The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mimm_jewpanya, 2021-12-23 20:22:54

นวัตกรรม plus

นวัตกรรม plus

รายงานการผลิตนวัตกรรมของผู้บริหารและครู เพื่อใช้พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม

ของนักเรียน ซึ่งเป็น 1 ใน 4 กิจกรรมของโครงการหลักสร้างคนดีให้บ้านเมือง ตามโครงการโรงเรียน
คุณธรรม สพฐ. เพื่อปลูกฝังให้ผู้บริหาร ครู นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาไดรับการปลูกฝัง
คณุ ธรรม 5 ประการ ไดแก 1) ความพอเพียง 2) ความกตัญญู 3) ความซ่ือสตั ยส์ ุจรติ 4) ความรับผิดชอบ
และ 5) อดุ มการณคุณธรรม การผลิตนวตั กรรมสร้างสรรค์คนดีผูบ้ ริหาร ครตู ้องศึกษาหลักการ แนวคิด
ทฤษฎีและผลงานการวิจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง แล้วนำมาผสมผสานกับประสบการณ์ของตนเอง เพื่อผลิต
นวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีให้เหมาะสมกับโรงเรียน ปัจจัยความสำเร็จของการผลิตนวัตกรรม สร้างสรรค์
คนดี ในโรงเรียนคุณธรรม โดยโรงเรียนอนุบาลตากมีนโยบายที่ชัดเจนในการพัฒนา นักเรียนให้มี
คุณธรรม ุ จริยธรรม ส่งเสริมให้นักเรียนได้รับการพัฒนา จนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
และมีเจตคติทดี่ ใี นการพฒั นาคุณธรรมอตั ลักษณ์

โรงเรียนอนุบาลตาก สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 หวังเป็นอย่างยิ่ง
ว่ารายงานการผลิตนวัตกรรมของผู้บริหารและครูตามโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ประจำปี
การศึกษา 2564 เล่มนี้ จะเป็นข้อมูลสำหรับนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนำไปสู่การพัฒนาโรงเรียน
คณุ ธรรม สพฐ. ต่อไป

โรงเรยี นอนบุ าลตาก

คำนำ หน้า
สารบญั

ความสำคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นำเสนอ................................................. ข
จดุ ประสงคแ์ ละเปา้ หมาย....................................................................................
กระบวนการผลติ ผลงาน...................................................................................... 1
ผลการดำเนนิ งาน ผลสมั ฤทธิ์ ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับ.................................................. 3
ปจั จัยสคู่ วามสำเรจ็ ............................................................................................. 4
บทเรยี นท่ีไดร้ ับ................................................................................................... 17
การเผยแพร่ การได้รบั การยอมรับ...................................................................... 20
เง่ือนไขความสำเร็จ............................................................................................. 20
21
ภาคผนวก 21
ผลงานทีเ่ กิดกับสถานศกึ ษา
ผลงานที่เกดิ กบั ครูและบุคลาการทางการศกึ ษา 22
ผลงานที่เกิดกับนักเรียน 23
คณะทำงานดำเนินกิจกรรมถอดบทเรยี น (Best Practice) 25
27
30

ชือ่ ผลงาน การพัฒนาคุณธรรมอัตลกั ษณข์ องโรงเรียนอนุบาลตาก ดว้ ย PLUS MODEL

ชื่อเจา้ ของผลงานนวตั กรรม โรงเรียนอนบุ าลตาก

สงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1

โทรศพั ท์ 0-5551-3600 โทรสาร 0-5551-3610

โทรศพั ท์มอื ถอื 08-7662-6996, 08-9565-7364 E-mail: [email protected]

ประเภทผลงาน  ดา้ นการบรหิ าร

 ดา้ นการเรยี นการสอน

การสอดคล้องกับคุณลกั ษณะโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.
 ความพอเพียง
 ความกตญั ญู
 ความซือ่ สัตย์สุจรติ
 ความรบั ผดิ ชอบ
 อุดมการณ์คุณธรรม
 คุณธรรมอตั ลักษณ์ของโรงเรียนอนบุ าลตาก 5 ประการ

รายละเอียดเอกสารการนำเสนอผลงานนวตั กรรม
1. ความสำคญั ของผลงานหรอื นวตั กรรมทนี่ ำเสนอ

1.1 เหตผุ ลท่ีเกดิ แรงบนั ดาลใจ ความจำเป็น ปัญหาหรอื ความต้องการทีจ่ ดั ทำผลงาน/นวตั กรรม
จากพระราชกระแสรับสั่งของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ต่อประชาชนชาว

ไทยให้ “ชว่ ยกันสร้างคนดใี ห้บา้ นเมอื ง” พร้อมท้ังพระราชทานหลัก 3 ประการ ทเ่ี ก่ยี วข้องกับครูและนักเรียน
ไวว้ ่า

“ครรู ักเด็ก เดก็ รกั คร”ู
“ให้ครูสอนให้เด็กมีน้ำใจต่อเพื่อน ไม่ให้แข่งขันกัน แต่ให้แข่งกับตัวเอง และให้เด็กที่เรียนเก่งช่วย
สอนเพื่อนท่ีเรียนช้ากวา่ ”
“ใหค้ รูจดั กิจกรรมให้นักเรียนทำร่วมกัน เพอื่ ให้เห็นคุณค่าของความสามัคค”ี
และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระราชทานพระบรมราโชบาย
ด้านการศึกษาเพื่อสานต่อพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ว่าการศึกษา
ต้องมุ่งสร้างพื้นฐานให้แก่ผู้เรียน 4 ด้าน ดังนี้ 1) มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง 2) มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง
มีคุณธรรม 3) มีงานทำ-มีอาชีพ 4) เป็นพลเมืองดี จึงทำให้โรงเรียนอนุบาลตากได้สมัครเข้าร่วมโครงการ
โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. โดยกำหนดคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนอนุบาลตาก 5 ประการ เพื่อเปนการ
สืบสานศาสตรพระราชา และชว่ ยกันสรา้ งคนดีให้บ้านเมือง สง่ ผลตอ่ การพัฒนาชาตบิ ้านเมืองให้เจริญรุ่งเรือง
ยง่ิ ๆ ขนึ้ ไปตอ่ ไป

คณุ ธรรมอตั ลกั ษณ์ของโรงเรียนอนุบาลตาก ปี 2563-2564

คุณธรรมเป้าหมาย พฤตกิ รรมบ่งชเ้ี ชิงบวก (จริยธรรม)

ผบู้ รหิ าร ครู นักเรียน

1. ความมีวนิ ัย 1. ปฏบิ ตั ิตนเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี 1. เป็นแบบอย่างท่ดี ี 1. การมาเรียนตรงเวลา

2. ปฏบิ ัติตามกฎระเบยี บ 2. แตง่ กายถูกตอ้ ง 2. แต่งกายถูกต้องตาม

3. ตรงต่อเวลา ตามวนั ทก่ี ำหนด ระเบยี บ

3. ตรงตอ่ เวลา 3. นักเรียนเข้าแถว/เดิน

แถว/เข้าแถวรับบริการเป็น

ระเบยี บ ทิ้งขยะลงถงั ขยะ

2. ความซื่อสตั ย์ การบริหารงานในโรงเรียน 1. เขา้ สอนตรงเวลา/ 1. ไม่ลอกการบ้าน (เพื่อน

โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ เตม็ เวลา สอนเพือ่ น/พีส่ อนน้อง)

2. เปน็ แบบอย่างท่ดี ี 2. ไม่ลกั ขโมย

3. ไม่เอาเวลาราชการไป 3. ไม่พูดโกหก

ทำประโยชน์ส่วนตวั 4. เกบ็ ชองไดส้ ่งครู

ประชาสัมพันธ์หาเจ้าของ

3. ความรบั ผิดชอบ มีความประพฤติดี 1. เอาใจใส่การสอน 1. ต้ังใจเรยี น

เปน็ แบบอย่างท่ีดีใหแ้ กผ่ ู้ 2. สง่ งานตาม 2. สง่ งานตรงเวลา

อยใู่ ตบ้ งั คับบัญชา กำหนดเวลา 3. รับผดิ ชอบต่อหน้าที่

ตนเองที่ได้รับมอบหมาย

4. ความกตญั ญู เปน็ แบบอยา่ งในการกตัญญูต่อ 1. เป็นแบบอย่างในการ 1. เคารพเช่ือฟังคำสั่งสอน

ผูม้ ีพระคุณ กตัญญตู ่อผ้มู ีพระคณุ ของพ่อแม่และครู

2. รกั ษาชื่อเสียงโรงเรียน 2. ยืนตรงเม่อื ไดย้ ินเพลง

ชาต/ิ เพลงสรรเสริญ

พระบารมี

5. ความพอเพียง 1. ใช้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ 1. ใช้หลักปรัชญาของ 1. ประหยัดน้ำ ประหยดั ไฟ

