ
1. พฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาท้ังระบบ
2. ดำเนนิ การตามนโยบายคืนครูใหน้ กั เรียน
3. สง่ เสริมยกยอ่ งเชิดชูเกียรติครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
แผนพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
ห้องเรยี นพิเศษด้านภาษา
ส่วนที่ 2
ทิศทางการจัดการศกึ ษา
นโยบายและจุดเน้นการจดั การศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปงี บประมาณ พ.ศ.2564
เพื่อให้การดําเนินการจัดการศึกษาและการบริหารจัดการการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ เป็นไปด้วย
ความเรียบร้อย บรรลุเป้าหมาย อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ
บริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จึงประกาศนโยบายและ
จดุ เน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 พร้อมท้ังขบั เคลือ่ นการดาํ เนินงานด้านการศึกษา
ใหม้ คี ณุ ภาพ ประสทิ ธภิ าพในทกุ มติ ิ โดยใช้จา่ ยงบประมาณอยา่ งคมุ้ คา่ เพ่อื มุง่
เปา้ หมาย คือ ผู้เรียนทกุ ชว่ งวยั ดังนี้
หลกั การตามนโยบาย ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2564
กระทรวงศึกษาธิการมุ่งมั่นดําเนินการภารกิจหลักตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
(พ.ศ.2561-2580) ในฐานะหน่วยงานเจ้าภาพขับเคลื่อนทุกแผนย่อยในประเด็น 12 การพัฒนาการเรียนรู้ และ
แผนย่อยที่ 3 ในประเด็น 11 ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต รวมทั้งแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และ
นโยบายรัฐบาลทั้งในส่วนนโยบายหลักด้านการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุก
ช่วงวัย และนโยบายเร่งด่วน เร่ืองการเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 นอกจากน้ียังสนับสนุนการขับเคลื่อนแผน
แม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ประเด็นอื่น ๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2561 -2564)
นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ (พ.ศ.2562-2565) รวมทั้งนโยบายและแผนต่างๆ ที่
เกี่ยวข้อง โดยคาดหวังว่าผู้เรียนทุกช่วงวัยจะได้รับการพัฒนาในทุกมิติ เป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ และมีความ
พร้อมร่วมขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศสู่ความม่ันคง ม่ังค่ัง และย่ังยืน ดังนั้น ในการเร่งรัดการทํางานภาพรวม
กระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธ์ิ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับสังคม และผลักดันให้การจัดการศึกษามีคุณภาพและ
ประสทิ ธภิ าพในทุกมิติ กระทรวงศกึ ษาการจึงไดก้ าํ หนดนโยบายประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ.2564ดังนี้
1. ปรับร้ือและเปล่ียนแปลงระบบการบริหารจัดการ โดยมุ่งปฏิรูปองค์การเพื่อหลอมรวมภารกิจและ
บุคลากร เช่น ด้านการประชาสมั พันธ์ ดา้ นการต่างประเทศ ด้านเทคโนโลยี ดา้ นกฎหมาย ฯลฯ ทส่ี ามารถลด
การใช้ทรัพยากรทับซอ้ น เพิ่มประสิทธิภาพและความเปน็ เอกภาพ รวมท้งั การนาํ เทคโนโลยดี จิ ิทัลเขา้ มาชว่ ยท้ัง
การบรหิ ารงานและการจดั การศกึ ษารองรับความเป็นรฐั บาลดจิ ิทลั
แผนพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ห้องเรียนพิเศษดา้ นภาษา
2. ปรับรือ้ และเปลยี่ นแปลงระบบการบริหารทรพั ยากร โดยมงุ่ ปฏริ ูปกระบวนการวางแผนงาน/โครงการ
แบบร่วมมอื และบูรณาการ ทีส่ ามารถตอบโจทย์ของสังคมและเป็นการพฒั นาทย่ี ่งั ยืน รวมทั้ง กระบวนการจดั ทํา
งบประมาณท่ีมีประสทิ ธภิ าพและใช้จา่ ยอยา่ งคมุ้ ค่า สง่ ผลให้ภาคสว่ นตา่ ง ๆ ท้ังภาครัฐภาคเอกชน และนานาชาติ
เช่อื ม่ันและร่วมสนบั สนนุ การพฒั นาคุณภาพการศึกษามากยิง่ ข้นึ
3. ปรบั รอื้ และเปลย่ี นแปลงระบบการบรหิ ารจัดการและพัฒนากาํ ลังคนของกระทรวงศึกษาธกิ าร
โดยมงุ่ บรหิ ารจดั การอตั รากาํ ลงั ให้สอดคล้องกบั การปฏิรปู องค์การ รวมทงั้ พฒั นาสมรรถนะและความรู้
ความสามารถของบคุ ลากรภาครฐั ให้มีความพร้อมในการปฏิบตั งิ านรองรบั ความเป็นรัฐบาลดจิ ิทัล
4. ปรับรอื้ และเปลีย่ นแปลงระบบการจดั การศึกษาและการเรยี นรู้ โดยมุ่งให้ครอบคลุมถึงการจดั
การศึกษาเพ่อื คณุ วุฒิ และการเรยี นรูต้ ลอดชีวิตท่สี ามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21
จุดเนน้ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
1. การพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
1.1 การจดั การศึกษาเพ่ือคุณวฒุ ิ
- จัดการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท โดยใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะ รวมทั้งแนวทางการจัดการ
เรียนร้เู ชิงรกุ และการวดั ประเมนิ ผลเพอื่ พฒั นาผูเ้ รียน ท่สี อดคล้องกบั มาตรฐานการศกึ ษาแหง่ ชาติ
- ส่งเสริมการพัฒนากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นและหลักสูตรสถานศึกษาตามความต้องการจําเป็นของ
กลุม่ เป้าหมายและแตกตา่ งหลากหลายตามบรบิ ทของพ้ืนท่ี
- พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สามารถแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โดยจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) จากประสบการณ์จริงหรือจากสถานการณ์จําลองผ่านการลงมือ
ปฏิบัติ ตลอดจนจัดการเรยี นการสอนในเชิงแสดงความคิดเห็นเพ่อื เปิดโลกทศั นม์ ุมมองรว่ มกันของผู้เรยี นและครใู ห้
มากข้นึ
- พัฒนาผู้เรียนใหม้ ีความรอบรู้และทกั ษะชีวิต เพ่ือเปน็ เครอ่ื งมอื ในการดาํ รงชวี ติ และสร้าง
อาชีพ อาทิการใช้เทคโนโลยดี ิจิทัล สุขภาวะและทัศนคตทิ ่ดี ีต่อการดแู ลสขุ ภาพ
1.2 การเรียนรู้ตลอดชวี ิต
- จัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตสําหรับประชาชนทุกช่วงวัย เน้นส่งเสริมและยกระดับทักษะ
ภาษาอังกฤษ (English for All)
- ส่งเสริมการเรียนการสอนที่เหมาะสมสําหรับผู้ท่ีเข้าสู่สังคมสูงวัย อาทิอาชีพท่ีเหมาะสมรองรับสังคม
สูงวัย หลักสูตรการพัฒนาคุณภาพชีวิต และหลักสูตรการดูแลผู้สูงวัย หลักสูตรBUDDY โดยเน้นการมีส่วนร่วมใน
การพัฒนาชุมชน โรงเรียนและผู้เรียน หลักสูตรการเรียนรู้ออนไลน์ เพ่ือส่งเสริมประชาสัมพันธ์สินค้าออนไลน์
ระดับตาํ บล
แผนพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
หอ้ งเรยี นพิเศษดา้ นภาษา
- ส่งเสริมโอกาสการเขา้ ถึงการศกึ ษาเพ่ือทักษะอาชีพและการมีงานทาํ ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะ
กิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และเขตพื้นที่พิเศษ(พ้ืนท่ีสูง พ้ืนท่ีตามแนวตะเข็บ ชายแดนและพื้นท่ีเกาะแก่ง ชายฝ่ัง
ทะเล ท้ังกลุ่มชนตา่ งเชอ้ื ชาติ ศาสนา และวฒั นธรรม กลมุ่ ชนชายขอบ และแรงงานตา่ งดา้ ว)
- พัฒนาครูให้มีทักษะ ความรู้ และความชํานาญในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลปัญญาประดิษฐ์
และภาษาอังกฤษ รวมท้ังการจัดการเรียนการสอนเพื่อฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบและมีเหตุผลเป็น
ขั้นตอน
