The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการนิเทศกลุ่มโรงเรียนสายน้ำวัง ปีงบประมาณ 66

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mimm_jewpanya, 2022-12-01 21:27:34

แผนการนิเทศกลุ่มโรงเรียนสายน้ำวัง ปีงบประมาณ 66

แผนการนิเทศกลุ่มโรงเรียนสายน้ำวัง ปีงบประมาณ 66

ตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ โดยมอบหมายให้
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักรับผิดชอบด้านการจัด
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 โดยกลุ่ม
นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ตระหนักถึงความสำคัญที่จะต้องดำเนินการ
นเิ ทศ ให้ไดต้ ามเป้าประสงคข์ องสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งในด้านการพัฒนาการจัดการคุณภาพการเรียนรู้ และด้านความสามารถในการ
แข่งขัน ซ่ึงได้มอบหมายให้ศึกษานิเทศก์ทุกคนมีโรงเรียนท่ีจะต้องได้รับการดูแลเป็นพิเศษ
และต้องกำหนดให้มีแผนปฏิบัติการนิเทศการศึกษาของศึกษานิเทศก์ เอกสารเล่มน้ี
ประกอบด้วย 4 ส่วน ดงั น้ี

สว่ นที่ 1 บทนำ
สว่ นที่ 2 กรอบแนวคิดการนเิ ทศ
ส่วนท่ี 3 รูปแบบและเทคนิคการนิเทศการศึกษา
สว่ นท่ี 4 เคร่อื งมอื นเิ ทศการศึกษา
เพื่อให้การดำเนินงานของโรงเรียนเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด ในฐานะ
ศึกษานิเทศก์กลุ่มโรงเรียนสายน้ำวัง จึงได้กำหนดแนวทางการนิเทศ กำกับติดตาม
และประเมินผล การดำเนินงานของโรงเรียนในความรับผิดชอบข้ึน โดยหวังว่าจะเป็น
ประโยชน์สำหรับผู้ที่เก่ียวข้องกับการนิเทศ อันจะส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ตอ่ ไป

นางสาวปราณี แก้วมา/นางสาวลักขณา จิ๋วปญั ญา
ศกึ ษานเิ ทศก์ชำนาญการพเิ ศษ สพป.ตาก เขต 1

หนา้

คำนำ 1
สารบัญ

ส่วนที่ 1 บทนำ 1
สภาพปจั จบุ ัน 2
5
สว่ นที่ 2 กรอบแนวคดิ การนิเทศ 6
วตั ถปุ ระสงค์การนเิ ทศ 6
เป้าหมายในการนิเทศ 7
ขอบเขตการนเิ ทศ 8
ปฏทิ นิ การนิเทศ ติดตาม การพัฒนาคณุ ภาพการเรยี นการสอนภาคเรียน
ท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2565 9
กำหนดการนเิ ทศ ตดิ ตาม การพัฒนาคณุ ภาพการเรียนการสอน
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 9
ผลทคี่ าดว่าจะได้รบั 10
11
สว่ นที่ 3 รปู แบบและเทคนิคการนิเทศการศึกษา 14
วิธีการนิเทศ 14
ภาระงานทีจ่ ะดำเนินการนิเทศ 15
เครอ่ื งมอื ท่ีใชใ้ นการนิเทศ 18
ข้ันตอนการการนเิ ทศ 19

สว่ นท่ี 4 เครอื่ งมือนเิ ทศการศกึ ษา 20
เคร่อื งมือนเิ ทศ ติดตามการพัฒนาคุณภาพการศึกษาภาคเรียนที่ 2 ปี
การศกึ ษา 2565
แบบประเมนิ ความพึงพอใจ

ภาคผนวก
ประวตั ิผู้จัดทำ

แผนนิเทศ ติดตามการพฒั นาการศึกษาการเปดิ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2565 สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1
กล่มุ โรงเรียนสายน้ำวัง อำเภอสามเงา จังหวัดตาก

2

สว่ นท่ี 1
บทนำ

สภาพปัจจบุ ัน
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

พ.ศ. 2560 เพ่ือให้การดำเนินการแบ่งส่วนราชการภายในสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาเป็นไปด้วยความ
เหมาะสมกับภารกิจ ปริมาณ และคุณภาพการจัดการศึกษาในแต่ละเขตพ้ืนที่การศึกษา อาศัยอำนาจตาม
ความในมาตรา 8 และมาตรา 34 วรรคสอง แห่งพระราชบญั ญัตริ ะเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2546 กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์การแบ่งส่วนราชการภายในสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา พ.ศ.
2546 ข้อ 3 และข้อ 4 ประกอบกับคำแนะนำของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและมติคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ในการประชุมครั้งที่ 2/2560 เม่ือวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2560 รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการจึงออกประกาศไว้ โดยได้กำหนดบทบาทและภารกิจของสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ตามขอ้ 5 ให้สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษามีอำนาจหน้าที่ดำเนินการให้เป็นไปตามอำนาจหน้าที่ของสำนกั งาน
เขตพ้ืนท่ีการศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ และมีอำนาจหน้าท่ี
ดงั ต่อไปน้ี

1. จัดทำ นโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษาให้สอดคล้องกับ
นโยบาย มาตรฐานการศกึ ษา แผนการศึกษา แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน และความตอ้ งการของทอ้ งถน่ิ

2. วิเคราะห์การจัดต้ังงบประมาณเงินอุดหนุนท่ัวไปของสถานศึกษา และหน่วยงานในเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา และแจ้งการจัดสรรงบประมาณท่ีได้รับให้หน่วยงานข้างต้นรับทราบ รวมทั้งกำกับตรวจสอบ
ตดิ ตามการใชจ้ า่ ยงบประมาณของหน่วยงานดังกลา่ ว