พอเพยี งในการดำรงชีวิตและ เศรษฐกิจพอเพยี งในการ 2. ใชจ้ า่ ยอยา่ งประหยัด

บริหารจัดการสถานศึกษา ดำรงชีวติ และบรหิ าร 3. ใช้อุปรกรณ์การเรียน

2. ใช้จา่ ยอยา่ งประหยัด จัดการสถานศึกษา อย่างร้คู ุณค่า

2. ใช้จ่ายอย่างประหยดั

“มวี นิ ยั ซือ่ สัตย์ รับผิดชอบ กตญั ญู อยู่อย่างพอเพียง”

1.2 แนวคดิ สำคัญในการออกแบบ
โรงเรียนอนุบาลตากเป็นถือเป็นองค์กรขนาดใหญ่อีกองค์กรหนึ่งที่เป็นจุดเริ่มต้นและต่อยอด

ด้วยการปลูกจิตสำนึกและสร้างเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อสร้างคนดีให้บ้านเมือง เนื่องจากโรงเรียน
อนุบาลตากเปน็ โรงเรียนขนาดใหญ่ การบรหิ ารจดั การจำเปน็ ตอ้ งอาศยั หลายแนวทางในการขับเคล่ือนนโยบาย
ไปสู่เป้าหมายอย่างมีคุณภาพ โดยเฉพาะคุณภาพนักเรียนซึ่งต้องอาศัยคุณภาพครูเป็นสำคัญ ดังนั้นกลไก
สำคัญที่จะช่วยพัฒนาผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา ซึ่งมีผลต่อการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณ์
ของโรงเรียนอนุบาลตาก ให้ผู้บริหาร ครู และนักเรียน มีคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนอนุบาลแบบยั่งยนื
หรือเป็นพฤติกรรมแบบถาวร โดยการนำเอาวงจรการบริหารงานคุณภาพ PDCA มาใช้ในการขับเคลื่อน
และยึดเอาระบบการประกันคุณภาพการศึกษามาวางแผนและกำหนดเป็นกระบวนการทำงาน และได้พัฒนา
รูปแบบการบริหารเพื่อการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ของโรงเรียนอนุบาลตากให้สู่เป้าหมายที่ตั้งไว้
คือ “PLUS MODEL” เป็นรูปแบบนวัตกรรมนำนโยบายโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ของโรงเรียนอนุบาลตาก
สู่ความสำเรจ็

2. จุดประสงคแ์ ละเป้าหมาย
2.1 วัตถปุ ระสงค์
2.1.1 เพื่อพฒั นานักเรียนให้มีคณุ ธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนอนุบาลตาก 5 ประการ อย่างยั่งยนื
2.1.2 เพื่อพฒั นาผบู้ ริหาร ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาใหม้ คี วามตระหนักในการพฒั นานกั เรยี น

ให้มคี ณุ ธรรมอตั ลักษณ์ของโรงเรยี นอนุบาลตาก 5 ประการ อยา่ งยั่งยนื
2.1.3 เพอื่ พฒั นารูปแบบการบรหิ ารสกู่ ารเปน็ โรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. ของโรงเรียนอนุบาลตาก

อยา่ งมีคุณภาพ
2.2 เปา้ หมาย
2.2.1 เชิงปริมาณ
1. ผู้บริหาร ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา จำนวน 139 คน และนักเรยี น จำนวน 1,709 คน
2.2.2 เชิงคุณภาพ
1. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน มีพฤติกรรมตามคุณธรรมอตั ลักษณ์

ของโรงเรยี นอนุบาลตาก 5 ประการ อยา่ งยั่งยืน
2. โรงเรยี นอนบุ าลตากได้มีรปู แบบการขับเคล่ือนโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. ดว้ ย PLUS MODEL

ท่มี ปี ระสิทธภิ าพ

3. กระบวนการผลิตผลงาน หรือขัน้ ตอนการดำเนินงาน
กระบวนการ/ข้ันตอนการดำเนินการสู่การเป็นโรงเรียนสุจรติ ด้วย PLUS MODEL ใช้รูปแบบที่มุ่งสู่

การพัฒนานกั เรยี นให้มีคณุ ธรรมอัตลกั ษณ์ของโรงเรียนอนุบาลตาก 5 ประการ อยา่ งย่ังยนื โดยเริม่ จากพัฒนา
ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความตระหนักในการพัฒนานักเรียนให้มีคุณธรรมอัตลักษณ์ของ
โรงเรียนอนบุ าลตาก 5 ประการ ซง่ึ เน้นพฤตกิ รรมคุณธรรมแบบยัง่ ยนื ซึ่งเปน็ รปู แบบการขบั เคลื่อนท่ีมีความ
สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน จากการศึกษาแนวคิดและทฤษฎดี ้านการบริหารจัดการ รูปแบบการบริหาร
การบริหารงานคุณภาพ PDCA การประกันคุณภาพการศึกษา รวมไปถึงประสบการณ์การทำงานของครูและ
บุคลากรทางการศึกษาทุกคน ในโรงเรียน ทำให้ได้นวัตกรรมรูปแบบการขับเคลื่อนที่สอดคล้องกับการ
บริหารสกู่ ารเปน็ โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. มรี ายละเอยี ดของการดำเนินการใช้ ดังนี้

การบริหารจดั การสูก่ ารเป็นโรงเรียนคุณธรรมอย่างมีคุณภาพ โดยใช้ PLUS MODEL ซึ่งได้ประยุกต์
ทฤษฎี และรูปแบบการบริหารเพื่อใช้ในการบริหารจัดการโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
อยา่ งมีคณุ ภาพ รายละเอียดของ PLUS MODEL โดยแบ่งเปน็ องค์ประกอบของรปู แบบโมเดล 3 องค์ประกอบ
หลัก ดงั น้ี

องค์ประกอบท่ี 1 TRUST
T = Teamwork & Thankful
Gratitude and spirit toward all
(รว่ มใจขอบคณุ ชืน่ ชมยนิ ดี
สามคั คีเป็นหน่ึงเดียว)
หมายถงึ การพฒั นาโรงเรียน อยา่ งเป็นระบบ

ด้วยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของโรงเรียน
(ผู้บริหารโรงเรียน ครูในโรงเรียน และบุคลากรภายใน
โรงเรียน และการมีส่วนร่วมของบิดา มารดา
ผู้ปกครองอย่างแยบยล เพื่อยกระดับ คุณภาพการ
เรียนรู้ คุณลักษณะ และพฤตกิ รรมของนักเรยี น

R = Results Driven
Discipline toward self (มงุ่ มัน่ ในตนและเปา้ หมาย)
หมายถึง การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร
มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมท้ัง
ปฏิบัติงานได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ อนั จะสง่ ผลให้องค์กรมีความสามารถในเชงิ แขง่ ขนั สูงสุด
U = Understanding & Caring
Heart toward clients (เขา้ ใจและเอาใจใส)่
หมายถึง ความพร้อมเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร ในการเป็นพลังขับเคลื่อนการปฏิบัติงานสู่เป้าหมาย
รว่ มกัน
S = Sustainability
Responsibility toward society (ใสใ่ จในความยง่ั ยืนของสังคมและองค์กร)
หมายถึง การพัฒนาองค์ความรู้ สนับสนุนและส่งเสริมความสามารถสู่ความเป็นเลิศ การพัฒนา
กระบวนการบริหารจัดการอย่างต่อเน่ือง และการใช้หรือการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างชาญฉลาด
ตอ่ เนอ่ื งและย่งั ยืนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
T = Transformation & Innovation
Vision toward the future (พรอ้ มใจนำนวตั กรรมใหม่มาสรา้ งการเปล่ียนแปลงให้ดขี ้ึน)
หมายถึง การสร้างโอกาสและคุณภาพการศึกษา ด้วยการพัฒนา นำเทคโนโลยีมาพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาใหบ้ รรลุสู่เปา้ หมายทางการศกึ ษาร่วมกนั

องค์ประกอบที่ 2 ABTK
A = Active
หมายถึง การปฏิบัติงานสอน (หน้าที่หลัก)

และงานส่งเสริมการเรียนรู้ (หน้าที่เสริม) ด้วยความ
กระตือรือร้น เน้นกระบวนการมีส่วนร่วม (ร่วมคิด
ร่วมแรง ร่วมใจ) เพื่อร่วมกันสร้างโอกาสทาง
การศึกษาและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้บรรลุสู่
เปา้ หมายทางการศึกษารว่ มกัน