- พัฒนาครอู าชวี ศกึ ษาที่มีความรู้และความสามารถในทางปฏบิ ัติ (Hands –on Experience)
เพื่อให้มีทักษะและความเช่ียวชาญทางวิชาการ โดยร่วมมือกับสถาบันอุดมศึกษาช้ันนําของประเทศจัดหลักสูตร
การพฒั นาแบบเข้มขน้ ระยะเวลาอยา่ งนอ้ ย 1 ปี
- พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ แ ล ะ ค ว า ม รู้ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ งบุ ค ล าก รกระทรวง
ศกึ ษาธิการใหม้ ีความพร้อมในการปฏบิ ัติงานรองรับความเป็นรัฐบาลดจิ ทิ ลั อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ โดยจัดให้มศี นู ย์
พฒั นาสมรรถนะบคุ ลากรระดับจงั หวัดทว่ั ประเทศ
2. การพฒั นาการศึกษาเพื่อความมน่ั คง
- พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาในพื้นที่จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ โดยนอ้ มนาํ ยุทธศาสตร์
พระราชทาน “เข้าใจ เขา้ ถึง พัฒนา” เปน็ หลักในการดาํ เนนิ การ
- เฝา้ ระวังภัยทุกรูปแบบทเ่ี กิดข้นึ กบั ผเู้ รียน ครู และสถานศกึ ษา โดยเฉพาะภัยจากยาเสพตดิ
อาชญากรรมทางไซเบอร์ การคา้ มนษุ ย์
- ส่งเสริมให้ใชภ้ าษาท้องถิน่ รว่ มกับภาษาไทยเป็นส่อื จัดการเรยี นการสอนในพื้นทท่ี ่ใี ช้ภาษา
อยา่ งหลากหลาย เพ่อื วางรากฐานใหผ้ ู้เรยี นมพี ัฒนาการด้านการคิดวเิ คราะห์ รวมท้ังมีทักษะการสือ่ สารและใช้
ภาษาทส่ี ามในการต่อยอดการเรียนรู้ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
- ปลกู ฝังผ้เู รียนใหม้ หี ลกั คดิ ทถ่ี กู ตอ้ งด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และเปน็ ผูม้ คี วามพอเพยี ง วนิ ัย
สุจริต จิตอาสา โดยใชก้ ระบวนการลูกเสอื และยวุ กาชาด
3. การสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน
- สนบั สนนุ ให้สถานศกึ ษาอาชีวศึกษาผลติ กาํ ลังแรงงานทม่ี ีคุณภาพ ตามความเป็นเลศิ ของแต่
ละสถานศกึ ษาและตามบริบทของพืน้ ที่ รวมท้ังสอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของประเทศทั้งในปัจจบุ นั และอนาคต
- สนับสนุนให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาบริหารจัดการอย่างมีคุณภาพ และจัดการเรียนการสอน
ด้วยเคร่ืองมือปฏิบัติท่ีทันสมัยและสอดคล้องกับเทคโนโลยี โดยเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะการวิเคราะห์ข้อมูล
(Data Analysis) และทักษะการสื่อสารภาษาต่างประเทศ
แผนพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษา
หอ้ งเรยี นพิเศษด้านภาษา
4. การสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
- พฒั นาแพลตฟอรม์ ดิจทิ ัลเพ่ือการเรยี นรู้ และใช้ดจิ ิทลั เปน็ เคร่ืองมือการเรียนรู้
- ศกึ ษาและปรับปรุงอัตราเงนิ อดุ หนนุ คา่ ใชจ้ า่ ยตอ่ หวั ในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานให้
สอดคลอ้ งกบั สภาพเศรษฐกิจและบทบัญญตั ิของรัฐธรรมนญู
- ระดมสรรพกําลังเพอื่ ส่งเสรมิ สนับสนุนโรงเรียนนาํ ร่องพื้นท่นี วตั กรรมการศึกษาเพ่ือลดความ
เหลอื่ มล้ำทางการศกึ ษาใหส้ อดคล้องพระราชบญั ญตั ิพื้นทนี่ วัตกรรมการศกึ ษา พ.ศ.2562
5. การจัดการศึกษาเพ่อื สร้างเสรมิ คุณภาพชีวติ ท่ีเป็นมิตรกบั ส่งิ แวดลอ้ ม
- เสรมิ สรา้ งการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และส่งเสรมิ คณุ ลักษณะและพฤติกรรมที่พงึ
ประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อม
- สง่ เสรมิ การพัฒนาสง่ิ ประดษิ ฐ์และนวตั กรรมทีเ่ ปน็ มิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม ให้สามารถเปน็ อาชีพ
และสรา้ งรายได้
6. การปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการ
- ปฏิรูปองค์การเพื่อลดความทับซ้อน เพ่ิมประสิทธิภาพและความเป็นเอกภาพของหน่วยงานที่มี
ภารกจิ ใกล้เคยี งกนั เชน่ ดา้ นประชาสมั พันธ์ ด้านต่างประเทศ ด้านเทคโนโลยี ด้านกฎหมาย เปน็ ตน้
- ปรับปรงุ กฎหมายและระเบยี บท่เี ปน็ อปุ สรรคและข้อจาํ กดั ในการดําเนนิ งานโดยคาํ นงึ ถึง
ประโยชน์ของผเู้ รยี นและประชาชน ตลอดจนกระทรวงศกึ ษาธิการโดยรวม
- สนบั สนนุ กิจกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบ
- พัฒนาระบบฐานข้อมูลดา้ นการศกึ ษา (Big Data)
- พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การและพัฒนากาํ ลังคนของกระทรวงศึกษาธกิ ารใหส้ อดคล้องกับ
การปฏริ ปู องค์การ
- สนบั สนุนให้สถานศกึ ษาเป็นนิติบคุ คล เพอ่ื ให้สามารถบริหารจดั การศกึ ษาท่ีมคี ุณภาพได้
อยา่ งอสิ ระและมปี ระสทิ ธภิ าพ ภายใต้กรอบแนวทางของกระทรวงศึกษาธิการ
- จดั ตงั้ หนว่ ยงานวางแผนทางการเงิน (Financial Plan) ระดบั จงั หวัด เพื่อพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตบคุ ลากรของกระทรวงศึกษาธิการ
- สง่ เสริมโครงการ 1 ตําบล 1 โรงเรยี นคณุ ภาพ โดยเนน้ ปรบั สภาพแวดล้อมท้ังภายในและ
ภายนอกบรเิ วณโรงเรยี นให้เออ้ื ต่อการเสริมสรา้ งคุณธรรม จรยิ ธรรม และจติ สาธารณะ
แผนพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
หอ้ งเรียนพิเศษดา้ นภาษา
การขบั เคลอื่ นนโยบายสู่การปฏบิ ตั ิ
1. ใหส้ ว่ นราชการ หนว่ ยงานในสงั กัดกระทรวงศึกษาธิการ นํานโยบายและจุดเนน้ เปน็ กรอบแนวทาง
มาใชใ้ นการวางแผนและจัดทํางบประมาณรายงานประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 โดยคํานงึ ถงึ มาตรการ 4
ข้อ ตามทีร่ ฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ ได้ใหแ้ นวทางในการบริหารงบประมาณไว้ ดังน้ี
(1) งดดงู านต่างประเทศ 1 ปี ยกเว้นกรณที ่ีมีความจาํ เปน็ และเป็นประโยชนต์ อ่ กระทรวงศึกษาธิการ
(2) ลดการจัดอบรมสมั มนาท่ีมีขนาดใหญ่และใช้งบประมาณมาก
(3) ยกเลิกการจดั งาน Event
และ (4) ทบทวนงบประมาณที่มีความซำ้ ซ้อน
2. ให้คณะกรรมการตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานการขบั เคลือ่ นนโยบายและจดุ เนน้ สกู่ ารปฏบิ ตั ิ
ระดบั พื้นที่ โดยใหผ้ ตู้ รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธิการเปน็ ประธาน สํานกั งานศึกษาธกิ ารภาคและสาํ นักตรวจ
ราชการและตดิ ตามประเมนิ ผล สป. เป็นฝ่ายเลขานุการและผชู้ ่วยเลขานกุ ารตามลําดบั โดยมบี ทบาทภารกิจใน
การตรวจราชการ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลในระดบั นโยบาย และจดั ทาํ รายงานเสนอตอ่ รัฐมนตรวี ่าการกระทรวง
ศกึ ษาธิการ และคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจดั การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
ทราบตามลาํ ดับ
3. กรณมี ีปัญหาในเชิงพื้นที่หรอื ข้อขดั ขอ้ งในการปฏิบตั งิ าน ใหศ้ กึ ษา วิเคราะหข์ อ้ มลู และดาํ เนนิ การ
แก้ไขปญั หาในระดับพื้นทกี่ ่อน โดยใช้ภาคเี ครอื ขา่ ยในการแก้ไขขอ้ ขดั ขอ้ ง พรอ้ มท้ังรายงานต่อคณะกรรมการ
ติดตามฯข้างต้น ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการตามลําดับ
อนึง่ สําหรบั ภารกจิ ของสว่ นราชการหลักและหน่วยงานทีป่ ฏบิ ตั ิงานในลกั ษณะงานเชงิ หนา้ ท่ี
(Function) งานในเชงิ ยุทธศาสตร์ (Agenda) และงานในเชงิ พนื้ ที่ (Area) ซ่ึงไดด้ ําเนินการอยู่ก่อนนัน้ เมอ่ื