3. ประสาน ส่งเสริม สนบั สนุน และพัฒนาหลกั สูตรร่วมกบั สถานศึกษาในเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา
4. กำกบั ดแู ล ตดิ ตาม และประเมินผลสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐานและในเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา
5. ศึกษา วิเคราะห์ วจิ ัย และรวบรวมขอ้ มูลสารสนเทศด้านการศกึ ษาในเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา
6. ประสานการระดมทรัพยากรดา้ นตา่ ง ๆ รวมท้ังทรพั ยากรบุคคล เพื่อสง่ เสริม สนบั สนนุ การจดั
และพัฒนาการศึกษาในเขตพ้ืนที่การศึกษา
7. จดั ระบบประกันคุณภาพการศกึ ษา และประเมนิ ผลสถานศกึ ษาในเขตพื้นที่การศึกษา
8. ประสาน ส่งเสริม สนบั สนุน การจดั การศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น
รวมทั้งบคุ คล องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันอนื่ ที่จัดการศกึ ษา
รูปแบบท่ีหลากหลายในเขตพื้นทกี่ ารศึกษา
9. ดำเนนิ การและประสาน สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การวจิ ัยและพฒั นาการศึกษาในเขตพน้ื ที่การศึกษา
10. ประสาน ส่งเสริม การดำเนินการของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงานด้าน
การศกึ ษา

3

11. ประสานการปฏิบตั ิราชการท่ัวไปกับองค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน และองค์กร
ปกครองสว่ นท้องถิ่น

12. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นท่ีเกี่ยวข้องหรือที่ได้รับ
มอบหมาย

และในส่วนของศึกษานิเทศก์ตามกลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา มอี ำนาจหน้าท่ี
ดงั ตอ่ ไปนี้

1) ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและพฒั นาหลักสตู รการศึกษาข้ันพื้นฐาน หลักสตู รการศึกษา
ระดับก่อนประถมศึกษา และหลกั สูตรการศึกษาพเิ ศษ

2) ศึกษา วิเคราะห์ วิจยั เพื่อพฒั นาหลักสตู รการสอนและกระบวนการเรียนรู้ของผูเ้ รียน
3) วิจยั พัฒนา ส่งเสริม ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินเกี่ยวกบั การวัดและการประเมินผล
การศกึ ษา
4) วจิ ยั พฒั นา ส่งเสรมิ มาตรฐานการศกึ ษาและการประกันคณุ ภาพการศึกษา รวมท้ังประเมนิ
ตดิ ตาม และตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษา
5) นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา
6) ศึกษา วิเคราะห์ วิจยั และพัฒนาสื่อนวตั กรรมการนิเทศทางการศึกษา
7) ปฏบิ ัตงิ านเลขานุการคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของ
เขตพน้ื ท่กี ารศึกษา
จากบทบาทและภารกิจของศึกษานิเทศก์ดังกล่าวข้างต้น คณะศึกษานิเทศก์กลุ่มนิเทศ ติดตาม
และประเมินผลการจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 ตระหนักใน
บทบาทหน้าที่ท่ีได้รับมอบหมาย จึงได้กำหนดแนวทางการนิเทศ กำกับ ติดตามดำเนินงานพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาของโรงเรียนให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งการนิเทศการศึกษาเป็นแนวทางหนึ่งท่ี
จะช่วยให้โรงเรียนสามารถดำเนินการได้อย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ ซ่ึงการนิเทศการศึกษาเป็น
กระบวนการท่ีต้องได้รับความร่วมมือจากบุคลากรหลายฝ่าย และในการดำเนินงานจะต้องใช้กระบวนการมี
ส่วนร่วม และเทคนิคการนิเทศอย่างหลากหลาย รวมท้ังรูปแบบการนิเทศอาจใช้ท้ังทางตรงและทางอ้อม
เพ่ือให้การปฏิบัติการนิเทศดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมายอย่างมีคุณภาพ และจาก
นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้านประสิทธิภาพ ที่กำหนดให้มีการเพ่ิม
ประสิทธิภาพการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ให้
สอดคล้องกบั การเปล่ียนแปลงของโลก และการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดทกั ษะท่จี ำเป็นในศตวรรษท่ี 21 ประกอบ
กับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 มีนวัตกรรมการบริหารจัดการด้วย Model Tak 1
4Q ซึ่งส่งผลต่อเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 4Q ของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาตาก เขต 1 ซ่ึงประกอบด้วย สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามีคุณภาพ โรงเรียนมีคุณภาพ
ครมู ีคณุ ภาพ และนกั เรียนมีคุณภาพ

4

กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการวัดการศึกษา สพป.ตาก เขต 1 จึงได้วางแผนนิเทศ ติดตาม
ความก้าวหน้าในการจัดกระบวนการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ใน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมเพ่ือใช้ในการ
ปฏิบัติงานนิเทศสำหรับปรับเปล่ียนกระบวนการจัดการเรียนรู้ของครูให้เป็นครูยุคใหม่ สอดคล้องกับการ
ประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา หลักเกณฑ์และวิธีการประเมิน
ตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ตำแหนง่ ครู ตามหนังสือสำนกั งาน ก.ค.ศ. ท่ี
ศธ 0206.3/ว 9 ลงวันท่ี 20 พฤษภาคม 2564 อันส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ เกิดกระบวนการ
คิดขั้นสูง ลงมือปฏิบัตจิ รงิ พัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะที่จำเป็นต่อการใช้ชีวิตประจำวันและการประกอบอาชีพ
ในอนาคต



6

ส่วนท่ี 2
กรอบแนวคดิ การนเิ ทศ

วัตถปุ ระสงค์การนเิ ทศ
1. เพื่อพัฒนารูปแบบการนิเทศโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานแบบปรบั เหมาะ CM.RO ภายใต้หลักการ

บริหาร Tak1 4Q เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียนระดับสถานศกึ ษา
2. เพือ่ นิเทศ ติดตาม การพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ของโรงเรยี น

กลุ่มสายนำ้ วัง สงั กดั สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1 ตามประเดน็ ดงั ต่อไปน้ี
2.1 สำรวจขอ้ มูลทวั่ ไป
2.2 การนเิ ทศติดตาม งานตามนโยบาย
2.3 กำหนดแผนการดำเนนิ งานด้านความปลอดภัยในโรงเรียน
- มาตรการด้านการป้องกันโรคระบาดตา่ งๆ
- มาตรการด้านความปลอดภยั ตา่ งๆในโรงเรียน
2.4 ความพรอ้ มดา้ นอาคารสถานที่ เชน่ ความสะอาด บรรยากาศหอ้ งเรียน สนามหญ้า
2.5 การจัดทำแผนยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน
- มแี ผนยกระดับฯที่เปน็ ปัจจบุ ัน
- มีแนวทาง/วิธีการ/ขั้นตอนการดำเนนิ งานในการทำแผนลงสกู่ ารปฏิบัตทิ ่ชี ัดเจน
2.6 การนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู ใน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ ภาษาไทย

คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
3. เพ่ือพัฒนาทักษะการนิเทศ ช่วยเหลือชี้แนะและพัฒนาด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ และการ

จัดการชั้นเรียน และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนเพื่อให้คำปรึกษาและสร้างขวัญและกำลังใจให้กับครูและ
บุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนให้สามารถพัฒนางานได้อยา่ งมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ

4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของครูผู้สอนท่ีมีต่อการนิเทศโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานแบบปรับเหมาะ
CM.RO ภายใตห้ ลกั การบรหิ าร Tak1 4Q เพอ่ื พฒั นาคุณภาพผเู้ รยี นระดบั สถานศกึ ษา

เปา้ หมายในการนิเทศ
เปา้ หมายด้านเน้ือหา
1. การดำเนินการ นิเทศ ติดตามการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน การดำเนินการยกระดับ

ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนและนโยบายของ สพป.ตาก เขต 1 ของกลุ่มโรงเรยี นสายน้ำวัง

7

2. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน งานนโยบาย และงานตามหน้าท่ีที่รับผิดชอบต่าง ๆ
ประกอบด้วย

2.1 การพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษาสถานศึกษา การจัดการเรยี นร้แู ละการวดั และประเมินผล
2.2 การพัฒนาระบบการประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
2.3 การพัฒนาระบบการนเิ ทศภายในโรงเรยี น
3. งานนิเทศติดตามการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2565
3.1 การกำหนดแผนการดำเนินงานด้านความปลอดภยั
3.2 การดำเนนิ งานจดั ทำแผนยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน
3.3 การสังเกตการณ์จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนของผรู้ ับการนิเทศ ประกอบด้วย

ดา้ นที่ 1 ด้านทักษะการจดั การเรยี นรแู้ ละการจัดการช้นั เรียน
ด้านท่ี 2 ดา้ นผลลพั ธ์การเรียนรู้ของผูเ้ รยี น

4. งานนิเทศตามรูปแบบการนิเทศโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานแบบปรับเหมาะ CM.RO ภายใต้
หลกั การบริหาร Tak1 4Q เพอื่ พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นระดับสถานศึกษา ตลอดปงี บประมาณ พ.ศ.2566

เปา้ หมายด้านปริมาณ
1) ร้อยละ 100 ของหวั หน้าวชิ าการแตล่ ะโรงเรียนไดร้ ับการพฒั นาทกั ษะการนิเทศ
2) ร้อยละ 100 ของครูได้รับการพัฒนาทักษาการจัดการเรียนรู้เชิงรุกตามเกณฑ์ท่ี ก.ค.ศ.กำหนด
(PA)
เป้าหมายด้านเชิงคณุ ภาพ
1) รูปแบบการนิเทศโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานมีความเหมาะสมกับกลุ่มโรงเรียนสายน้ำวัง สังกัด
สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาตาก เขต 1
2) ความพึงพอใจของครูผู้สอนที่มีต่อการนิเทศโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานแบบปรับเหมาะ CM.RO
ภายใตห้ ลักการบริหาร Tak1 4Q เพอ่ื พฒั นาคุณภาพผ้เู รียนระดับสถานศกึ ษา อยูใ่ นระดบั มาก

ขอบเขตการนิเทศ
1. ขอบเขตด้านพืน้ ท่ี
- โรงเรียนในกล่มุ อำเภอสามเงา กล่มุ โรงเรยี นสายนำ้ วัง (12 โรงเรียน)
2. ขอบเขตดา้ นเนอื้ หา
- แผนการดำเนนิ งานดา้ นความปลอดภยั
- แผนยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น
- ทกั ษะการจดั การเรียนร้แู ละการจัดการช้ันเรยี น
- ผลลัพธ์การเรียนรู้

8

3. ขอบเขตด้านระยะเวลา
- กำหนดการดำเนนิ การในปงี บประมาณ พ.ศ. 2566
- ศกึ ษานิเทศกส์ ามารถออกนเิ ทศได้ตามระยะเวลาและปรบั ให้เหมาะสมกบั สถานการณ์

ปฏิทินการนเิ ทศ ตดิ ตาม การพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นการสอน ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2565

โรงเรียน

วัน เดอื น ปี ภาคเช้า ภาคบา่ ย ประเดน็ การนิเทศ/แลกเปลีย่ น

08.30 - 12.00 น. 13.00 - 16.30 น.

9 พฤศจกิ ายน 2565 วงั หวายวทิ ยาคม บ้านใหมส่ ามคั คี 1. สำรวจขอ้ มลู ทั่วไป

10 พฤศจิกายน 2565 บา้ นวังโพ บา้ นนาตาโพ 2. การนิเทศตดิ ตาม งานตามนโยบาย

11 พฤศจิกายน 2565 บ้านวังไคร้ บา้ นทา่ ไผ่ 2.1 กำหนดแผนการดำเนินงานด้านความปลอดภัยใน
มิตรภาพท่ี 102 โรงเรยี น

15 พฤศจกิ ายน 2565 บ้านดงลาน บ้านคลองไมแ้ ดง - มาตรการดา้ นการป้องกันโรคระบาดตา่ งๆ

17 พฤศจกิ ายน 2565 ชุมชนบา้ นแม่ระวาน บ้านหนองเชยี งคา - มาตรการด้านความปลอดภัยต่างๆในโรงเรียน
สองแคว 2.2 ความพร้อมด้านอาคารสถานที่ เช่น ความสะอาด

18 พฤศจิกายน 2565 บ้านปากทางเขือ่ น หมบู่ ้านตวั อยา่ ง บรรยากาศห้องเรยี น สนามหญ้า
ภูมพิ ล 2.3 การจัดทำแผนยกระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน
- มแี ผนยกระดับฯทีเ่ ป็นปจั จุบนั

ปฏิทนิ การนิเทศ - มีแนวทาง/วิธีการ/ขั้นตอนการดำเนินงานใน
ผนู้ ิเทศ ได้กำหนดปฏทิ ินการนิเทศไว้ดังต่อไปน้ี ปฏทิ นิ การนเิ ทศ การทำแผนลงสกู่ ารปฏบิ ัตทิ ี่ชัดเจน
3. การสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู ใน 5 กลุ่ม
ตดิ ตามและตรวจเยีย่ มความพร้อมเปิดภาคเรยี นที่ 2 ของกล่มุ โรงเรยี นสายน้ำ ส าระ การเรีย น รู้ ได้ แ ก่ ภ าษ าไท ย ค ณิ ต ศ าส ต ร์
วัง สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาตาก เขต 1 ปีการศึกษา 2565 ใน วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และสังคมศึกษา ศาสนา และ
วันท่ี 9 - 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 วัฒนธรรม