B = Balance
หมายถึง ความสมดุลในการปฏิบัติงาน
ประกอบด้วย สมดุลด้านเศรษฐกิจ สมดุลด้านสังคม
สมดุลดา้ นสง่ิ แวดล้อมและสังคมดา้ นวัฒนธรรม
T = Technology
หมายถึง การพัฒนานวัตกรรมการเรยี นรู้เสริมสรา้ งปัญญาและแสวงหาความรู้ และให้เกิดประโยชน์
ในการบริหารจัดการข้อมูลทางการศึกษา และสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนของครูให้มีประสิทธิภาพ
เพิ่มขึ้น โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสารที่หลากหลาย และกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียน
ได้ลงมือกระทำและได้ใชก้ ระบวนการคดิ เกย่ี วกบั สง่ิ ทเ่ี ขาได้กระทำลงไป ทีเ่ รียกว่า Active learning
K = Kindness
หมายถึง การทบทวนหลังปฏิบัติการหรือการถอดบทเรียน : After action review (AAR) ด้วยการ
เรียนรู้จากประสบการณ์ ความเป็นกัลยาณมิตร ซึ่งเป็นการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ภายใน
ทีมงานด้วยกนั และเพือ่ เป็นพนื้ ฐานสำหรบั การเรยี นรู้ และพัฒนาท่ีกวา้ งมากขนึ้

องคป์ ระกอบท่ี 3 กระบวนการนเิ ทศด้วยรูปแบบ PLC

P= Professional Supervision
หมายถึง การจัดการนิเทศอย่างมืออาชีพ

ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ การศึกษา โดยความ
ร่วมมือระหว่างผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศ ตาม
แนวทางของประชาธิปไตยที่เน้นการให้ความ
ช่วยเหลือ แนะนำ และผู้รับการนิเทศยอมรับเพ่ือ
ประสิทธิภาพของการจัดการศึกษา โดยยึด
วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาครูสู่การพัฒนาคุณภาพ
ผเู้ รียน โดยจัดระบบโครงสร้างการนิเทศภายใน จัดให้
มีผู้รับผิดชอบงานนิเทศภายใน คณะกรรมการการ
นิเทศภายใน จัดทำแผนการนิเทศภายใน จัดการ
งบประมาณและวสั ดุ อปุ กรณ์ สำหรับการนิเทศภายใน
L = Learning Supervision
หมายถงึ เรยี นรกู้ ารพัฒนาการนิเทศภายใน โดยการบูรณาการหลักสตู ร กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรม
เสริมหลักสูตร การประกันคุณภาพการศึกษา การวางแผนพัฒนาการจัดการศึกษา และการนิเทศภายใน ให้มี
ความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน ปฏิบัติควบคู่กับการการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา และนำผลมาพัฒน า
อย่างตอ่ เนื่อง
C = Communication Network
หมายถงึ สรา้ งเครอื ข่ายการส่ือสาร โดยการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ สรา้ งเครอื ข่ายท้ังภายในโรงเรียน
ประกอบด้วยทีมนิเทศของครูในสายชั้น ครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการ PLC และสร้าง
เครือข่ายภายนอกโรงเรียน ประกอบด้วย ประสานความร่วมมือกับโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษา สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา หน่วยงาน องค์กรในชมุ ชน และภูมิปัญญา
ท้องถิ่น ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการนิเทศ รวมทั้งใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการรวบรวม จัดระบบข้อมูล
สารสนเทศ ทัง้ เอกสาร ไฟลป์ ระมวลผล (excel หรือ Google sheet) รปู ภาพ คลปิ วีดีโอ การนำเสนอในระบบ
จัดเกบ็ ที่ Google Drive เชอ่ื มโยงกับสอื่ สงั คมออนไลน์ เชน่ Facebook สำหรับการจดั การกลมุ่ ชุมชนแห่งการ
เรยี นรู้ร่วมพัฒนา และนำเสนอผ่านเว็บไซตน์ เิ ทศภายในของโรงเรียน

การดำเนินการนเิ ทศ
1. การเยีย่ มชนั้ เรยี นและสังเกตการสอน
2. ชแี้ นะและสอนงานเชงิ ปฏบิ ัติการ (Coaching and Mentoring)
3. ประชมุ นเิ ทศ ตดิ ตาม ทบทวนการปฏิบัติงาน
4. การนิเทศบรู ณาการสร้างสรรค์ โดยใชก้ ระบวนการ PLC
5. นิเทศ โดยใช้ข้อมูลเปน็ ฐาน

ขัน้ ท่ี 1 วานแผนการนเิ ทศ
ขั้นที่ 2 การจดั การเรยี นรู้
ขน้ั ที่ 3 นำเสนอกจิ กรรมการเรยี นรู้
ขน้ั ที่ 4 การนเิ ทศ
ขน้ั ที่ 5 สรุปและรายงานผลการนิเทศ
6. การสรปุ และรายงานผลการนเิ ทศ
การดำเนินงานได้จัดทำการวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารรายงานผลการดำเนินงานของปีที่ผ่านมา
เพอ่ื นำขอ้ มูลมาพัฒนา จำแนกเปน็ ดา้ นการวางแผน (Plan) การปฏบิ ตั ิ (Do) การตรวจสอบ (Check) และ
การแก้ไขปรับปรุง (Act) กับภารกิจการบริหารสถานศึกษา 4 ด้าน ได้แก่ การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานบุคลากร การบริหารงานงบประมาณ และการบริหารงานทั่วไป ในรูปแบบของ PLUS
MODEL โดยใชว้ งจรคุณภาพเดมม่งิ (PDCA) ทฤษฎีระบบ (System Theory) หลกั การบริหารโดยใช้โรงเรียน
เป็นฐาน (SBM) การบรหิ ารตามหลกั ธรรมาภิบาล การบรหิ ารแบบมีสว่ นร่วมและภาวะผ้นู ำของผ้บู ริหาร
รวมทั้ง บริบท ค่านิยมของโรงเรียน นำไปสู่การออกแบบและพัฒนานวัตกรรมให้สอดคล้องกับบริบท
ของโรงเรียนอนุบาลตากจึงได้เกิดนวัตกรรม PLUS MODEL ขึ้นมา ซึ่งเป็นนวัตกรรมใช้ในการพัฒนา
นักเรียน ให้มีคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนอนุบาลตาก 5 ประการ อย่างยั่งยืน ให้ผู้บริหาร ครู
และบุคลากรทางการศึกษามีความตระหนักในการพัฒนานักเรียนให้มีคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนอนุบาล
ตาก 5 ประการ อยา่ งยัง่ ยนื และเปน็ การพัฒนารปู แบบการบริหารสูก่ ารเปน็ โรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. อย่างมี
คุณภาพ โดยนำเอาวงจรการบริหารงานคุณภาพ PDCA และ PLUS MODEL มาใช้ในการขับเคลื่อน
นโยบายโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. แสดงให้เหน็ ถงึ ความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์และสะท้อนภาวะผู้นำในสถานศึกษา
ส่งผลให้การนำนโยบายโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. สู่การปฏิบัติในสถานศึกษาเป็นรูปธรรม ดังรายละเอียด
ตอ่ ไปนี้

ข้ันการวางแผน Plan (P) : TRUST

กระบวนการ กจิ กรรม : ดา้ นการบรหิ ารงานวชิ าการ

Plan (P) ร่วมกำหนดมาตรฐานของการดำเนนิ งานโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. ทต่ี ้องการใหเ้ กดิ ข้ึน

การวางแผน ร่วมกัน

1. การจดั การ 1.1 ผู้บรหิ าร ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาประชุมวางแผนจดั การเรยี นรู้ โดยนำ

เรยี นรู้ การประเมินและผลสัมฤทธขิ์ องปีทผี่ ่านมาวิเคราะห์และหาข้อสรปุ

1.2 ครวู างแผนจดั ทำโครงสร้างการจัดการเรียนรู้ สื่อ นวตั กรรม กำหนดแหลง่ เรยี น

เพ่ือพฒั นานักเรียน

1.3 ครวู างแผนการทำเครื่องมอื การวัดและประเมินผล ท่หี ลากหลาย เหมาะสม

1.4 ครวู างแผนในการจัดทำวธิ ีปฏบิ ตั ทิ ่ีเป็นเลิศ (Best Practice)

2. การจดั 2. ประชุมวางแผนวางแผนการจัดกจิ กรรมส่งเสริมใหค้ รมู ีคณุ ธรรมอตั ลักษณข์ อง

กจิ กรรมส่งเสรมิ โรงเรยี นอนุบาลตาก 5 ประการ กำหนดผรู้ ับผดิ ชอบและดำเนนิ การ

โครงการโรงเรียน 2.2 ครูผู้รบั ผดิ ชอบจัดทำโครงการ กจิ กรรม และวางแผนร่วมกบั ผู้บริหาร

คุณธรรม สพฐ. และคณะครู บุคลากรทางการศึกษาจัดทำกำหนดการและปฏทิ ินการดำเนินงาน

3. การนิเทศ 3.1 ประชุมวางแผนการนเิ ทศภายใน ทีเ่ กีย่ วข้องกบั การจัดการเรยี นรู้

ภายใน และการจัดกจิ กรรมต่าง ๆ ของงานโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. ของโรงเรียนอนบุ าลตาก