รัฐบาลหรือกระทรวงศึกษาธิการมนี โยบายสําคัญเพมิ่ เติมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 นอกเหนอื จากท่ีกาํ หนด
หากมคี วามสอดคล้องกับหลักการนโยบายและจุดเนน้ ข้างต้น ใหถ้ ือเปน็ หนา้ ท่ีของสว่ นราชการหลักและ
หนว่ ยงานท่เี กยี่ วขอ้ ง ต้องเร่งรดั กํากบั ติดตาม ตรวจสอบใหก้ ารดาํ เนนิ การเกิดผลสาํ เรจ็ และมีประสิทธภิ าพ
อยา่ งเป็นรปู ธรรมดว้ ยเชน่ กนั
แผนพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ห้องเรียนพิเศษดา้ นภาษา
นโยบายและจดุ เน้น ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 (เพ่ิมเตมิ )
ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายและจุดเน้น ของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 ประกาศ ณ วนั ที่ 27 ธันวาคม 2562 นน้ั
เนอื่ งจาก ในหว้ งสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) รัฐบาลจงึ ได้
กําหนดมาตรการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซ่ึงทําให้
สงั คมไทยต้องปรับเปลย่ี นชีวติ ให้เข้ากับวิถีชีวิตใหม่ หรือ New Normal จึงมี ความจาํ เป็นตอ้ งปรับเปลี่ยนรปู แบบ
การดําเนินการไห้มีความปลอดภัยท้ังต่อตัวผู้เรียน ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นไปด้วยความ
เรียบร้อยดังนั้นนโยบาย“การศึกษายกกําลังสอง(Thailand Education Eco –System : TE2S) เป็นการศึกษาท่ี
เข้าใจ Supply และตอบโจทย์ Demand” ดังกล่าวอาศัยอํานาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 12 แห่งพระ
ราขบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
จึงประกาศนโยบาย และจุดเนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการ ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 (เพม่ิ เตมิ ) ดังน้ี
หลักการตามนโยบาย ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 (เพิม่ เตมิ )
“5. ดําเนนิ การปลดล็อก ปรบั เปลี่ยน เปีดกว้าง ทเี่ ป็นเง่ือนไขตา่ ง ๆ เพ่ือใหบ้ รรลผุ ล ตามนโยบาย
“การศึกษายกกําลงั ลอง (Thailand Education Eco - System : TE2S) การศึกษาท่ีเข้าใจ Supply และตอบ
โจทย์ Demand” โดย
- ปลดล็อก กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศต่าง ๆ เพ่ือให้เกิดความร่วมมือกับระหว่าง
ภาครัฐภาคเอกชน และภาคประชาลังคมให้สามารถดําเนินการท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษาไต้อยา่ งรวดเรว็ รวมถึงการ
บรหิ ารการศกึ ษาของประเทศใหค้ รอบคลุมทกุ พนื้ ท่ี
- ปรับเปลี่ยน หลักสูตรการเรียนการสอนท่ีมุ่งเน้นการพัฒนาขีดความสามารถและศักยภาพ ให้
ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก ปรับเปลี่ยนการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาผ่านศูนย์พัฒนา ศักยภาพ
บุคคลเพ่ือความเป็นเลิศ (Human Capital Excellence Center : HCEC) เพ่ือให้ครู up Skill และ Re-Skill
ของตนเองได้ตลอดเวลา ท้งั น้ี เพือ่ ลง่ ต่อความรู้ไปยังผเู้ รยี นให้เป็นคนดี คนเกง่ และคนทีม่ ีคุณภาพ
- เปดิ กวา้ ง เสรีทางการศึกษาให้ภาคเอกชนท่มี คี ุณภาพเข้ามามสี ่วนร่วมในการพฒั นา
การศึกษาร่วมประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรยี นผ่านศนู ย์พัฒนาศกั ยภาพบุคคลเพือ่ ความเป็นเลิศ (Human
CapitalExcellence Center : HCEC) จากแพลดฟอร์มดจิ ิทัล (Digital Education Excellence Platform :
DEEP) ให้ครอบคลมุ ผเู้ รยี นทั่วประเทศ
แผนพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
ห้องเรยี นพิเศษดา้ นภาษา
ท้ังน้ี เพ่อื นาํ ไปสนู่ กั เรยี นยกกาํ ลังสอง ทเี่ น้นเรียนเพอื่ รู้ พัฒนาทกั ษะเพื่อทาํ ครูยกกําลงั สอง ทเี่ นน้ เพิม่
คนเก่งมาเป็นครู พัฒนาครใู นระบบ ห้องเรียนยกกําลงั สองท่ีเน้นเรียนท่ีบ้าน ถามทีโ่ รงเรียน หลักสูตรยกกําลังสอง
ที่เน้นลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ ส่ือการเรียนรู้ยกกําลังสองท่ีเน้นเรียนผ่านส่ือผสมผสาน ผ่านช่องทางท่ีหลากหลาย
ได้แก่ On-Site เรียนทโ่ี รงเรียน Online เรียนออนไลน์ผ่านแพลตฟอร์ม ด้านการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ (Digital
Education Excellence Platform : DEEP) ท่ีมีเนื้อหามาตรฐาน จากผู้ผลิตที่เป็นภาคเอกชนOn-Air เรียนผ่าน
โทรทัศน์ DLTV มูลนิธกิ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม โดยเนื้อหามาตรฐานจากผูผ้ ลติ ทเ่ี ป็นภาคเอกชน และ On-
Demand ซึ่งสามารถเรียนได้ทุกท่ี ทุกเวลา ที่มีอินเทอร์เน็ตและอุปกรณ์เช่ือมต่อโรงเรียนยกกําลังสองท่ีมุ่งเน้น
คุณภาพในโรงเรียบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ เพ่ือความเป็นเลิศทางภูมิปัญญา
ทอ้ งถิ่นและวิสาหกจิ ชมุ ชนท่ีเน้นคุณภาพ ของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเพื่อความเป็นเลิศและความเชี่ยวชาญท่สี ามารถ
ตอบโจทย์ทักษะและความรู้ทเ่ี พิ่ม ความเช่ียวชาญในการปฏบิ ัติงาน
จดุ เนน้ ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2464 (เพิ่มเติม)
- พฒั นาครทู กุ ระดบั ใหม้ ที กั ษะ ความรู้ทจ่ี าํ เปน็ เพ่อื ทาํ หน้าทว่ี ทิ ยากรมืออาชีพ (Train The
Trainer) และขยายผลการพัฒนาผ่านศูนย์พัฒนาดักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิ ศ (Human Capital
ExcellenceCenter: HCEC)
- จัดการเรียนรูต้ ลอดชวี ิตผ่านเวบ็ ไซต์ www.deep.go.th โดยปลดล็อกและเปดิ กว้าง ให้
ภาคเอกชนสามารถเข้ามาพัฒนาเนื้อหา เพื่อให้ผู้เรียน ครู และผู้บริหารทางการศึกษามีทางเลือก ในการเรียนรู้ท่ี
หลากหลาย และตลอดเวลาผ่านแพลตฟอร์มด้านการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ (Digital Education Excellence
Platform: DEEP)
- ให้ผเู้ รยี น ครู ผูบ้ ริหารทางการศึกษามแี ผนพัฒนารายบคุ คลผา่ นแผนพฒั นารายบคุ คล สู่
ความเป็นเลศิ (Excellence Individual Development Plan : EIDP)
- จดั ทาํ “คู่มอื มาตรฐานโรงเรียน” เพอ่ื กําหนดใหท้ กุ โรงเรียนต้องมีพืน้ ฐานทจี่ าํ เปน็
แผนพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ห้องเรยี นพเิ ศษด้านภาษา
นโยบายสาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565
ตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) และแผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
กําหนดให้มีการพัฒนาเด็กต้ังแต่ระดับปฐมวัยให้มีสมรรถนะและคุณลักษณะท่ีดี สมวัยทุกด้าน โดยการปฏิรูป
กระบวนการเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่
หลากหลาย มีเป้าหมายให้ผู้เรียนทุกกลุ่มวัยได้รับการศึกษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะที่จําเป็นของโลก
อนาคต สามารถแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทํางานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีประสิทธิผล มีวินัย มีนิสัยใฝ่เรียนรู้
อย่างตอ่ เนื่องตลอดชีวติ รวมท้งั เปน็ พลเมืองที่รสู้ ิทธแิ ละหน้าท่ี มคี วามรับผดิ ชอบและมีจติ สาธารณะ
สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน มุ่งม่นั ในการพฒั นาการศึกษาข้ันพื้นฐานให้เปน็