รูปแบบที่ใชใ้ นการนเิ ทศ ตดิ ตาม

1. สมั ภาษณ์

2. สงั เกตการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ในชน้ั เรยี น

3. แลกเปลี่ยน

4. ให้ขอ้ เสนอแนะ

5. การตดิ ตามร่องรอยเอกสาร

หมายเหตุ กำหนดการตามปฏทิ นิ อาจมีการเปล่ยี นแปลงวัน และเวลา ไดต้ ามความเหมาะสม

9

กำหนดการนิเทศ ติดตาม การพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ด้วยรูปแบบการนิเทศโดยใช้ห้องเรียน
เป็นฐานแบบปรับเหมาะ CM.RO ภายใต้หลักการบริหาร Tak1 4Q เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนระดับ
สถานศึกษา ปงี บประมาณ พ.ศ.2566

การปรับประยุกต์จากการนิเทศ แบบ PPCP ของกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการวัด

การศึกษา สพป.ตาก เขต 1

1. การวางแผน (P-Preparing) ตลุ าคม – พฤศจกิ ายน 2565

2. การดำเนนิ การนิเทศ (Practice) มกราคม – เมษายน 2566

3. การสรุปผลการนิเทศ (Conclusion) พฤษภาคม – กรกฎาคม 2566

4. การนำเสนอผลการดำเนินการ (Presentation) สิงหาคม 2566

การดำเนินการนิเทศ (Practice) โดยโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานแบบปรับเหมาะ CM.RO ตาม
ประสบการณ์สอนของครูผู้สอน

1. กลุ่มต้องการประสบการณ์ (ครูอัตราจ้าง/ครูผู้ช่วย) ใช้เทคนิคการนิเทศแบบช้ีแนะและการเป็นพ่ี
เลี้ยง (Coaching and Mentoring)

2. กลุ่มมีประสบการณ์ (ครู คศ.1) ใช้เทคนิคการนิเทศแบบช้ีแนะสะท้อนคิด (Reflective
Coaching)

3. กลมุ่ ประสบการณส์ ูง (ครู คศ.2-3) ใชเ้ ทคนิคการสังเกตช้ันเรียน (Classroom observation)

ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ บั
1. นักเรียนในทุกระดับชั้นมีผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ดีขึ้นและนักเรียนมีทักษะ ผลงานหรือผลการ

ปฏิบัติสะท้อนถึงการได้รับการพัฒนาทักษะข้ันพื้นฐาน (Basic Skills) มีความสามารถในการเรียนรู้
(Cognitive Abilities) และมีทกั ษะในการทำงาน (Cross-functional Skills) ตามวยั และลกั ษณะของผู้เรยี น

2. ครูมีการพัฒนาให้มีสมรรถนะในการปฏิบัติงานสูงขึ้น ตามระดับการปฏิบัติท่ีคาดหวังตาม
ตำแหน่งและวทิ ยฐานะ

3. โรงเรียนมรี ะบบการนิเทศภายในทีเ่ ข้มแข็ง มรี ะบบการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา
4. โรงเรียนและสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มผี ลงานท่ีมีแนวปฏิบัติทด่ี ีท่ีเป็นแบบอย่างแก่ผู้ท่ี
เกย่ี วข้องได้
5. สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาตาก เขต 1 มรี ปู แบบการนิเทศแนวใหม่บนฐานนวตั กรรม



11

สว่ นที่ 3
รปู แบบและเทคนคิ การนเิ ทศการศกึ ษา

วธิ ีการนิเทศ

การนิเทศโรงเรียนติดตามการพัฒนาคุณภาพการศึกษาน้ี สำหรับให้ศึกษานิเทศก์ใช้ประกอบการ

นิเทศ ติดตามการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในสังกัด ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา

2565 ตามรายการนเิ ทศ ติดตาม ในกลมุ่ โรงเรียนสายน้ำวัง ไดก้ ำหนดวธิ ีการนิเทศไวด้ งั นี้

การนิเทศเพื่อการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2566

เป็นการนิเทศการพัฒนาความพร้อมเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ของ สพป.ตาก เขต 1

และ จุดเน้นต่างๆตามนโยบายของ สพป.ตาก เขต และการจัดกิกรรมการเรียนรู้ ปีงบประมาณ พ.ศ.2566

โดยใช้การนิเทศทางตรง การนิเทศชั้นเรียน โดยการสังเกตและสอบถามจากผู้อำนวยการโรงเรียน ครู และ

บุคลากรทางการศึกษา ด้วยการใช้รูปแบบปรับประยุกต์จากการนิเทศ แบบ PPCP ของกลุ่มนิเทศ ติดตาม

และประเมินผลการวัดการศึกษา สพป.ตาก เขต 1 พัฒนาเป็นการนิเทศโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานแบบปรับ

เหมาะ CM.RO ภายใต้หลักการบริหาร Tak1 4Q เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนระดับสถานศึกษา ซ่ึงมีขั้นตอน

ดังน้ี

ขั้นตอน กิจกรรม เครอื่ งมือ ระยะเวลา ผู้เก่ียวข้อง

1. การวางแผน 1. ศึกษาวิเคราะหข์ อ้ มูล - ยุทธศาสตร์ มาตรฐาน ตุลาคม - ผู้บริหารการศึกษา
- - ศกึ ษานิเทศก์
(P-Preparing) - ยทุ ธศาสตร์ มาตรฐานการศกึ ษา การศึกษาชาติ

ชาติ - หลักสูตรปฐมวยั พฤศจกิ ายน - ผู้บรหิ ารโรงเรยี น
- ห ลักสู ตรป ฐม วัย ห ลักสูต ร - หลกั สูตรการศกึ ษาขนั้ 2565 - คณะครู

การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พื้นฐาน

- นโยบายจุดเน้นของกระทรวง - นโยบายจุดเนน้ ของ

ศกึ ษาธกิ าร สพฐ. สพป.ตาก เขต 1 กระทรวงศึกษาธกิ าร สพฐ.