3.2 แตง่ ตงั้ ผ้รู ับผดิ ชอบในการนเิ ทศภายใน

3.3 กำหนดการดำเนินการนิเทศตามปฏิทิน

3.4 การรวมรวบข้อมูลการนิเทศ เพื่อใชเ้ ป็นข้อมลู ย้อนกลับในการพฒั นา

4. การบริการ 4.1 การวางแผนการให้บริการดา้ นวชิ าการทเี่ ก่ียวข้องกบั การดำเนินงานโรงเรยี นคุณธรรม

ดา้ นวิชาการ สพฐ. ของโรงเรียนอนุบาลตาก อยา่ งเป็นระบบ

4.2 แผนการให้บริการสื่อ นวตั กรรม แหล่งเรียนร้ทู ี่เก่ียวข้องกบั การดำเนินงาน

โรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. ของโรงเรยี นอนุบาลตาก

4.3 แผนการบริการให้คำปรึกษาและแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ การดำเนินงานโรงเรยี นโรงเรยี น

คุณธรรม สพฐ. ของโรงเรียนอนบุ าลตาก

4.4 เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ผลการดำเนินงานโรงเรยี นสุจริตด้วยวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย

4.5 แผนงานสรา้ งเครือข่ายการบรกิ ารด้านวิชาการ ท่ีเกย่ี วข้องกบั การดำเนินงาน

โรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. ของโรงเรียนอนุบาลตาก

กระบวนการ กิจกรรม : ด้านการบรหิ ารงานบคุ คล

1. การพฒั นาครู 1.1 ผู้บรหิ าร ครูและบุคลากรทางการศึกษาวางแผนงานโครงการพฒั นาครู

เพ่ือสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินงานโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ.

ของโรงเรียนอนุบาลตาก

1.2 ผบู้ รหิ าร ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาวางแผนสง่ เสริมให้ครูไดร้ บั การพัฒนา

และแสวงหาความรู้ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับการดำเนินการในโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ.

ของโรงเรยี นอนุบาลตาก

1.3 ผบู้ ริหาร ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาวางแผนสนับสนุนงบประมาณให้ครู

ในการพัฒนาและแสวงหาความรู้ท่เี กย่ี วข้องกับการดำเนินงานโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ.

ของโรงเรียนอนุบาลตาก

1.4 ผบู้ รหิ าร ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาวางแผนการเผยแพร่ประชาสมั พันธ์

ผลการดำเนินงานโรงเรียนสุจรติ ท่หี ลากหลายและต่อเนอื่ ง

2. การสร้างขวัญ 2.1 ผบู้ ริหาร ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาจดั เตรยี ม รางวัลเช่น (โล่ /เกยี รติบัตร/

กำลังใจ อ่นื ๆ) ให้ครทู เี่ ป็นแบบอย่างตามคุณลกั ษณะ 5 ประการของโรงเรียน

2.3 ผู้บริหาร ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาวางแผนจัดสวสั ดิการตา่ ง ๆ

ใหก้ ับครโู รงเรียนสจุ รติ

2.4 ผู้บริหาร ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาวางแผนสง่ เสริมสนับสนนุ ให้ครนู ำผลงาน

ท่ีเกิดจากการดำเนินงานของโรงเรยี นสจุ รติ ไปใชใ้ นการพัฒนาความก้าวหน้า

2.5 ผู้บริหาร ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาวางแผนการเผยแพร่ ประชาสมั พนั ธ์

ผลงานความสำเรจ็ ทเี่ กดิ จากการดำเนนิ งานโรงเรียนสจุ รติ

กจิ กรรม : ดา้ นการบริหารงานงบประมาณ

1. การวางแผน 1.1 ผบู้ รหิ าร ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา กำหนดแผนงานให้ ป.ป.ช. สพฐ. นอ้ ย

งบประมาณ (โครงการโรงเรียนสจุ รติ ) มสี ่วนร่วมในการวเิ คราะห์ ปัญหาในการใชจ้ า่ ยงบประมาณ

ของโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.และมสี ่วนร่วมในการจัดสรรงบประมาณ

1.2 ประชมุ จดั ทำแผนและปฏทิ นิ การใช้จา่ ยเงินงบประมาณของโรงเรียนอย่างประหยัด

1.3 จดั ทำหลกั เกณฑแ์ ละขั้นตอนการใช้จ่ายงบประมาณท่ีชดั เจน

1.4 วางแผนการพิจารณาผู้สมคั รใจใหร้ ับผิดชอบงานการเงิน งานบญั ชแี ละงานพัสดุ

ของโรงเรียน

กระบวนการ กจิ กรรม : ด้านการบริหารงานงบประมาณ

2. การใชจ้ า่ ย 2.1 แผนการประชุมชีแ้ จงแนวทางการใชจ้ า่ ยเงนิ งบประมาณให้ครูและผู้เกี่ยวข้องของ

งบประมาณ โรงเรยี น

2.2 ผู้รับผดิ ชอบแตล่ ะกิจกรรมใชจ้ ่ายงบประมาณตรงตามวัตถุประสงคด์ ้วยความโปร่งใส

2.3 แผนการใช้จา่ ยงบประมาณตามระยะเวลาท่ีกำหนด เน้นการใชจ้ ่ายงบประมาณ

อยา่ งประหยัดคุ้มค่าและเกิดประโยชน์

2.4 จัดทำระเบยี บการเบิกจ่ายงบประมาณตามแผนการใชจ้ ่ายอย่างโปร่งใสตรวจสอบได้

กิจกรรม : ด้านการบริหารงานบรหิ ารทั่วไป

1. การจดั 1.1 วางแผนการพฒั นาปรบั ปรงุ อาคารสถานที่และสง่ิ แวดล้อมในโรงเรียน

บรรยากาศ ให้เอื้อต่อการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ตามงานโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ของโรงเรยี น

ภายในโรงเรียน อนุบาลตาก

1.2 ประชุม/สนทนาโดยเปิดโอกาสให้ครูมสี ่วนรว่ มในการกำหนดแนวทางและข้อตกลง

การใช้อาคารสถานที่ และห้องพิเศษตา่ ง ๆ ของโรงเรียน

1.3 แผนการพัฒนาบรรยากาศภายในโรงเรยี นสะอาด ร่มรืน่ สวยงาม ปลอดภยั

เอ้ือต่อการเรียนรู้ตามงานโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ของโรงเรียนอนุบาลตาก

1.4 แผนการบำรงุ ดแู ลรักษา และใช้อาคารสถานท่ี ใหค้ รภู ายในโรงเรยี นช่วยกันเพ่ือ

ให้เกิดประโยชน์สงู สดุ ต่อการจดั กจิ กรรม

1.5 แผนการกำกับ ติดตาม ตรวจสอบ การใช้อาคารสถานที่ และสรุปรายงาน

2. ความสัมพันธ์ 2.1 การวางแผนการดำเนินงานโดยการวิเคราะหส์ ภาพชุมชนเพื่อใช้เป็น ขอ้ มูลในการมี

กบั ชุมชน ส่วนรว่ มของการดำเนนิ งานโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. ของโรงเรยี นอนุบาลตาก

2.2 วางแผน มอบหมาย และแต่งตง้ั ผู้รับผดิ ชอบด้วยความสัมพันธก์ ับชุมชนโดยมี

ตัวแทน ป.ป.ช. สพฐ. น้อย (โครงการโรงเรียนสจุ รติ ) เข้ามามีส่วนรว่ ม

2.3 พัฒนาเครอื ข่ายการมสี ว่ นรว่ มกับหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอกในแตร่ ะดบั

อย่างเป็นรูปธรรม

2.4 กำหนดแผนงานที่ใหช้ ุมชนเข้ามามสี ว่ นรว่ มในการดำเนนิ งานโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.