“การศึกษาข้ันพื้นฐานวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ” มุ่งเน้นความปลอดภัยในสถานศึกษา ส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาท่ีมี
คุณภาพเท่าเทียม และบริหารจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ จึงกําหนดนโยบายสานักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 ดงั น้ี
1. ด้านความปลอดภัย
พัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยให้กับผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาและ
สถานศึกษา จากภัยพิบัติและภัยคุกคามทุกรูปแบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการมีสุขภาวะที่ดี
สามารถปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่และโรคอบุ ัติเหตุ
2. ดา้ นโอกาส
2.1 สนับสนุน ให้เดก็ ปฐมวัยได้เขา้ เรยี นทกุ คน มพี ฒั นาการที่ดี ทั้งทางร่างกาย จติ ใจ วินัย
อารมณ์สงั คม และสตปิ ญั ญาใหส้ มกับวยั
2.2 ดําเนินการให้เด็กและเยาวชนได้รบั การศกึ ษาจนจบการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน อยา่ งมีคณุ ภาพ
ตามมาตรฐาน วางรากฐานการศกึ ษาเพ่ืออาชพี สามารถวิเคราะห์ตนเองเพ่ือการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพตรง
ตามศักยภาพและความถนัดของตนเอง รวมท้ังส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษสู่ความเป็นเลิศ
เพ่ือเพม่ิ ขีดความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ
2.3 พัฒนาระบบดแู ลชว่ ยเหลอื เด็กและเยาวชนที่อยใู่ นการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือปอ้ งกันไมใ่ ห้
ออกจากระบบการศึกษา รวมท้ังช่วยเหลอื เด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคันให้ได้รบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐานอย่างเท่า
เทียมกนั
แผนพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
หอ้ งเรยี นพเิ ศษด้านภาษา
2.4 ส่งเสรมิ ใหเ้ ดก็ พกิ ารและผดู้ อ้ ยโอกาส ใหไ้ ด้รับโอกาสทางการศกึ ษาท่ีมีคุณภาพ มที ักษะ
ในการดําเนินชวี ิต มีพื้นฐานในการประกอบอาชีพ พ่ึงตนเองได้อยา่ งมีศักดิ์ศรคี วามเป็นมนุษย์ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
3. ด้านคณุ ภาพ
3.1 ส่งเสรมิ การจัดการศึกษาให้ผูเ้ รยี นมีความรู้ มที ักษะการเรียนรู้และทักษะท่ีจาํ เป็นของโลกใน
ศตวรรษท่ี 21 อย่างครบถ้วน เป็นคนดี มีวินัย มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองในระบอบ
ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ มีทศั นคตทิ ถี่ กู ต้องตอ่ บา้ นเมือง
3.2 พัฒนาผู้เรียนใหม้ สี มรรถนะและทักษะดา้ นการอา่ น คณติ ศาสตร์ การคิดขัน้ สูง นวัตกรรม
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล และภาษาต่างประเทศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และการเลือก
ศึกษาต่อเพ่ือการมงี านทํา
3.3 ปรับหลักสูตรเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ ท่ีเน้นการพัฒนาสมรรถนะหลักท่ีจําเป็นในแต่ละ
ระดับจัดกระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติจริง รวมทั้งส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ท่ีสร้างสมดุลทุกด้าน ส่งเสริม
การจดั การศึกษาเพือ่ พัฒนาพหปุ ญั ญา พัฒนาระบบการวัดและประเมนิ ผลผเู้ รียนทกุ ระดบั
3.4 พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ให้เปน็ ครูยุคใหม่ มีศักยภาพในการจัดการเรยี นการ
สอนตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ มีทกั ษะในการปฏิบตั ิหน้าท่ีได้ดี มีความร้คู วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
มีการพัฒนาตนเองทางวชิ าชีพอยา่ งต่อเนอื่ ง รวมท้ังมีจิตวญิ ญาณความเป็นครู
4. ดา้ นประสิทธภิ าพ
4.1 พัฒนาระบบบริหารจัดการโดยใช้พ้ืนท่ีเป็นฐาน มีนวัตกรรมเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อน
บนฐานข้อมูลสารสนเทศทถ่ี ูกตอ้ ง ทนั สมยั และการมสี ่วนร่วมของทุกภาคสว่ น
4.2 พัฒนาโรงเรียนมัธยมดีส่ีมุมเมือง โรงเรียนคุณภาพของชุมชน โรงเรียนขนาดเล็ก และ
โรงเรียนที่สามารถดํารงอยู่ได้อย่างมีคุณภาพ (Stand Alone) ให้มีคุณภาพอย่างยั่งยืน สอดคล้องกับบริบทของ
พนื้ ท่ี
4.3 บริหารจัดการโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาทีม่ ีจํานวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3
น้อยกวา่ 20 คน ให้ไดร้ บั การศึกษาอยา่ งมคี ุณภาพ สอดคล้องกบั นโยบายโรงเรยี นคณุ ภาพของชุมชน
4.4 ส่งเสริมการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพในสถานศึกษาท่ีมีวัตถุประสงค์เฉพาะ และสถานศึกษา
ท่ีตั้งในพนื้ ท่ีลักษณะพเิ ศษ
4.5 สนบั สนุนพ้ืนที่นวตั กรรมการศึกษาให้เปน็ ต้นแบบการพฒั นานวตั กรรมการศึกษาและการ
เพิม่ ความคลอ่ งตัวในการบริหารและการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน
4.6 เพ่มิ ประสิทธิภาพการนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
แผนพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
ห้องเรยี นพเิ ศษดา้ นภาษา
สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาตาก เขต 1
สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 ได้จัดประชุมระดมความคิดเห็นจาก ภาคส่วน
ผเู้ กี่ยวข้องทางการศึกษา เพอื่ กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกจิ เป้าประสงค์ โดยที่ประชุมไดร้ ่วมกันกำหนดทิศทางการ
จดั การศึกษา ดังนี้
ทิศทางการบรหิ ารจดั การศกึ ษา
วสิ ยั ทัศน์ (Mission)
พฒั นาผูเ้ รียนใหม้ คี วามรคู้ ู่คุณธรรม มที กั ษะชวี ิตตามศาสตร์พระราชาสสู่ งั คมท่ียั่งยนื
พันธกจิ (Mission)
1. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษาอย่างหลากหลายทั่วถึงมีคุณภาพ
และมที กั ษะชีวิต
2. สง่ เสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียน มีคุณธรรมจริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรและ
ค่านยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ
3. พัฒนาระบบบรหิ ารการศึกษาโดยเนน้ การมสี ว่ นรว่ ม
4. พฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้สามารถจดั การเรยี นรอู้ ย่างมีคุณภาพในรปู แบบที่หลากหลาย
และทนั สมยั
เปา้ ประสงค์ (Goal)
1. นักเรยี นระดับกอ่ นประถมศึกษา และระดบั การศึกษาภาคบงั คับทุกคน มีพฒั นาการเหมาะสมตามวยั
อยา่ งมีคุณภาพและมคี ณุ ธรรมจริยธรรม
2. ประชากรวยั เรยี นทุกคนได้รบั โอกาสในการศึกษาภาคบังคบั อย่างท่วั ถึง และเสมอภาค
3. พัฒนาระบบการศึกษาให้สอดคลอ้ งกับบริบท และทนั สมยั โดยเน้นการมีสว่ นรว่ ม
4. พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษามีสมรรถนะตรงตามสายงาน และมวี ฒั นธรรมการทำงาน
ทม่ี ุ่งเนน้ ผลสัมฤทธิใ์ หส้ ามารถจัดการเรียนรู้อยา่ งมคี ุณภาพในรูปแบบท่ีหลากหลายและทันสมยั
แผนพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
หอ้ งเรียนพิเศษด้านภาษา
ค่านิยมขององคก์ ร (Core Values)
“ ยึดหลกั ธรรมาภิบาล ประสานดว้ ยกลั ยาณมติ ร มีจติ บริการ พฒั นางานอยา่ งมีคณุ ภาพ ”
คำขวัญเจตจำนงการบริหารงานด้านความสุจรติ