- สภาพบรบิ ทพ้นื ที่ สพป.ตาก เขต 1

2. กำหนดเป้าหมายการนิเทศ - หนังสือแจ้งกำหนดการนเิ ทศ

- ศึ ก ษ า เอ ก ส าร ท่ี เก่ี ย ว ข้ อ ง และประเด็นการนเิ ทศ แก่

รปู แบบ เทคนิคการนิเทศ โรงเรียนเป้าหมาย

- ประชุม ระดมความคิดออกแบบ - รา่ งรปู แบบการนเิ ทศ

กระบวนการนิเทศ - หนงั สอื ขอความอนุเคราะห์

- ร่างรูปแบบการนิเทศ กลุ่ม ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ

โรงเรีย น ส าย น้ ำวัง แ ล ะ เส น อ - ปฏิทินการนิเทศ

ผู้ทรงคณุ วฒุ ติ รวจสอบคุณภาพ - Website, Line, Facebook

3. กำห น ด ป ฏิ ทิ น ก ารนิ เท ศ ใน
ภาพรวมของเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา

12

ขน้ั ตอน กจิ กรรม เครือ่ งมอื ระยะเวลา ผเู้ กี่ยวข้อง

1. การวางแผน 4. สร้างเคร่ืองมอื การนิเทศ
(P-Preparing)
(ตอ่ ) 5. จดั ทำส่ือและเคร่ืองมือนิเทศ - เคร่ืองมือสำหรับการนิเทศ

2. การดำเนนิ 6. กำหนดปฏิทินการนิเทศ และการ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา
การนเิ ทศ
(Practice) กำหนดระยะเวลา 2565

7. ประสานการนิเทศ จัดทำหนังสือ

ราชการ เพ่อื แจง้ ปฏทิ นิ การนิเทศ

8. การนิเทศโดยศึกษานิเทศก์ เพื่อ

สาธิตการนิเทศสำหรับเป็นตัวอย่าง

การพัฒนาการนิเทศภายใน ศึกษา

สภาพปัญหาและการจัดการเรียนรู้

ของครู และสอบถามความต้องการ

จำเป็นในการพฒั นา

9. การสะท้อนผลการนิเทศ คณะผู้
นิ เ ท ศ ไ ด้ ใ ห้ ข้ อ สั ง เ ก ต แ ล ะ
ขอ้ เสนอแนะ ในการพฒั นา ปรับปรงุ

หรือแก้ไขปัญหาของโรงเรียนตาม

สภาพทพี่ บ

1. ประชุมครูวิชาการกลุ่มโรงเรียน - หนังสือเชิญประชุมหัวหน้า มกราคม - ศกึ ษานเิ ทศก์

สายน้ำวัง เพื่อร่วมกันนิยามเชิง วชิ าการกลุม่ โรงเรยี นสายนำ้ วัง - - ผ้บู ริหารโรงเรยี น

พฤติกรรมตามประเด็นตัวช้ีวัด (PA) - แผนการจดั การเรียนรู้ เมษายน - หวั หน้าวิชาการ

ตามเกณฑ์ท่ี ก.ค.ศ. กำหนด - เคร่ืองมือสำหรับการนิเทศ 2566 - คณะครู

2. ร่วมกันสังเคราะห์องค์ประกอบ ตามประเด็นตัวชี้วัด (PA) ตาม

ของแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อใช้ใน เกณฑท์ ่ี ก.ค.ศ. กำหนด
กลุม่ โรงเรยี นสายน้ำวัง

3. หัวหน้าวิชาการโรงเรียนร่วมกัน

จัดทำคู่มือการนิเทศภายในโรงเรียน

พร้อมกำหนดป ฏิทินการนิเทศ

ภายใน

4. หัวหน้าวิชาการได้รับการช้ีแนะ

แ น ะ น ำ ก า ร นิ เ ท ศ เ ห ม า ะ ส ม กั บ

ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก า ร ส อ น ข อ งแ ต่ ล ะ
บคุ คล จากศกึ ษานเิ ทศก์

5. แต่ละโรงเรยี นคัดเลือกครตู ้นแบบ

โรงเรียนละ 1 คน เพ่ือเข้ารับการ

พัฒนาสมรรถนะการจดั กจิ กรรมการ

13

ข้นั ตอน กจิ กรรม เคร่ืองมอื ระยะเวลา ผู้เกย่ี วข้อง

2. การดำเนนิ เรยี นร้เู ชิงรุก Active Learning ตาม - แบบประเมนิ ความพึงพอใจ พฤษภาคม - ศึกษานิเทศก์
การนเิ ทศ ความสมคั รใจ - แบบวเิ คราะหเ์ น้ือหา - - ผบู้ ริหารโรงเรียน
(Practice) (ต่อ) 6. ระยะท่ี 2 ครูต้นแบบได้รับการ (Content Analysis) - คณะครู
พัฒ นาด้วยเทคนิ คการนิเทศท่ี - วารสารครตู ้นแบบของกลมุ่ กรกฎาคม - ICT เขตพืน้ ท่ีฯ
3. การสรุปผล เหมาะสมกับประสบการณ์การสอน โรงเรียนสายนำ้ วัง 2566
การนเิ ทศ ของแต่ละบุคคล โดยอาศัยการมี
(Conclusion) สว่ นรว่ มจากศกึ ษานเิ ทศก์

6.1) กลุ่มต้องการประสบการณ์
(ครูอัตราจ้าง/ครูผู้ช่วย) ใช้เทคนิค
การนิเทศแบบช้ีแนะและการเป็นพี่
เลยี้ ง (Coaching and Mentoring)

6.2) กลุ่มมีประสบการณ์ (ครู คศ.
1) ใช้เทคนิคการนิเทศแบบช้ีแนะ
สะท้อนคดิ (Reflective Coaching)

6.3) กลุ่มประสบการณ์สูง (ครู
คศ.2-3) ใช้เทคนิคการสังเกตช้ัน
เรยี น (Classroom observation)
7. ครูแต่ละโรงเรียนได้รับการนิเทศ
ภายในจากครูวิชาการแบบ On site
ร่วมกับศึกษานิเทศก์นิเทศก์แบบ
Online
1. สรุปกระบวนการนิเทศภายใน
สะท้อนผลการนิเทศแต่ละโรงเรียน
และครูต้นแบบ ด้วยกระบวนการ
AAR
2. ป ระเมิ นผล ผลิต โด ยใช้แบ บ
ประเมินความพึงพอใจ ประเมิน
ผ ล ลั พ ธ์ ผู้ เรี ย น จ า ก ค ะ แ น น ก า ร
ทดสอบระดับชาติ (RT/NT/O-NET)
3. คัดเลือกครูต้นแบบ เป็น The
best of the best ข อ ง ก ลุ่ ม
โรงเรียนสายน้ำวงั
4. จัดทำวารสารและจัดทำคลิป
วิดีโอแรงบันดาลใจ ครูต้นแบบของ
กลุ่มโรงเรียนสายน้ำวัง เพ่ือเผยแพร่