2.5 จัดทำการประเมินความพึงพอใจของชมุ ชนท่เี ข้ามามสี ่วนรว่ มในการดำเนินงาน

โรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. ของโรงเรยี นอนุบาลตาก

กระบวนการ ข้นั การปฏบิ ัติ Do (D) : ABTK
Do (D) กิจกรรม : ด้านการบริหารงานวิชาการ
การปฏิบตั ิ
การดำเนินการปฏิบัติ เป็นการวางแผนการบริหารงาน 4 ด้าน เพือ่ บรรลุตามเปา้ หมาย
1. การจัดการ ท่วี างไวอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
เรียนรู้
1.1 การวางแผนจดั การเรยี นรู้ และวเิ คราะหน์ กั เรียน ท่บี ูรณาการคุณธรรมอตั ลักษณ์
2. การจัด ของโรงเรียนอนบุ าลตาก 5 ประการ โดยใช้กระบวนการจัดการเรยี นรู้ Active
กิจกรรมสง่ เสริม Learning ดว้ ยรูปแบบโครงงานเป็นฐาน Project Base Learning
โครงการ
โรงเรียนสจุ ริต 1.2 ครมู ีการใช้แผนจดั การเรียนรู้ ท่ีบรู ณาการคณุ ธรรมอัตลกั ษณ์เพื่อพัฒนานักเรียน
1.3 ครมู ีการใช้สอ่ื นวัตกรรม แหลง่ เรียนร้ทู ี่หลากหลาย
1.4 ครใู ชเ้ ครอ่ื งมือการวดั และประเมนิ ผล ทหี่ ลากหลาย เหมาะสม
1.5 ครจู ัดทำวธิ ีปฏิบัตทิ ีเ่ ปน็ เลศิ (Best Practice)
2.1 มแี ผนงาน โครงการ กิจกรรมสง่ เสรมิ ใหค้ รูมีคุณธรรมอัตลกั ษณข์ องโรงเรยี น

อนบุ าลตาก 5 ประการ
2.2 ครูจดั กิจกรรมตามแผนงาน โครงการ กิจกรรมสง่ เสรมิ ให้ครูมีคุณธรรมอตั ลักษณ์

ของโรงเรยี นอนุบาลตาก 5 ประการ
2.3 ครูปฏบิ ตั ิตามระเบียบของทางราชการ
2.4 ครสู รปุ และรายงานผลการจัดกจิ กรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับคุณธรรมอตั ลักษณ์

ของโรงเรียนอนบุ าลตาก
2.5 ครู และนกั เรยี น กล่าวคำคณุ ธรรมประจำใจ “เราจะมีความรัก ความเมตตา

เอือ้ เฟอ้ื เผื่อแผ่ให้กบั ทุกคนตลอดเวลา” ในกจิ กรรมหน้าเสาธงอย่างสมำ่ เสมอ
2.6 ครจู ัดกจิ กรรมสนบั สนนุ การพฒั นาคุณธรรมอัตลกั ษณ์ของโรงเรยี นอนบุ าลตาก 5

ประการ
- จดั นทิ รรศการ
- ตลาดนัดวชิ าการ
- กาดบัวบาน
- เวทีแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ในกจิ กรรมโครงงานคุณธรรม

กระบวนการ กจิ กรรม : ดา้ นการบรหิ ารงานวิชาการ
Do (D)
การปฏิบตั ิ การดำเนนิ การปฏิบตั ิ เปน็ การวางแผนการบรหิ ารงาน 4 ด้าน เพอ่ื บรรลุตามเป้าหมาย
ที่วางไวอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
3. การนเิ ทศ
ภายใน 3.1 จดั ทำแผนการนิเทศภายใน ที่เกีย่ วข้องกับการจดั การเรยี นรู้
และการจัดกิจกรรมตา่ ง ๆ ของงานโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. ของโรงเรียน
4. การบริการ อนบุ าลตาก
ดา้ นวิชาการ
3.2 แต่งต้ังผู้รบั ผิดชอบในการนิเทศ การจัดการเรยี นรู้ และการจดั กจิ กรรมต่าง ๆ
งานโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. ของโรงเรยี นอนุบาลตาก

3.3 ทกุ ฝ่ายมสี ่วนรว่ มในการกำหนดเคร่ืองมือการนเิ ทศ การจัดการเรยี นรู้
และการจดั กิจกรรมต่าง ๆ ของงานโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ.
ของโรงเรียนอนุบาลตาก

3.4 ดำเนินการนิเทศตามปฏิทิน ท่ีกำหนดของครูโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. ของโรงเรียน
อนุบาลตาก และใหข้ ้อมูลย้อนกลบั

3.5 นำผลการนเิ ทศมาวิเคราะห์ แลกเปลย่ี นและสะท้อนผลการนเิ ทศ
4.1 มีการวางแผนการให้บริการด้านวชิ าการทเี่ กย่ี วข้องกับการดำเนนิ งานโรงเรียน

คุณธรรม สพฐ. ของโรงเรียนอนบุ าลตาก อยา่ งเป็นระบบ
4.2 ให้บริการสื่อ นวัตกรรม แหลง่ เรยี นรู้ท่เี กยี่ วขอ้ งกับการดำเนินงานโรงเรียนคุณธรรม

สพฐ. ของโรงเรียนอนบุ าลตาก
4.3 บริการให้คำปรึกษาและแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ การดำเนินงานโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.

ของโรงเรยี นอนบุ าลตาก
4.4 มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ผลการดำเนินงานโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. ของโรงเรียน

อนบุ าลตาก ด้วยวิธกี ารที่หลากหลาย
4.5 สรา้ งเครือขา่ ยการบริการดา้ นวิชาการ ที่เกย่ี วข้องกับการดำเนนิ งานโรงเรียนคุณธรรม

สพฐ. ของโรงเรียนอนบุ าลตาก

กิจกรรม : ดา้ นการบรหิ ารงานบุคคล

1. การพัฒนาครู 1.1 มีแผนงานโครงการพัฒนาครู เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินงาน

โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ของโรงเรียนอนบุ าลตาก

1.2 ส่งเสริมใหค้ รูได้รบั การพัฒนา และแสวงหาความรทู้ ีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การดำเนนิ การ

ในโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. ของโรงเรยี นอนบุ าลตาก

1.3 สนบั สนุนงบประมาณให้ครูในการพัฒนาและแสวงหาความร้ทู เี่ ก่ยี วข้องกบั

การดำเนนิ งานโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. ของโรงเรียนอนุบาลตาก

1.4 สรปุ และรายงานผ่านการพฒั นาครขู องโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. ของโรงเรยี น

อนุบาลตาก

1.5 มีการเผยแพร่ประชาสัมพนั ธ์ผลการดำเนนิ งานโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ของโรงเรยี น

อนุบาลตากทหี่ ลากหลายและตอ่ เน่ือง

2. การสร้าง 2.1 ยกย่องชมเชยครูท่ีเปน็ แบบอยา่ งตามคุณลักษณะ 5 ประการของโรงเรยี นคุณธรรม

ขวัญกำลงั ใจ สพฐ. ของโรงเรยี นอนุบาลตาก

2.2 มอบ รางวลั เชน่ (โล่ /เกยี รติบัตร/อื่น ๆ) ให้ครทู เ่ี ป็นแบบอย่างตามคุณลกั ษณะ

5 ประการของโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ของโรงเรยี นอนุบาลตาก

2.3 จัดสวสั ดิการตา่ ง ๆ ใหก้ ับครูโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. ของโรงเรียนอนุบาลตาก

2.4 สง่ เสริมสนับสนนุ ใหค้ รนู ำผลงานที่เกดิ จากการดำเนินงานของโรงเรียนคุณธรรม

สพฐ. ของโรงเรียนอนุบาลตากไปใชใ้ นการพัฒนาความก้าวหน้า

2.5 เผยแพร่ ประชาสัมพนั ธ์ ผลงานความสำเรจ็ ที่เกดิ จากการดำเนนิ งานโรงเรียน

คุณธรรม สพฐ. ของโรงเรียนอนุบาลตาก

กิจกรรม : ดา้ นการบริหารงบประมาณ

1. การวางแผน 1.1 ป.ป.ช. สพฐ. นอ้ ย (โครงการโรงเรียนสจุ ริต) มีสว่ นร่วมในการวิเคราะห์ ปญั หา
งบประมาณ ในการใช้จ่ายงบประมาณของโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. ของโรงเรยี นอนุบาลตาก

2. การใชจ้ า่ ย 1.2 มแี ผนและปฏิทินการใชจ้ ่ายเงินงบประมาณของโรงเรียนอยา่ งประหยัด
งบประมาณ 1.3 มหี ลักเกณฑแ์ ละขัน้ ตอนการใชจ้ ่ายงบประมาณทชี่ ดั เจน
1.4 มกี ารพจิ ารณาผู้สมคั รใจให้รบั ผดิ ชอบงานการเงนิ งานบญั ชีและงานพัสดุ
1.5 ป.ป.ช. สพฐ. น้อย (โครงการโรงเรียนสุจริต) มีส่วนรว่ มในการจดั สรรงบประมาณ
2.1 มีการประชมุ ชี้แจงแนวทางการใชจ้ า่ ยเงินงบประมาณให้ครูและผู้เกี่ยวข้อง
2.2 ผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรมใช้จ่ายงบประมาณตรงตามวัตถุประสงคด์ ว้ ยความโปร่งใส
2.3 ใช้จ่ายงบประมาณตามระยะเวลาทก่ี ำหนด
2.4 มีการใชจ้ ่ายงบประมาณอยา่ งประหยดั ค้มุ คา่ และเกดิ ประโยชน์

2.5 มีการเบิกจ่ายงบประมาณตามแผนการใช้จ่าย ตามระเบียบอยา่ งโปร่งใส ตรวจสอบได้

กจิ กรรม : ดา้ นการบรหิ ารงบประมาณ

3. การตดิ ตาม 3.1 แต่งต้ังคณะกรรมการกำกับตดิ ตามและตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณ

แผนการใช้ โดยการมสี ว่ นรว่ ม

งบประมาณ 3.2 มีการจัดทำปฏิทินการกำกบั ตดิ ตามและตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณ

3.3 คณะกรรมการดำเนินการกำกับ ติดตาม ตรวจสอบ การใช้จ่ายงบประมาณ

ของโรงเรยี น อยา่ งถูกต้องและเป็นธรรมตามความเป็นจรงิ

3.4 คณะกรรมการบันทึกผลการกำกับ ติดตาม ตรวจสอบ การรายงานของการใช้จ่าย

งบประมาณต่อผู้บรหิ ารโรงเรยี นทุกคร้ัง

3.5 โรงเรียนรายงานผลการใช้จา่ ยงบประมาณแกผ่ เู้ กยี่ วข้อง

กิจกรรม : ด้านการบริหารงานทว่ั ไป

1. การจัด 1.1 สำรวจและวางแผนการพัฒนาปรับปรุงอาคารสถานท่แี ละส่ิงแวดล้อมในโรงเรียน

บรรยากาศ ให้เอ้ือต่อการจัดกจิ กรรมต่าง ๆ ตามงานโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. ของโรงเรียน

ภายในโรงเรียน อนบุ าลตาก

1.2 เปิดโอกาสให้ครูมสี ว่ นรว่ มในการกำหนดแนวทางและข้อตกลงการใช้อาคารสถานที่

และห้องพิเศษตา่ ง ๆ ของโรงเรียน

1.3 บรรยากาศภายในโรงเรยี นสะอาด ร่มร่ืน สวยงาม ปลอดภัย เอ้ือต่อการเรียนรู้

ตามงานโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. ของโรงเรยี นอนุบาลตาก

1.4 ครูภายในโรงเรยี นชว่ ยกันในการบำรุง ดูแลรักษา และใช้อาคารสถานที่

ให้เกิดประโยชน์

1.5 มีการกำกับ ตดิ ตาม ตรวจสอบ การใช้อาคารสถานทแี่ ละรายงานต่อผู้บรหิ ารโรงเรียน

อย่างสม่ำเสมอ

2. ความสัมพนั ธ์ 2.1 วเิ คราะหส์ ภาพชุมชนเพ่ือให้เปน็ ข้อมลู ในการวางแผนการดำเนินงานโรงเรียนคุณธรรม

กบั ชุมชน สพฐ. ของโรงเรียนอนุบาลตาก

2.2 แต่งตงั้ ผู้รับผดิ ชอบดว้ ยความสัมพันธก์ ับชุมชนโดยมกี ิจกรรมการสรา้ งเครือข่าย

และการมีสว่ นร่วมโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. ของโรงเรียนอนบุ าลตาก และกจิ กรรม

ครอบครวั คุณธรรม ให้มีส่วนร่วม

2.3 กำหนดแผนงานที่ใหช้ มุ ชนเข้ามามสี ่วนร่วมในการดำเนินงานโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ.

ของโรงเรียนอนบุ าลตาก

2.4 โรงเรียนและชุมชนรว่ มจัดกิจกรรมต่างๆ ของงานโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.

ด้วยความร่วมมือรว่ มใจ

2.5 ประเมนิ ความพึงพอใจของชมุ ชนท่ีเข้ามามีสว่ นร่วมในการดำเนินงานโรงเรียนคุณธรรม

สพฐ. ของโรงเรียนอนบุ าลตาก

ขนั้ การกำกบั ติดตาม ตรวจสอบ Check (C) : PLC

กระบวนการ กจิ กรรม
- ประเมินผลและตรวจสอบการวางแผนการบรหิ ารงาน 4 ด้าน ได้แก่
การกำกบั
ตดิ ตาม ดา้ นการบริหารงานวชิ าการ ด้านการบริหารงานงบประมาณ ด้านการบรหิ ารงาน
ตรวจสอบ บุคคล และด้านการบริหารงานท่วั ไป
Check (C) - การเปรยี บเทียบผลการดำเนนิ งานกอ่ นการปฏบิ ัติงานและหลังปฏบิ ัตงิ านของการ
พฒั นาโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. วา่ มคี วามแตกต่างกันเพยี งใด
1) การตดิ ตามและประเมินผลการบรหิ ารงานตามมาตรฐานโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ.
ของโรงเรียนอนุบาลตาก
2) การประเมินคุณลกั ษณะ 5 ประการของโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. ของโรงเรยี น
อนบุ าลตากของผู้บริหาร ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน
1. การเยยี่ มช้นั เรียนและสังเกตการสอน
2. ช้แี นะและสอนงานเชิงปฏบิ ตั กิ าร (Coaching and Mentoring)
3. ประชมุ นเิ ทศ ติดตาม ทบทวนการปฏบิ ตั งิ าน
4. การนเิ ทศบูรณาการสรา้ งสรรค์ โดยใชก้ ระบวนการ PLC
5. นเิ ทศ โดยใช้ขอ้ มูลเป็นฐาน
ขั้นที่ 1 วานแผนการนเิ ทศ
ขน้ั ท่ี 2 การจัดการเรยี นรู้
ข้ันท่ี 3 นำเสนอกจิ กรรมการเรยี นรู้
ข้นั ท่ี 4 การนิเทศ
ข้ันท่ี 5 สรุปและรายงานผลการนิเทศ
6. การสรุปและรายงานผลการนเิ ทศ

ขั้นการแก้ไขปรบั ปรงุ Act (A) : ผู้บริหารคุณภาพ ครคู ณุ ภาพ นกั เรยี นคุณภาพ โรงเรียนคณุ ภาพ

กระบวนการ กิจกรรม

Act (A) การ - การนำผลการประเมนิ มาปรับปรุงงาน (Action) เพ่ือใช้เปน็ แนวทางปฏบิ ัติในอนาคต
แกไ้ ขปรับปรงุ จนไดผ้ ลลพั ธ์ทพ่ี อใจ และได้รับการยอมรบั จากทุกฝา่ ยส่กู ารเปน็ โรงเรียนคณุ ธรรม
สพฐ. ของโรงเรียนอนุบาลตาก

การบริหาร 1. ด้านการบรหิ ารงานวชิ าการ

4 ด้าน 2. ด้านการบริหารงานบุคคล

3. ด้านการบรหิ ารงานงบประมาณ

4. ด้านการบริหารทว่ั ไป

4. ผลการดำเนนิ งาน ผลสมั ฤทธ์ิ ประโยชน์ท่ไี ด้รับ
4.1 ผลการดำเนินงาน
โรงเรียนอนบุ าลตาก ไดพ้ ัฒนารปู แบบการบริหารสู่การเป็นโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. ของโรงเรียน

อนุบาลตากอย่างมีคุณภาพ ด้วย PLUS MODEL พบว่า การดำเนินกิจกรรมเพื่อพัฒนานักเรียนให้มี
คุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนอนบุ าลตากอย่างย่งั ยนื และพฒั นาผู้บริหาร ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาให้
มีความตระหนักในการพัฒนานักเรียนให้มีคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนอนุบาลตากอย่างยั่งยืน นั้นมีความ
เหมาะสมและสอดคล้องกับมาตรฐานโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. จากตรวจสอบข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียน
เรื่องการถอดบทเรียน (Best Practice) ของครูผู้สอนที่ได้รับรางวัลด้านคุณธรรม และผลการประเมิน
คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ของผูเ้ รยี น ดงั น้ี

ครผู ู้สอนทไี่ ด้รบั รางวลั Best Practice

ลำดับท่ี ชอ่ื – นามสกุล ชอ่ื นวตั กรรม ระดับ
ระดบั ภาคเหนือ
1. นางบังอร ประเสริฐผล อาหารไทยใสใ่ จสุขภาพเด็ก ระดบั ภาคเหนือ
“TREE ด”ี หย่ังรากความดีด้วย
2. นางสาวฐติ มิ า สตุ ิ คณุ ธรรม ระดับภาคเหนือ
เกมแผนที่ที่นีเ่ มืองของฉัน ระดบั ภาคเหนือ
3. นายสถาพร คำเกดิ Go to school by bus ระดับภาคเหนือ
4. นางสาวสธุ ิดา เจรญิ ชัยนันท์ โมเดลชวี ติ อยู่คู่ระบบนเิ วสน์ ระดับภาคเหนือ
5. นางสาวศิรญิ า วนั ต๊ะ โปรสเตอรอ์ าหารเปน็ พษิ ชวี ติ จะสั้น ระดับภาคเหนือ
6. นางสาวมัสลนิ เขียวลำยอง เกมวงล้อหรรษา ระดับภาคเหนือ
7. นางปานฤดี รอดมา บันได้งูสสู่ ระอา ระดบั ภาคเหนือ
8. นางสาวณฐั กรณ์ ขตั วิ งษ์ โมบายตัวเลขสร้างสรรค์ ระดบั ภาคเหนือ
9. นางสาวเมธนิ ี แซ่เตียว Happy juice น้ำผลไมแ้ สนสขุ ระดับภาคเหนือ
10. นางวาสนา บัวนาบวั งาม แนะให้ทำ นำไปคดิ สาธติ ให้ดู
11. นางนิติมา บุญมา สู่ลวดลาย ถุงผา้ ระดบั ภาคเหนือ
นิทาทนแสนสนกุ
12. นางสาวประภาดา เงินดี

คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ปกี ารศกึ ษา 2563

คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั ช้ัน

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6

จำนวนนกั เรยี น 225 226 225 195 166 205

ขอ้ ท่ี 1 : รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 225 226 225 195 166 205

ขอ้ ที่ 2 : ซือ่ สตั ย์สจุ ริต 225 226 225 195 166 205

ข้อท่ี 3 : มีวนิ ัย 225 226 225 195 166 205

ขอ้ ที่ 4 : ใฝเ่ รียนรู้ 225 226 225 195 166 205

ข้อที่ 5 : อยู่อยา่ งพอเพียง 225 226 225 195 166 205

ขอ้ ที่ 6 : มุ่งมัน่ ในการทำงาน 225 226 225 195 166 205

ขอ้ ท่ี 7 : รักความเปน็ ไทย 225 226 225 195 166 205

ข้อที่ 8 : มีจติ สาธารณะ 225 226 225 195 166 205

รวมเฉล่ยี 100 100 100 100 100 100

4.2 ผลสัมฤทธิ์

4.2.1 โรงเรียนอนุบาลตากมีผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน

ของโรงเรียน (Integrity and Transparency Assessment: ITA) อยใู่ นระดบั A

ลำดบั ตัวช้ีวัด คะแนนท่ีได้ เครื่องมอื คะแนน ค่า คะแนน
เครอ่ื งมือ น้ำหนกั หลงั ถ่วง
น้ำหนัก

1 การปฏิบัติหนา้ ท่ี 97.06

2 การใชง้ บประมาณ 92.70

3 การใชอ้ ำนาจ 95.39 IIT 95.30 30 28.59

4 การใชท้ รัพยส์ นิ ของทางราชการ 95.28

5 การแกไ้ ขปัญหาการทุจรติ 96.07

6 คณุ ภาพการดำเนนิ งาน 90.89

7 ประสทิ ธภิ าพการสื่อสาร 84.93 EIT 86.49 30 25.95

8 การปรับปรงุ การทำงาน 83.64

9 การเปิดเผยขอ้ มูล 86.79 OIT 87.14 40 34.86
10 การปอ้ งกนั การทจุ รติ 87.50

คะแนนคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดำเนินงานของหนว่ ยงาน 89.39

ระดับผลการประเมนิ (Rating Score) A

4.2.2 รางวัลแห่งความภาคภมู ิใจ

ลำดบั ท่ี ชื่อ – นามสกลุ ชือ่ ผลงาน ระดบั
ระดับประเทศ
1 โรงเรียนอนุบาลตาก “พฒั นาจิต เจรญิ ปัญญา ชีวาเปน็ สุข”
ระดับประเทศ
โครงงานคณุ ธรรมปณิธานความดี
กรมสวัสดกิ ารและ
ทำดเี ริม่ ได้ที่ใจเรา คมุ้ ครองแรงงาน
ระดับ สพป. ตาก
2 โรงเรียนอนุบาลตาก โรงเรียนคาร์บอนต่ำ ลดการใชพ้ ลังงาน
เขต 1
ไฟฟ้าท่โี รงเรียนระดบั ประถมศกึ ษา ระดบั สพป. ตาก

ประเภทจำนวนนักเรยี น 1,500 คน เขต 1

3 โรงเรยี นอนุบาลตาก รางวลั “สถานศึกษาปลอดภัย” ประจำปี ระดบั สพป. ตาก
เขต 1
พ.ศ. 2564
ระดบั สพป. ตาก
4 โรงเรียนอนบุ าลตาก รางวลั ยอดเยย่ี มในการนำเสนอ Best เขต 1

Practice โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล ระดับ สพป. ตาก
เขต 1
5 โรงเรียนอนบุ าลตาก รางวัลโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. ระดบั 1

ดาว กิจกรรมโรงเรียนดีต้องมีท่ยี นื

โครงการโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ.

ปีการศึกษา 2564

6 โรงเรยี นอนบุ าลตาก การตรวจสอบคุณภาพและยกระดับ

คุณภาพโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.

ระดบั 2 ดาว

7 โรงเรียนอนบุ าลตาก รางวัลชนะเลิศระดับทอง อนั ดบั 2

สถานศึกษาต้นแบบการดำเนินงานระบบ

ประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา ตาม

กฎกระทรวงการประกนั คุณภาพ พ.ศ.

2561 ปีการศกึ ษา 2564

8 โรงเรียนอนบุ าลตาก รางวลั ชนะเลศิ การประกวดกิจกรรม

การถอดบทเรยี น Best Practice

“โรงเรียนสจุ ริต” โครงการเสริมสร้าง

คุณธรรม จรยิ ธรรมและธรรมา

ภิบาลในสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสุจริต”

ประจำปีการศึกษา 2564

ลำดบั ที่ ช่ือ – นามสกุล ช่ือผลงาน ระดับ

9 นางสมพิศ เกดิ นวล โลป่ ระกาศเกียรติคุณ อาสาสมคั รดเี ด่น ประเทศ

ประจำปี 2563

10 นางสมพิศ เกิดนวล รางวัลยกยอ่ ง เชิดชเู กียรติ เป็น จงั หวัดตาก

ขา้ ราชการพลเรือนดเี ดน่

ระดบั หนว่ ยงาน ประจำปี พ.ศ.2563

11 นางเสาวรส จ๋ิวกาวี รางวลั รองชนะเลศิ ประเภทผบู้ รหิ าร จังหวดั ตาก

การศกึ ษาและผบู้ ริหารสถานศึกษา

รางวลั พระฤหัสบดี ระดับจังหวดั การ

คดั เลอื กผู้ประกอบวิชาชพี ทางการศึกษา

บคุ ลากรทางการศึกษา ผ้ปู ฏิบตั ิงานดา้ น

การศกึ ษา ผู้มีคุณปู การและหนว่ ยงาน

เพื่อยกย่องเชิดชเู กียรติท่ีเปน็ แบบอย่างที่

ดีในดา้ นสวสั ดกิ ารและสวสั ดิภาพจนเป็น

ท่ปี ระจกั ษต์ ่อสาธารณชน

ประจำปี 2564

12 นางสาวลักขณา จ๋ิวปัญญา รางวัลเชิดชเู กยี รตพิ นกั งานเจ้าหน้าท่ี กระทรวงศึกษาธิการ

13 นางสาวจนั ทรฉ์ าย ส่งเสรมิ ความประพฤตินักเรียน
มีสวนทอง
และนักศกึ ษากระทรวงศึกษาธิการ
14 นางสาวณัฐกรณ์ ขัติวงษ์
(รางวลั เสมาพทิ ักษ์) ประจำปี

งบประมาณ 2564

กจิ กรรมเพื่อสังคมและ OBEC AWARDS

สาธารณประโยชน์ดา้ นนวตั กรรมและ ภาคเหนือ

เทคโนโลยี

เพื่อการเรยี นการสอน

การบริหารจัดการเรียนรู้กลมุ่ สาระการ OBEC AWARDS

เรยี นรู้ภาษาไทย ระดบั ประถมศึกษา ภาคเหนือ

4.3 ประโยชน์ท่ไี ดร้ ับ
ในการบริหารงานของโรงเรียนอนุบาลตาก 4 ด้าน ได้แก่ การบริหารงานวิชาการ

การบริหารงานบุคคล การบริหารงานงบประมาณ และการบริหารทั่วไป ซึ่งเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่จำเป็น
จะต้องมีรูปแบบการบริหารที่เหมาะสมและมีประสิทธภิ าพเพื่อให้ได้ผลลพั ธ์ท่ีมีคุณภาพ ดังนั้น การใช้รูปแบบ
PLUS MODEL ในการบริหารงานโรงเรยี นอนบุ าลตาก ทำใหไ้ ดผ้ ลลพั ธเ์ ป็นที่นา่ พอใจ และเปน็ การสร้างความ
เช่ือม่นั ในการทำงานให้กบั ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียน ทำให้เกดิ ความคดิ ริเริม่ สรา้ งสรรค์ในการ
พัฒนารูปแบบการปฏิบัติงานให้มีคุณภาพอย่างต่อเนื่องและไม่หยุดยั้ง เกิดความภาคภูมิใจร่วมกัน ส่งผลให้
ภาพลักษณข์ องโรงเรียนดดู ี มีความนา่ เช่ือถือมากย่งิ ขึ้น

5. ปัจจัยสู่ความสำเร็จ

5.1 ผู้บริหารมีภาวะผู้นำ ใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารโรงเรียน และมีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนา
โรงเรียนใหเ้ ป็นโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. ของโรงเรียนอนุบาลตาก สนับสนนุ งบประมาณในการดำเนนิ งาน และ
มีการพัฒนางานอยา่ งต่อเนอื่ งเพ่ือให้เกิดเปน็ รูปธรรมและมีความยง่ั ยืน