“ ตาก 1 รว่ มใจ ทำงานโปร่งใส ไร้คอรัปชั่น ยึดมั่นคณุ ธรรม”
สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาตาก เขต 1 มีการขับเคลือ่ นสกู่ ารปฏิบัติ 6 นโยบาย
นโยบายที่ 1 ดา้ นการจดั การศกึ ษาเพื่อความม่ันคงของมนุษย์และของชาติ
นโยบายที่ 2 ด้านการจดั การศึกษาเพ่ือเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
นโยบายท่ี 3 ด้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์
นโยบายท่ี 4 ด้านการสร้างโอกาสในการเขา้ ถงึ บรกิ ารการศึกษาที่มีคณุ ภาพมีมาตรฐานและลดความ
เหลอ่ื มลำ้ ทางการศึกษา
นโยบายที่ 5 ดา้ นการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชวี ติ ทีเ่ ป็นมิตรกับส่งิ แวดล้อม
นโยบายที่ 6 ด้านการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจัดการศกึ ษา
จุดเนน้ ในการพัฒนาคณุ ภาพครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
การพัฒนาคุณภาพครู จึงตอ้ งดำเนินการตั้งแต่การผลติ และการพฒั นาครอู ยา่ งตอ่ เนื่อง โดยสำนกั งาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานร่วมมือกับสถาบันการผลิตครใุ นการผลติ และพัฒนาครู ให้เป็นไปตามเป้าหมาย
มีการดึงดูด คัดสรร ผมู้ คี วามสามารถสงู ให้ขา้ มาเปน็ ครูคณุ ภาพ มีระบบการพฒั นา ศักยภาพและสมรรถนะครู
อยา่ งต่อเนื่องครอบคลุมทั้งเงินเดอื น เสน้ ทางสายอาชีพ การสนับสนุนส่ือการสอน และสรา้ งเครือขา่ ยพฒั นาครใู ห้
มกี ารแลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ะหวา่ งกัน รวมถึงการพัฒนาครทุ ่มี ีความเช่ยี วชาญ ดา้ นการสอนมาเป็นครู สร้างครูร่นุ
ใหมอ่ ยา่ งเป็นระบบและประเมินครูจากการวัดผลงานการพัฒนาผ้เู รียนโดยตรง การพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการ
ศึกษา เป็นมาตรการสำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา ดำเนนิ การเพือ่ ให้ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาตระหนกั ถึง
ความสำคัญในอาชพี และหนา้ ทีข่ องตน โดยพัฒนาใหเ้ ป็นครูยคุ ใหม่ ปรบั บทบาทจาก “ครูผู้สอน” เป็น
“Coach”หรือ “ผูอ้ ำนวยการการเรียนรู”้ ปรบั วธิ ีสอนใหเ้ ด็กสามารถแสดงความคดิ เห็น แลกเปลี่ยนเรยี นรู้และทำ
กิจกรรมในชัน้ เรียน ทำหนา้ ท่ีกระตุน้ สร้างแรงบนั ดาลใจ แนะนำวิธีการเรียนรู้และวิธีจัดระเบยี บการสร้างความรู้
ออกแบบกิจกรรม และสร้างนวตั กรรมการเรียนรู้ให้ผเู้ รยี น มีบทบาทเป็นนักวจิ ัยพฒั นากระบวนการเรียนรเู้ พื่อ
ผลสัมฤทธิ์ของผ้เู รยี น
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา มีแนวทางดำเนินการ ดงั น้ี
แผนพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
หอ้ งเรียนพเิ ศษดา้ นภาษา
(1) ส่งเสริม สนับสนุนให้ครู ศึกษาวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาตนเอง ( Need
Assessment ) เพ่ือวางแผนการพัฒนาอย่างเป็นระบบและครบวงจร
(2) สนับสนุนให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาวางแผนและเข้ารับการพัฒนาตามหลักสูตร
ที่กำหนดท่เี ช่อื มโยงความก้าวหน้าในวชิ าชพี ( Career Path )
(3) ส่งเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาในรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
( Professional Learning Community : PLC )
(4) ส่งเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ทักษะด้านการรู้ดิจิทัล (Ditital
Literacy ) การสอนดิจิทัล ( Digital Pedagogy ) ทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษ ทักษะส่ือสารภาษาที่ 3 สอดคล้อง
กบั ภารกจิ และหนา้ ทข่ี องตน
(5) ส่งเสรมิ พัฒนา และยกระดับความรู้ภาษาอังกฤษของครุท่ีสอนภาษาอังกฤษ โดยใช้ระดับการ
พัฒนาทางด้านภาษา ( Common European Framework of Reference for Languages : CEFR ) ตาม
เกณฑท์ ี่กำหนด
(6) ส่งเสริมและพัฒนาครุให้สามารถออกแบบการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับ
การวัดประเมินผลท่ีเน้นทักษะการคิดข้ันสูง ( Higher Order Thinking ) ผ่านกิจกรรมการปฏิบัติจริง (Active
Learning )
(7) ส่งเสริมและพัฒนาครูให้มีความรู้และทักษะในการจัดการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนที่มี
ความแตกต่าง ( Differentiated Instruction )
(8) ส่งเสริมและพัฒนาครูให้มุ่งความรู้และทักษะในการสร้างเคร่ืองมือการวัดและประเมินผลการ
เรยี นรดู้ า้ นทักษะการคิดข้ันสูง ( Higher Order Thinking )
(9) ส่งเสริมและพัฒนาครู ให้มีความรู้ความสามารถจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนขนาดเล็กได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
(10) ส่งเสริมและพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ตาม
ศกั ยภาพของผเู้ รยี นแตล่ ะบุคคล และตามสภาพและประเภทของความพกิ าร
(11) ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูและบุคลากรทางกาศึกษาพัฒนาตนเองผ่านระบบ Online และแบบ
Face – to – Face Training
(12) ปรับปรุงระบบตรวจสอบ ติดตาม และประเมนิ ประสทิ ธิภาพ และประเมินประสิทธผิ ลครูและ
บุคลากรทางการศึกษาให้สอดคล้องกับความมุ่งหมาย และหลักการจัดการศึกษาข้อกำหนดด้านคุณภาพ และ
แผนการศกึ ษาแห่งชาติ
(13) นำเทคโนโลยีดิจิทัล ( Digital Technology ) มาเป็นเคร่ืองมือในการบริหารจัดการครูและ
บุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ตั้งแต่การจัดทานข้อมูลครูและบุคลากรทางกาศึกษาจนถึงการพัฒนาครู และ
บคุ ลากรทางการศกึ ษา โดยมีแนวทางดำเนนิ การ ดังนี้
แผนพฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
ห้องเรยี นพิเศษดา้ นภาษา
1) พัฒนารูปแบบการพัฒนาครูผ่านระบบดิจิทัล เพ่อใช้ในการพัฒนาผู้บริหาร ครูและบุคลากร
ทางการศึกษาทุกประเภททัง้ ระบบ
2) พัฒนาหลักสูตร เน้ือหาดิจิทัล( Digital Content ) ในสาขาท่ีขาดแคลน เช่น การพัฒนา
ทักษะการคิดขั้นสูง การจัดการศึกษาสำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ และผู้เรียนที่มีความแตกต่าง
เป็นต้น
3.) ส่งเสริม สนับสนุน ให้ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภทพัฒนาตนเอง
อยา่ งต่อเน่อื งผา่ นระบบดิจิทลั
4) พัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัล ระบบบริหารจัดการผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา
ทุกประเภททัง้ ระบบ
5) พัฒนาครูให้ความชำนาญในการสอนภาษาอังกฤษ และภาษาคอมพวิ เตอร์ ( Coding )
แผนพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ห้องเรยี นพเิ ศษดา้ นภาษา
ส่วนที่ 3
รายละเอยี ดโครงการการพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
3.1 บัญชีสรุปโครงการ
งบประมาณ สอดคลอ้ งกบั
(หน่วย :
ลำดบั ที่ ชื่อโครงการ/กิจกรรม ตวั ชี้วัด บาท) นโยบาย จุดเนน้ ผู้รบั ผดิ ชอบ
โครงการ รมว.ศธ. สพฐ.ด้านที่
- จุดเน้นที่
1 โครงการพัฒนาครแู ละบุคลากร 2,000. จุดเนน้ ข้อที่ จุดเน้นขอ้ ท่ี งานวชิ าการ
ทางการศกึ ษากจิ กรรม 15,000. 1 3 และงานบุคคล
1. ประเมนิ ตนเองและวางแผน - ครูและบุคลากร 3,000
พฒั นา (ID Plan) ร้อยละ 90 จัดทำ 5,000.