ขนั้ ตอน กจิ กรรม เคร่อื งมอื 14

4. การนำเสนอ แลกเปล่ียนเรยี นรู้ - รายงานการนิเทศ ระยะเวลา ผู้เกย่ี วขอ้ ง
ผลการ 1. สะทอ้ นผลการนิเทศ และรูปแบบ
ดำเนนิ การ การนิเทศโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐาน สิงหาคม - ผู้บริหารการศกึ ษา
(Presentation) แบบปรับเหมาะ CM.RO ภายใต้ 2566 - ศกึ ษานเิ ทศก์
หลักการบริหาร Tak1 4Q เพื่อ
พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ผู้ เรี ย น ร ะ ดั บ
สถานศกึ ษา ด้วยกระบวนการ PLC
2. รายงานการนเิ ทศ

ภาระงานท่จี ะดำเนินการนิเทศ

ที่ ประเด็นการนเิ ทศ
1 ขอ้ มลู ท่วั ไป

รายการนิเทศ ติดตาม การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2565
2 1) การกำหนดแผนการดำเนินงานดา้ นความปลอดภัย

2) การดำเนินงานจดั ทำแผนยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น

3 การนิเทศการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนของผู้รับการนิเทศ ประกอบดว้ ย 2 ดา้ น
ตลอดปงี บประมาณ พ.ศ.2566 ดังน้ี
ดา้ นที่ 1 ดา้ นทักษะการจัดการเรียนรูแ้ ละการจัดการช้นั เรยี น
ดา้ นท่ี 2 ด้านผลลพั ธ์การเรียนรู้ของผ้เู รียน

เครอื่ งมอื ทใ่ี ชเ้ใคนรก่ือางรดมนา้ ือนิเทททศี่ใ่ี ช2้ใดนา้กนาผรลนลิเทัพศธ์กตาริดเตรียามนรแู้ขลอะงผป้เู รระยี เนมินผลการจัดการศึกษา ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ.2566 สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาตาก เขต 1 ประกอบดว้ ย

- แบบนเิ ทศ ตดิ ตามการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ในภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2565
- แผนการจดั การเรียนรู้
- แบบประเมนิ ความพึงพอใจ
- หอ้ งนเิ ทศก์ออนไลน์ สำหรับกลุ่มโรงเรียนสายนำ้ วงั

15

ขน้ั ตอนการการนเิ ทศ

การนเิ ทศเพ่ือตรวจเยย่ี มความพรอ้ มเปิดภาคเรียน 2 ปีการศกึ ษา 2566 ของโรงเรยี นในกลมุ่ สายน้ำ
วงั ได้กำหนดวธิ กี ารนิเทศ ดังน้ี

1. การวางแผน (P-Preparing)
1.1 ศึกษาวิเคราะห์ขอ้ มูล
- ยุทธศาสตร์ มาตรฐานการศึกษาชาติ
- หลักสูตรปฐมวยั หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน
- นโยบายจดุ เนน้ ของกระทรวง ศกึ ษาธิการ สพฐ. สพป.ตาก เขต 1
- สภาพบริบทพ้นื ที่
1.2 กำหนดเป้าหมายการนิเทศ
- ศึกษาเอกสารทีเ่ กี่ยวข้อง รูปแบบ เทคนิคการนิเทศ
- ประชุม ระดมความคดิ ออกแบบกระบวนการนเิ ทศ
- รา่ งรปู แบบการนเิ ทศ กลุ่มโรงเรียนสายนำ้ วัง และเสนอผู้ทรงคณุ วุฒติ รวจสอบคุณภาพ
1.3 กำหนดปฏทิ ินการนิเทศในภาพรวมของเขตพื้นท่ีการศึกษา

16

1.4 สรา้ งเคร่อื งมือการนิเทศ
1.5 จัดทำสือ่ และเครื่องมือนิเทศ
1.6 กำหนดปฏิทินการนิเทศ และการกำหนดระยะเวลา
1.7 ประสานการนเิ ทศ จดั ทำหนงั สอื ราชการ เพื่อแจ้งปฏทิ ินการนเิ ทศ
1.8 การนิเทศโดยศึกษานิเทศก์ เพ่ือสาธิตการนิเทศสำหรับเป็นตัวอย่างการพัฒนาการนิเทศ
ภายใน ศึกษาสภาพปัญหาและการจดั การเรยี นรขู้ องครู และสอบถามความตอ้ งการจำเป็นในการพฒั นา
1.9 การสะท้อนผลการนิเทศ คณะผู้นิเทศได้ให้ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ ในการพัฒนา
ปรับปรุงหรือแก้ไขปญั หาของโรงเรียนตามสภาพทีพ่ บ
2. การดำเนินการนิเทศ (Practice)
2.1 ประชมุ ครวู ชิ าการกลุ่มโรงเรยี นสายน้ำวัง เพ่ือรว่ มกนั นิยามเชงิ พฤติกรรมตามประเด็นตัวชี้วดั
(PA) ตามเกณฑ์ท่ี ก.ค.ศ. กำหนด
2.2 รว่ มกันสงั เคราะห์องคป์ ระกอบของแผนการจดั การเรยี นรู้ เพ่ือใช้ในกลมุ่ โรงเรียนสายนำ้ วัง
2.3 หวั หนา้ วชิ าการโรงเรียนรว่ มกันจดั ทำคู่มอื การนิเทศภายในโรงเรียน พรอ้ มกำหนดปฏิทนิ การ
นิเทศภายใน
2.4 หัวหน้าวิชาการไดร้ ับการช้แี นะ แนะนำการนิเทศเหมาะสมกับประสบการณก์ ารสอนของแต่
ละบุคคล จากศึกษานเิ ทศก์
2.5 แต่ละโรงเรยี นคัดเลือกครูต้นแบบ โรงเรียนละ 1 คน เพ่ือเขา้ รับการพฒั นาสมรรถนะการจัด
กิจกรรมการเรยี นรู้เชิงรุก Active Learning ตามความสมคั รใจ
2.6 ระยะที่ 2 ครูต้นแบบได้รับการพัฒนาด้วยเทคนิคการนิเทศที่เหมาะสมกับประสบการณ์การ
สอนของแตล่ ะบุคคล โดยอาศยั การมีสว่ นร่วมจากศึกษานเิ ทศก์