5.2 ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนในโรงเรียน มีส่วนร่วมในการออกแบบกิจกรรม มีส่วนร่วม
ในการดำเนนิ กิจกรรม มสี ่วนร่วมในการประเมินกจิ กรรม และมสี ว่ นรว่ มในรางวลั ความภาคภูมิใจ

5.3 ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผน การดำเนินงาน การประเมิน และร่วมยินดีกับผลงาน
ท่ีได้รับรางวลั

5.4 ความพร้อมของอุปกรณเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยที ี่เหมาะสม
5.5 ผู้ปฏิบัติงานมีความพร้อมและความตั้งใจที่นำประสบการณการทำงานมาพัฒนาปรับปรุงงาน
ทที่ ำอย่างต่อเน่ือง
5.6 การดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ของโรงเรียนอนุบาลตาก มีการทำงาน
เป็นทีมอย่างเข้มแขง็ และสร้างเครอื ข่ายในการทำงานได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
5.7 มีการจัดเกบ็ ข้อมูลสารสนเทศที่เปน็ ระบบ และมกี ารประชาสมั พันธ์การดำเนินการกิจกรรมต่างๆ
อยเู่ สมอ ๆ
5.8 โรงเรียนอนุบาลตากได้รับความช่วยเหลือและคำชี้แนะจากผู้เชี่ยวชาญต่าง ๆ เช่น ผู้เชี่ยวชาญ

จากสำนักงานคณะกรรมการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผู้เช่ียวชาญจากสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาตาก

เขต 1 เปน็ ต้น

6. บทเรยี นทีไ่ ด้รบั (Lesson Learned)
6.1 การปฏิบัติงาน ได้แบ่งหน้าที่การอย่างชัดเจน มีการสนับสนุนและให้กำลังในการทำงาน ส่งผล

ให้งานบรรลุผลสำเรจ็ ตามเป้าหมายภายในระยะเวลาไมน่ าน
6.2 การพัฒนางานร่วมกัน ความจริงจัง และทุ่มเท ในการปฏิบัติงาน การทำงานเป็นทีม การมีส่วน

รับผิดชอบร่วมกันในการปฏิบัติงาน ความร่วมมือร่วมใจ การเอาใจใส่ เสียสละ การอุทิศตนของบุคลากรทาง
การศกึ ษา ส่งผลให้งานประสบผลสำเร็จได้ผลงานทม่ี คี ณุ ภาพการเผยแพร่ การได้รบั การยอมรับ

6.3 เมื่อการดำเนินงานบรรลุเป้าหมายอย่างมีคุณภาพ ความภาคภูมิใจคือ เราได้ ทำหน้าที่
ที่รับผิดชอบอย่างเต็มกำลังความสามารถ สามารถพัฒนางานได้สำเร็จตามเป้าหมายและทำให้โรงเรียน
อนุบาลตาก เปน็ ท่ียอมรับของบคุ คลทว่ั ไป

7. การเผยแพร่/การไดร้ ับการยอมรับ
7.1 การเผยแพร่
7.1.1 เผยแพร่ผลงานผ่านเว็ปไซต์
- www.anubantak.org/2019
- www.anubantak.ac.th
7.2 การได้รับการยอมรับ
7.2.1 การศึกษาดงู านของโรงเรียนอนบุ าลตรงั
7.2.2 การศึกษาดงู านของโรงเรียนอนบุ าลอุทัยธานี

8. เงื่อนไขความสำเร็จ
8.1 ขอ้ เสนอแนะในการนำไปใช้
8.1.1 สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา
1) ควรมีนโยบายให้สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาผู้บริหาร ครู และผู้ท่ี

เกีย่ วขอ้ งใหม้ ีความตระหนัก มีความร้คู วามเขา้ ใจ และมที กั ษะในการดำเนินงานโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ของ
โรงเรยี นอนบุ าลตาก

2) ควรจัดประชุมอบรมพัฒนาและศึกษาดูงานเกี่ยวกับการดำเนินงานโรงเรียนคุณธรรม
สพฐ. ของโรงเรยี นอนบุ าลตาก ใหก้ ับผ้มู สี ว่ นเกยี่ วข้องทุกฝา่ ยของสถานศึกษา

3) ควรมีผเู้ ช่ยี วชาญจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นท่ีท่รี ับผิดชอบโครงการ
โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ของโรงเรียนอนุบาลตาก มาตรวจเยี่ยม ให้คำชี้แนะ ให้กำลังใจในการดำเนินงาน
โรงเรยี นสจุ รติ และเป็นพ่ีเลีย้ งใหก้ ับโรงเรียน

8.1.2 สถานศึกษาควรดำเนินการดังน้ี
1) ผู้บริหาร คณะครู และผู้เกีย่ วข้องของสถานศกึ ษาควรวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายใน

และสภาพแวดล้อมภายนอกของสถานศึกษา เพื่อการเลือกใช้รูปแบบการดำเนินงานพัฒนางานโรงเรียน
คุณธรรม สพฐ. ของโรงเรยี นอนุบาลตาก ให้เหมาะสมกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษา

2) ผู้บริหาร คณะครู และผู้เกี่ยวข้องของสถานศึกษาทุกฝ่ายกำหนดเป้าประสงค์
และเป้าหมายที่สอดคล้องกับการดำเนินงานโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. ของโรงเรยี นอนุบาลตาก

3) ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีประชาสัมพันธ์เพื่อชีแ้ จงเกี่ยวกับแนวนโยบายเก่ียวกับการ
ดำเนินงานโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ของโรงเรยี นอนุบาลตาก ใหค้ ณะครูคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน
และผ้มู ีสว่ นเก่ียวข้องอ่ืน ๆ ได้รับทราบอย่างทั่วถึง

8.2 ขอ้ เสนอแนะในนำนวตั กรรมไปใช้ ครั้งต่อไป
1. ควรนำนวัตกรรมที่ได้ไปพฒั นาตอ่ ยอด เพื่อการพฒั นาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน และให้ทกุ ภาค

ส่วนมีส่วนรว่ มในการดำเนนิ งานโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. ดว้ ย
2. ควรมีติดตามผลการนำรปู แบบ PLUS MODEL ไปใช้ในการบริหารสู่โรงเรียนคุณธรรม สพฐ.

ของโรงเรยี นอนุบาลตากเปน็ ระยะ เพอ่ื การพฒั นาท่ียัง่ ยืน

ภาคผนวก





ผลงานท่เี กดิ กับครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา







- ความซอื่ สัตยส์ จุ ริตตอ่ อาชพี ทที่ ำและต่อผบู้ รโิ ภค
- มีทกั ษะกระบวนการคิด วางแผนการขาย
- มคี วามพอเพยี ง ไมค่ ้ากำไรเกินควร

26

กจิ กรรมการทำบุญตกั บาตรในวันธรรมสวนะ
และนำของน้นั ไปชว่ ยเหลือผพู้ ิการและผปู้ ่วยติดเตียงในชุมชน

ทป่ี รกึ ษา ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นอนุบาลตาก
รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนอนุบาลตาก
นางสมพศิ เกิดนวล รองผู้อำนวยการโรงเรยี นอนบุ าลตาก
นางเสาวรส จ๋วิ กาวี
นางสาวลักขณา จ๋ิวปัญญา รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนอนุบาลตาก
รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นอนบุ าลตาก
คณะทำงาน หัวหน้ากลุม่ งานบรหิ ารวชิ าการ
หวั หนา้ กลมุ่ งานบรหิ ารทั่วไป
นางเสาวรส จิ๋วกาวี หวั หน้าโครงการโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ.
นางสาวลักขณา จว๋ิ ปัญญา หัวหน้าโครงการโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ.
นางวาสนา บวั งาม หัวหน้ากิจกรรมการผลิตนวัตกรรม
นางสาวนฤมล น้ำเงนิ สร้างสรรค์คนดี
นางสาวนดั ดา หมโี ชติ ครูโรงเรยี นอนบุ าลตาก
นางนภวรรณ ปานทอง ครโู รงเรยี นอนบุ าลตาก
นางสาวมณฑิตา สบื เจ๊ก ครูโรงเรยี นอนุบาลตาก
เจา้ หน้าที่ธุรการฝา่ ยวิชาการ
นางอัจฉรา แกว้ ชู เจา้ หนา้ ท่ีธรุ การโรงเรยี น
นายสถาพร คำเกิด
นายจักรกฤษ สบื สาตร์ รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นอนุบาลตาก
นางเยาวลักษณ์ สมหวัง
นางสาวรมย์รวี นลิ ขลัง

ออกแบบกราฟกิ

นางสาวลักขณา จวิ๋ ปัญญา


Click to View FlipBook Version