แผนพัฒนา (ID
Plan)
2. พัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา - ครูร้อยละ 90 มี
สมรรถนะเฉพาะ
และตวั บง่ ชขี้ อง
ครทู ่ดี ีในการจัด
กจิ กรรมการเรยี น
การสอน
3. อบรมสัมมนา/ศึกษาดูงาน - ครูรอ้ ยละ 90
อยา่ งน้อย 50 ช่วั โมงต่อปี เข้ารว่ มรับการ
อบรมอย่างน้อย
50 ช่วั โมง
4. พัฒนาครดู า้ นงานวชิ าการ - ครูรอ้ ยละ 90 มี
- งานวิจัย2 เรอ่ื งตอ่ ปี งานวิจยั และ
- นวตั กรรม 1 เร่อื งต่อปี นวัตกรรมการ
เรียนการสอน
5. การประกวดผลงานของ - ครรู อ้ ยละ 90
นักเรยี นและครูดา้ นตา่ งๆ สง่ ผลงานของ
- งานศิลปหตั ถกรรมนักเรียน นกั เรียนและครู
- รางวัลครดู ้านตา่ งๆ ด้านต่างๆ
(Best Patise)
แผนพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
หอ้ งเรียนพิเศษด้านภาษา
งบประมาณ สอดคล้องกบั
(หน่วย :
ลำดับที่ ชอื่ โครงการ/กจิ กรรม ตวั ชีว้ ดั บาท) นโยบาย จุดเน้น ผรู้ ับผิดชอบ
2 โครงการ 5,000. รมว.ศธ. สพฐ.ดา้ นท่ี งานวชิ าการ
จุดเน้นท่ี และงานบคุ คล
5,000.
6. การสรา้ งเครือข่ายและการมีสว่ น - โรงเรยี นในสังกดั จดุ เน้นข้อที่ จุดเนน้ ขอ้ ท่ี งานวชิ าการ
35,000. และงานบคุ คล
รว่ มในการพฒั นาการศกึ ษาใหก้ บั อนุบาลประจำ 13
-
โรงเรยี นในสังกัดอนบุ าลประจำ อำเภอร้อยละ 90
อำเภอ มคี วามพงึ พอใจต่อ
การเป็นตน้ แบบทีด่ ี
ของโรงเรยี นอนุบาล
ตาก
โครงการสร้างสงั คมและชุมชนแหง่ - ครรู ้อยละ 90 จดุ เน้นขอ้ ที่ จดุ เน้นข้อที่
13
การเรยี นรู้ (PLC) สามารถสร้าง/จดั
กิจกรรม ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้
1. Coaching & Mentoring ทางวชิ าชีพใน
2. การจดั การความรู้ (KM) โรงเรียนของตนเอง
- เลา่ ส่กู นั ฟงั
- สรรสรา้ งองค์ความรู้
- นำส่แู ลกเปล่ยี น
- พากเพียรพฒั นา
รวมทง้ั สิ้น --
แผนพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
ห้องเรยี นพเิ ศษด้านภาษา
3.2 รายละเอียดโครงการ
โครงการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
................................................................................................................
1. หลกั การและเหตุผล
การพัฒนาการเรียนการสอนตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 นั้น จะเน้นการ
จัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้สอนเป็นผู้ช่วยส่งเสริม แนะแนวทางให้เกิดองค์ความรู้แก่
ผู้เรียน โดยการจัดหาแหล่งการเรียนรู้ ท้ังแหล่งการเรียนรู้ภายในห้องเรียนและนอกห้องเรียน และนำเอา
เทคโนโลยีมาผสมผสานให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ให้มากที่สุด ดังน้ันผู้สอนจะต้องพัฒนาตนเอง พัฒนาความรู้
ความสามารถทั้งด้านเนื้อหาตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ตาสง ๆ ที่ทำหน้าที่รับผิดชอบสอน ด้านการถ่ายทอด
ความรู้สู่เรียนในวิธีต่าง ๆ ให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ให้มากที่สุด การพัฒนาตนเองให้มีประสิทธิภาพนั้นย่อม
เกดิ มาจากรา่ งกายและจติ ใจที่สมบรู ณ์แข็งแรง และขวัญกำลังใจทดี่ ีดว้ ย
โรงเรียนอนุบาลตาก ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญการพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากร ใน
สถานศึกษานั้นจำเป็นจะต้องมีการศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติมท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา เพื่อเป็นการ
เปิดมุมมอง และโลกทัศน์ในแบบต่าง ๆ เพื่อจะได้นำมาถ่ายทอดสู่ผู้เรียน ตลอดจนมีการสร้างขวัญและ
กำลังใจที่ดีต่อบุคลากรทุกคนในโรงเรียน เพ่ือจะได้มีร่างกายและจิตใจพร้อมที่จะปฏิบัติหน้าท่ีอย่างมี
ประสทิ ธิภาพ
2. วตั ถปุ ระสงค์
2.1 เพ่อื พฒั นาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาให้มสี มรรถนะเฉพาะและตวั บ่งช้ีของครูที่ดใี นการ
จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนด้านภาษา
2.2 เพือ่ พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนด้านภาษาให้มีประสทิ ธภิ าพสูงข้นึ
3. เปา้ หมาย
เชิงปริมาณ
1) มุ่งเน้นใหผ้ ู้เรยี นร้อยละ 90 เกดิ การเรยี นรู้ด้านภาษาและไดร้ บั ประโยชนส์ งู สุด
เชิงคุณภาพ
2) มงุ่ ให้ครูมคี วามสามารถในการจัดการเรยี นรู้ได้อย่างมีคุณภาพ
แผนพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
ห้องเรียนพเิ ศษด้านภาษา
4. วธิ ีดำเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ ผรู้ บั ผดิ ชอบ
กิจกรรมสำคญั มีนาคม 2564 30,000.