1) กลุ่มต้องการประสบการณ์ (ครูอัตราจ้าง/ครูผู้ช่วย) ใช้เทคนิคการนิเทศแบบชี้แนะและ
การเป็นพี่เลีย้ ง (Coaching and Mentoring)

2) กลุ่มมีประสบการณ์ (ครู คศ.1) ใช้เทคนิคการนิเทศแบบชี้แนะสะท้อนคิด (Reflective
Coaching)

3) กลุ่มประสบการณ์ สูง (ครู คศ.2-3) ใช้เทคนิคการสังเกตช้ันเรียน (Classroom
observation)

2.7 ครูแต่ละโรงเรียนได้รับการนิเทศภายในจากครูวิชาการแบบ On site ร่วมกับศึกษานิเทศก์
นิเทศก์แบบ Online

3. การสรุปผลการนเิ ทศ (Conclusion)
3.1 สรุปกระบวนการนิเทศภายใน สะท้อนผลการนิเทศแต่ละโรงเรียน และครูต้นแบบ ด้วย

กระบวนการ AAR

17

3.2 ประเมินผลผลิตโดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ ประเมินผลลัพธ์ผู้เรียนจากคะแนนการ
ทดสอบระดับชาติ (RT/NT/O-NET)

3.3 คดั เลอื กครตู ้นแบบ เป็น The best of the best ของกลุ่มโรงเรียนสายน้ำวัง
3.4 จัดทำวารสารและจัดทำคลิปวิดีโอแรงบันดาลใจ ครูต้นแบบของกลุ่มโรงเรียนสายน้ำวัง เพ่ือ
เผยแพร่ แลกเปล่ียนเรยี นรู้
4. การนำเสนอผลการดำเนินการ (Presentation)
4.1 สะท้อนผลการนิเทศ และรูปแบบการนิเทศโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานแบบปรับเหมาะ CM.RO
ภายใตห้ ลกั การบริหาร Tak1 4Q เพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียนระดับสถานศึกษา ดว้ ยกระบวนการ PLC
4.2 รายงานการนิเทศ



19

ส่วนที่ 4
เครือ่ งมือนิเทศการศึกษา

เคร่ืองมือนเิ ทศ ติดตามการพฒั นาคุณภาพการศึกษาภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2565 สำนักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษาประถมศกึ ษาตาก เขต 1

คำชี้แจง แบบนิเทศ ติดตามการพัฒนาคุณภาพการศึกษาน้ี สำหรับให้ศึกษานิเทศก์ใช้ประกอบการนิเทศ
ตดิ ตามการดำเนนิ งานพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในสังกดั ในภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา
2565 ตามรายการนเิ ทศ ตดิ ตาม ดงั น้ี

ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
1.1 ชอ่ื โรงเรียน.......................................................กลมุ่ โรงเรียน..................................................
1.2 ชอื่ ผูอ้ ำนวยการโรงเรียน/ผรู้ กั ษาการโรงเรียน..................................โทรศัพท์……………….……
รองอำนวยการโรงเรยี น.......................................................... โทรศัพท…์ ………………………….
1.3 ผู้บริหารสถานศกึ ษา................คน ครปู ระจำการ...............คน ลกู จ้างประจำ................คน
1.3.1 ลกู จ้างชวั่ คราว(สพฐ.)............คน ครูอัตราจ้าง..........คน นักการภารโรง..............คน
พี่เล้ียงเดก็ พิการเรียนรวม.............คน บุคลากรวทิ ย์/คณิต.........คน
1.3.2 ลกู จ้างชวั่ คราว (เงนิ นอกงบประมาณ)..........คน ครอู ตั ราจา้ ง............คน
ครูอตั ราจ้าง(งบ สพฐ.) ...............คน ครอู ัตราจา้ ง(งบโรงเรียน)...........คน อ่นื ๆ.........คน
1.3.3 ธรุ การโรงเรียน..................คน
1.4 จำนวนนักเรียน
ระดับปฐมวัย..............คน..........ห้องเรียน ระดบั ประถมศึกษา...............คน...........หอ้ งเรียน
ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น...........คน..........หอ้ งเรียน รวมจำนวนทั้งส้ิน........คน.........ห้องเรยี น
1.5 ขนาดโรงเรยี น
 เลก็  กลาง  ใหญ่  ใหญพ่ ิเศษ

20

ตอนที่ 2 รายการนเิ ทศ ติดตาม การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2565

รายการนเิ ทศ ตดิ ตาม ดำเนนิ การ อยูร่ ะหว่าง บันทกึ ผ้นู ิเทศ
ดำเนินการ

1. การกำหนดแผนการดำเนนิ งานด้านความ

ปลอดภยั

1.1 ดา้ นความปลอดภัยในโรงเรียน

- มาตรการด้านการป้องกันโรคระบาดต่างๆ

และโรคอุบตั ิใหม่

- มาตรการด้ าน ความป ลอด ภั ยต่างๆ

ในโรงเรียน เช่น การป้องกันอุบัติเหตุในโรงเรียน

การเดินทางไป – กลับของนักเรียนการพานักเรียน

ไปศึกษานอกสถานท่ี

- แนวทาง/วธิ กี ารป้องกันเหตุท่อี าจเกิดโดยไม่

คาดหมาย เชน่ การลกั พานักเรียน/การก่อ

อาชญากรรม การปอ้ งกันภยั อนั เกิดจากภยั ธรรมชาติ

1.2 ความพร้อมด้านอาคารสถานที่ เชน่

ความสะอาด บรรยากาศห้องเรียน สนามหญ้า

อาคารประกอบ เครื่องเล่นสนาม (ท่ีพร้อมใช้งาน)

2. การดำเนินงานจัดทำแผนยกระดับผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรียน

2.1 มีแผนยกระดับฯที่เป็นปัจจุบัน มีแนวทาง/

วิธีการ/ขั้นตอนการดำเนินงานในการนำแผนลงสู่การ

ปฏิบตั ิทชี่ ัดเจน

21

ตอนท่ี 3 การสังเกตการณ์จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนของผู้รับการนเิ ทศ ประกอบด้วย 2 ดา้ นดงั นี้
ดา้ นที่ 1 ดา้ นทักษะการจัดการเรยี นรู้และการจดั การชัน้ เรียน
ด้านที่ 2 ด้านผลลัพธ์การเรยี นรู้ของผู้เรยี น
ชอ่ื ผูร้ บั การนเิ ทศ.................................นามสกลุ ..........................ตำแหนง่ ...................................
สถานศึกษา......................ชัน้ ท่ีนิเทศ............จำนวนนักเรียน เพศชาย..........คน เพศหญิง...........คน
กลมุ่ สาระการเรยี นรทู้ ีส่ อน.........................................เรื่องทสี่ อน........................................................