งานวิชาการและงานบคุ คล
1. PLAN วางแผนการดำเนินงาน มีนาคม
- ประชมุ วางแผนการดำเนินงาน เมษายน - พฤษภาคม
ขออนุมัตโิ ครงการและกำหนด
หนา้ ที่ความรบั ผดิ ชอบ ตลอดปีการศึกษา
- จัดหาทรพั ยากรในการดำเนนิ งาน พฤษภาคม – มีนาคม
2. DO ดำเนนิ กจิ กรรมในโครงการ ตลอดปีการศึกษา
กิจกรรมที่ 1 ประเมนิ ตนเองและ
มิถนุ ายน - กมุ ภาพนั ธ์
วางแผนพฒั นา (ID Plan)
กิจกรรมท่ี 2 พฒั นาหลักสูตร ทุก ๆ 3 เดอื น
มีนาคม
สถานศกึ ษา
กิจกรรมท่ี 3 อบรมสมั มนา/ศกึ ษาดู
งานอยา่ งน้อย 50 ช่ัวโมงตอ่ ปี
กจิ กรรมที่ 4 พฒั นาครดู ้านงาน
วิชาการ
- งานวจิ ยั 2 เร่ืองต่อปี
- นวัตกรรม 1 เรื่องต่อปี
กิจกรรมที่ 5 การประกวดผลงานของ
นักเรียนและครูดา้ นตา่ งๆ
- งานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรียน
- รางวัลครูด้านต่างๆ
(Best Patise)
กิจกรรมท่ี 6 การสรา้ งเครือข่ายและ
การมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษา
ให้กับ โรงเรยี นในสงั กดั อนุบาลประจำ
อำเภอ
3. CHECK การกำกับ ตดิ ตาม
ตรวจสอบการดำเนินงาน
4. ACTION ประเมนิ ผลและสรปุ
รายงานผลการดำเนินงาน
แผนพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ห้องเรียนพเิ ศษดา้ นภาษา
5. ระยะเวลาดำเนินการ ตลอดปีการศึกษา 2564
6. งบประมาณทใ่ี ช้จากเงินค่าบำรงุ การศึกษาห้องเรียนพิเศษ 30,000. บาท
ท่ี กิจกรรมและรายละเอยี ด งบดำเนินการ หมาย
โครงการใช้งบประมาณ เหตุ
ค่า ค่า
1 กจิ กรรมที่ 1 ประเมินตนเองและ ค่า คา่ วสั ดุ สาธารณูปโภค รวม
วางแผนพัฒนา (ID Plan) ตอบแทน ใชส้ อย
-- -
2 กิจกรรมท่ี 2 พฒั นาหลักสตู ร - .- 2,000. - 2,000.
สถานศึกษา 15,000.
-- 3,000. 3,000.
3 กจิ กรรมที่ 3 อบรมสมั มนา/
ศกึ ษาดูงานอย่างน้อย 50 ชวั่ โมง 15,000. 5,000. 5,000.
ต่อปี
5,000. 5,000
4 กจิ กรรมท่ี 4 พัฒนาครูดา้ นงาน
วิชาการ 30,000.
- งานวิจยั 2 เร่อื งต่อปี
- นวัตกรรม 1 เร่ืองต่อปี
5 กิจกรรมท่ี 5 การประกวดผลงาน
ของนักเรียนและครูดา้ นต่างๆ
- งานศิลปหตั ถกรรมนกั เรียน
- รางวลั ครดู ้านต่างๆ
(Best Practice)
6 กิจกรรมท่ี 6 การสร้างเครือข่าย
และการมสี ว่ นร่วมในการพัฒนา
การศึกษาให้กับ โรงเรียนในสังกดั
อนบุ าลประจำอำเภอ
รวมท้งั สนิ้
7. หน่วยงาน/ผู้ทีเ่ ก่ยี วข้อง ห้องเรยี นพิเศษด้านภาษาโรงเรียนอนบุ าลตาก
แผนพฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
ห้องเรยี นพเิ ศษด้านภาษา
8. ระดับความสำเรจ็
ตวั บง่ ชคี้ วามสำเร็จ วิธกี ารประเมนิ เครอื่ งมือ
- แบบสังเกต
1. ครูร้อยละ 90 มสี มรรถนะเฉพาะและตวั บง่ ช้ี - สังเกต - แบบสอบถาม
ของครปู ฐมวยั ทด่ี ีในการจัดกิจกรรมการเรยี น - สอบถาม - แบบสอบถาม
- แบบรายงานการอบรม
การสอน - แบบรายงานวิจัย,แบบรายงาน
นวัตกรรม
2. ครูร้อยละ 90 เข้ารว่ มรับการอบรมอยา่ ง - สอบถาม - แบบสอบถาม
- แบบสังเกต
น้อย 50 ชว่ั โมง - แบบสอบถาม
- แบบสอบถาม
3. ครรู ้อยละ 90 มีงานวิจัยและนวัตกรรมการ - สงั เกต - แบบสัมภาษณ์
เรยี นการสอน - สอบถาม
4. ครรู ้อยละ 90 สง่ ผลงานของนกั เรียนและครู - สงั เกต
ดา้ นต่างๆ - สอบถาม
5. โรงเรียนในสังกัดอนบุ าลประจำอำเภอ - สอบถาม
รอ้ ยละ 90 มีความพึงพอใจตอ่ การเป็น - สมั ภาษณ์
ต้นแบบทีด่ ีของโรงเรียนอนุบาลตาก
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
9.1 ครูและบุคลากรทางการศึกษามสี มรรถนะเฉพาะและตวั บง่ ชข้ี องครทู ดี่ ีในการจัดกิจกรรมการเรยี น
การสอนทางดา้ นภาษาอังกฤษ
9.2 นกั เรียนมีผลการการเรียนทกั ษะทางดา้ นภาษาสูงขน้ึ
แผนพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
หอ้ งเรียนพเิ ศษดา้ นภาษา
โครงการการสร้างชมุ ชนแห่งการเรยี นร้ทู างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC)
................................................................................................................
1. หลักการและเหตุผล
ในยุคปัจจุบันเป็นที่ทราบกันดีแล้วว่า ในแต่ละช้ันเรียนจะมีนักเรียนท่ีมีความสามารถท่ี หลากหลาย
และแตกต่างกัน ดังพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบับ ท่ี 2) พุทธศักราช
2545 มาตรา 10 ท่ีระบุว่า การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธแิ ละโอกาสเสมอกัน ในการรับการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้อย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บ ค่าใช้จ่าย การจัดการศึกษา
สำหรับบุคคลซ่ึงมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การส่ือสารและการเรียนรูห้ รือมี
ร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพหรือบุคคลซึ่งไม่สามารถพ่ึงตนเอง ได้หรือไม่มีผู้ดูแลหรือด้อยโอกาส ต้องจัดให้
บุคคลดังกล่าวมีสิทธิและโอกาสได้รับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เป็นพิเศษ การศึกษาสำหรับคนพิการในวรรคสอง
ให้จัดให้ตงั้ แต่แรกเกิดหรอื พบความพิการโดยไม่เสีย ค่าใชจ้ ่ายและให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิได้รับความช่วยเหลือ
อ่ืนใดทางการศึกษา นอกจากนี้แล้วในมาตรา 22 ยังระบุถึงหลักการจัดการศึกษาว่า ผู้เรียนทุกคนสามารถ
เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ต้องจัด การศึกษาที่พัฒนาผู้เรียนตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ครูทุกคนมีความ
จำเป็นอย่างย่ิงที่จะต้อง แสวงหาวิธีการที่จะช่วยให้นักเรียนทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ตามเจตนารมณ์ของ
พระราชบัญญัติดังกล่าว ซึ่งนวัตกรรมใหม่ท่ีครูจะต้องทราบคือ Professional Learning Community (PLC)
โดยท่ี PLC ย่อมา จาก Professional Learning Community ซึ่งหมายถึง Community of Practice (CoP)
ในการทำหน้าที่ครูน่ันเอง หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง เป็นการรวมตัวกันทำงานไปพัฒนาทักษะและการเรียนรู้เพื่อ
ปฏิบัติหน้าที่ครูเพื่อศิษย์ไป โดยรวมตัวกัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ จากประสบการณ์ตรง ทำให้ การทำหน้าท่ีครู
เพื่อศิษย์เป็นการทำงานเป็นกลุ่มหรือเป็นทีม ซ่ึงอาจเป็นทีมในโรงเรียนเดยี วกันก็ได้ ต่างโรงเรียนกันก็ได้ชุมชน
การเรียนรู้ทางวิชาชีพหรือ PLC คือ การรวมตัว รวมใจ รวมพลัง รว่ มมือกนั ของครู ผู้บริหาร และนักการศกึ ษา
ในสถานศึกษา เพื่อพฒั นาการเรียนรู้ของผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ
โรงเรียนอนุบาลตากได้เห็นความสำคัญของกระบวนการจัดการเรียนการสอน โดยใช้รูปแบบ
ของ PLC น่ันเป็นกระบวนการที่มุ่งเน้นท่ีจะพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการจัดกลุ่มครูท่ีสังกัดสาระวิชา
เดียวกันและครูผู้ที่สอนระดับชั้นเดียวกันมาร่วมปรึกษาหาแนวทางการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี คนเก่งและมี
ความสุข จึงได้จัดทำโครงการ การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning
Community: PLC) เพื่อยกระดับการเรียนรู้ของผู้เรียน โรงเรียนอนุบาลตาก ประจำปีการศึกษา 2564
2. วตั ถุประสงค์
2.1 เพอื่ เปน็ เคร่อื งมือทีช่ ่วยให้การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้มปี ระสทิ ธิภาพ
2.2 เพ่ือให้เกิดการรว่ มมอื รวมพลงั ของทุกฝ่ายในการพัฒนาการเรยี นการสอนสู่คณุ ภาพของผู้เรยี น
2.3 เพ่ือให้เกดิ การพัฒนาวชิ าชพี ครูดว้ ยการพัฒนาผูเ้ รียน
แผนพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษา
หอ้ งเรียนพเิ ศษดา้ นภาษา
3. เปา้ หมาย
3.1 ดา้ นปริมาณ
ผู้บรหิ ารและคณะครูทุกคนร่วมกนั จัดการเรยี นการสอนแบบแลกเปลยี่ นเรยี นรู้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
3.2 ดา้ นคุณภาพ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ ครบถ้วนสมบูรณ์ และเกิดคุณภาพต่อ
ผเู้ รียนอย่างทั่วถงึ
4. วิธดี ำเนินการ
4.1 ประชมุ คณะทำงานเพื่อชแี้ จงโครงการฯ
4.2 ดำเนินงานตามโครงการฯ
กิจกรรมที่ 1 Coaching & Mentoring
กิจกรรมท่ี 2 การจดั การความรู้ (KM)
- เล่าสู่กนั ฟงั
- สรรสรา้ งองคค์ วามรู้
- นำสแู่ ลกเปล่ยี น
- พากเพยี รพฒั นาพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา
4.3 สรปุ ประเมนิ โครงการฯ
4.4 จดั ทำรายงานโครงการฯ นำเสนอฝ่ายบรหิ าร
5. ระยะเวลาดำเนินการ ตลอดปกี ารศกึ ษา 2564
6. งบประมาณทีใ่ ช้จากเงนิ ค่าบำรงุ การศึกษาห้องเรียนพิเศษ 5,000. บาท
กิจกรรมและรายละเอียด งบดำเนนิ การ หมาย
โครงการใชง้ บประมาณ เหตุ
ที่
คา่ คา่ ค่า คา่
ตอบแทน รวม
ใชส้ อย วัสดุ สาธารณปู โภค
1 โครงการ สรา้ งสงั คมและชุมชนแห่ง - .- 5,000. - 5,000.
การเรยี นรู้ (PLC)
กิจกรรมท่ี 1
Coaching & Mentoring
2 กจิ กรรมที่ 2 การจัดการความรู้ (KM) - - - - -
- เลา่ สูก่ นั ฟงั
- สรรสร้างองค์ความรู้
- นำสแู่ ลกเปลยี่ น
- พากเพียรพฒั นาพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษา
รวมทง้ั ส้ิน 5,000.
แผนพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
ห้องเรียนพิเศษด้านภาษา
7. หนว่ ยงาน/ผู้ทเ่ี กยี่ วข้อง ห้องเรยี นพิเศษด้านภาษา โรงเรยี นอนุบาลตาก
8. ระดับความสำเรจ็
ตวั บง่ ชค้ี วามสำเรจ็ วธิ กี ารประเมนิ เครอ่ื งมือ
1. ครมู ีความรูค้ วามสามารถตรงกับงานที่ สงั เกต/ทดสอบ แบบบนั ทกึ /แบบประเมนิ
รับผิดชอบ หม่ันพัฒนาตนเอง
2. ครูมคี วามเขา้ ใจ เรอื่ ง PLC ตรวจสอบ แบบบนั ทกึ
3. ครสู ามารถนำความรู้ไปใช้ในการจัดการ
เรยี นการสอน สงั เกต แบบบนั ทึก
9. ผลที่คาดว่าจะไดร้ บั
9.1 ครมู เี ครื่องมือทชี่ ่วยใหก้ ารแลกเปล่ยี นเรยี นรมู้ ปี ระสิทธิภาพ
9.2 ครูและบคุ ลากรเกดิ การร่วมมอื รวมพลังของทุกฝ่ายในการพัฒนาการเรยี นการสอนสคู่ ุณภาพ
ของผู้เรยี น
9.3 ครูเกิดการพัฒนาวิชาชีพครดู ว้ ยการพัฒนาผเู้ รียน
แผนพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
หอ้ งเรยี นพิเศษดา้ นภาษา
ส่วนท4ี่
แนวทางการบรหิ ารโครงการ
โรงเรยี นอนบุ าลตากได้กำหนดแนวทางการกำกับติดตามประเมินผล ตรวจสอบและรายงานผลการ
ปฏิบตั ิงานโครงการ / กิจกรรมตามแผนพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาห้องเรยี นพิเศษดา้ นภาษา
ประจำปีการศึกษา 2564ไวด้ ังน้ี
1. การกำกับตดิ ตาม (Monitoring)
1.1 กำหนดวิธีการ/รปู แบบการกำกับ ตดิ ตามการดำเนนิ งานโครงการ/กจิ กรรม
1.2 กำหนดกรอบระยะเวลาและแผนกำกับ ติดตามการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม
1.3 แต่งตง้ั ผรู้ ับผิดชอบในการกำกับตดิ ตามการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม
2. การประเมินผล (Evaluation)
2.1 กำหนดวธิ ีการ/รปู แบบการประเมินผลโครงการ/กจิ กรรม
2.2 สรา้ งเครื่องมือประเมนิ ผลโครงการ/กิจกรรม
2.3 กำหนดกรอบระยะเวลาการประเมนิ ผลโครงการ/กิจกรรม
2.4 แตง่ ต้ังคณะกรรมการประเมนิ ผลโครงการ/กจิ กรรม
2.5 ดำเนนิ การประเมินผลโครงการ/กิจกรรมทั้งกอ่ นดำเนินโครงการ/กิจกรรมเพ่ือดูความ
เปน็ ไปไดร้ ะหว่างดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมเพ่ือดูความก้าวหน้าและปรับปรงุ แกไ้ ขการดำเนินงานและประเมนิ
เมือ่ สน้ิ สดุ โครงการ เพื่อดูประสิทธิภาพ และประสทิ ธผิ ลของการดำเนินงาน
3. การตรวจสอบ (Audition)
3.1 โรงเรียนประเมินตนเองตามผลงาน โครงการ/กจิ กรรม ทปี่ ฏิบัติบนั ทึกผล
เพ่ือปรับปรุงพฒั นา
3.2 คณะกรรมการตรวจสอบประเมนิ ผลการปฏิบัติงานเพื่อเสนอแนะแนวทางแกไ้ ขปญั หา
อุปสรรค และหาทางช่วยเหลอื สนบั สนนุ
4. การรายงานผล (Reporting)
4.1 ผรู้ ับผิดชอบโครงการ/กจิ กรรมรายงานผลการดำเนินงาน เม่อื สน้ิ สุดโครงการ/กจิ กรรม
4.2 เมอ่ื ส้ินปีการศกึ ษา 2564โรงเรียนสรุปผลการประเมินโครงการ/กิจกรรมเพื่อนำไปเป็น
ขอ้ มูลในปรบั ปรงุ แก้ไข และพฒั นาการดำเนนิ งานในปีการศึกษาต่อไป