ด้านท่ี 1 ด้านทกั ษะการจัดการเรียนร้แู ละการจัดการชั้นเรยี น

ที่ ตวั ชีว้ ัดทักษะการจดั การเรียนรแู้ ละการจัดการช้นั เรยี น บนั ทกึ ของผนู้ ิเทศ

1 ผู้เรยี นสามารถเข้าถึงสิ่งท่ีเรยี นและใจบทเรียน

1) เนื้อหา (content) หรอื มโนทัศน์ ที่จดั ใหผ้ ู้เรยี นเรยี นรหู้ รอื ฝกึ ฝน มี
ความถูกตอ้ ง และตรงตามหลักสตู ร

2) ออกแบบและจัดโครงสรา้ งบทเรียนเปน็ ระบบและใช้เวลาเหมาะสม
3) ใช้สื่อประกอบบทเรียนได้เหมาะสมและช่วยในการเรียนรู้บรรลุ
วัตถปุ ระสงคข์ องบทเรยี น
4) แสดงใหเ้ ห็นถงึ การแก้ปญั หาเพ่อื ให้ผเู้ รยี นรบั รู้และเขา้ ใจบทเรียน
5) แสดงใหเ้ หน็ ถึงผลการแก้ปญั หาทส่ี ่งผลลพั ธท์ ี่ดตี อ่ ผเู้ รยี น (มบี นั ทกึ

หลงั การสอน)

2 ผเู้ รยี นสามารถเชอ่ื มโยงความรหู้ รอื ประสบการณเ์ ดมิ กบั การเรยี นรู้ใหม่

1) มีการทบทวนความรู้ ทักษะ หรอื ประสบการณเ์ ดมิ เชน่ การใช้คำถาม
แบบฝกึ หรือกจิ กรรม ฯลฯ

2) มกี ารเข้าถงึ ผเู้ รยี นท่ยี งั ไมพ่ รอ้ มทจ่ี ะเรียนรูใ้ หม่
3) มีการช่วยเหลือผู้เรียนท่ียังมีความรู้ ทักษะ หรือประสบการณ์เดิม
ไม่เพียงพอที่จะเช่ือมโยงกับการเรียนรู้ใหม่ เช่น การอธิบาย ยกตัวอย่าง
การใชค้ ำถาม เกม หรอื กิจกรรม ฯลฯ
4) แสดงให้เห็นถึงการแก้ปัญหาให้ผู้เรียนสามารถเช่ือมโยงความรู้ หรือ
ประสบการณ์เดมิ กับการเรยี นรู้ใหม่
5) แสดงให้เห็นถงึ ผลการแกป้ ญั หาที่สง่ ผลลัพธท์ ี่ดตี ่อผเู้ รียน (มบี ันทกึ
หลงั การสอน)

ท่ี ตวั ชวี้ ดั ทกั ษะการจัดการเรียนรแู้ ละการจดั การชนั้ เรียน 22
บนั ทึกของผนู้ ิเทศ
3 ผเู้ รยี นไดส้ รา้ งความรเู้ อง หรือไดส้ รา้ งประสบการณใ์ หมจ่ ากการเรยี นรู้

1) ออกแบบงานหรือกิจกรรมให้ผู้เรียนสร้างความรู้หรือประสบการณ์
ใหมอ่ ย่างเหมาะสมกบั วยั สภาพ และบริบทของผ้เู รยี นและชั้นเรียน

2) ผเู้ รียนได้ลงมอื ปฏบิ ัติกิจกรรมท่ีตอ้ งใชค้ วามรู้หรอื ทกั ษะหลากหลาย
3) ใช้เทคนิคให้ผู้เรียนสรุปความรูห้ รือประสบการณ์ใหมด่ ้วยตนเอง เช่น
แผนทคี่ วามคดิ ตารางวเิ คราะห์ การทดลองปฏิบตั ิ การนำเสนอ ฯลฯ
4) แสดงให้เห็นถึงการแก้ปัญหาในการให้ผู้เรียนสร้างความรู้หรือสร้าง
ประสบการณใ์ หม่
5) แสดงให้เห็นถึงผลการแก้ปัญหาที่ส่งผลลัพธ์ท่ีดีต่อผู้เรียน (มีบันทึก
หลังการสอน)

4 ผเู้ รยี นไดร้ บั การกระตุน้ และเกดิ แรงจูงใจในการเรียนรู้

1) กิจกรรมการเรยี นรูเ้ ชื่อมโยงสอดคล้องกบั ชวี ิตประจำวัน บริบทชุมชน
หรอื สภาพจรงิ ของผู้เรียน

2) วิธีการหรือกิจกรรมการเรียนรู้ มีความท้าทายและมีระดับความยาก
ง่ายเหมาะสมกบั วยั สภาพ และพัฒนาการของผู้เรยี น

3) ผู้เรียนมีโอกาสสะท้อนการเรียนรู้ นำเสนอความสำเร็จ หรืออธิบาย
ข้อผดิ พลาดหรือความลม้ เหลวท่เี กดิ ข้นึ

4) แสดงให้เห็นถึงการแก้ปัญหาในการกระตุ้นหรือสร้างแรงจูงใจในการ
เรียนรขู้ องผเู้ รยี น

5) แสดงให้เห็นถึงผลการแก้ปัญหาที่ส่งผลลัพธ์ท่ีดีต่อผู้เรียน (มีบันทึก
หลังการสอน)

5 ผู้เรยี นไดร้ ับการพัฒนาทักษะความเชย่ี วชาญจากการเรียนรู้

1) ผู้เรยี นได้ฝกึ ทักษะต่างๆ ครบถว้ นตามวัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้
2) ผเู้ รียนได้บูรณาการทกั ษะตา่ งๆ ลงสกู่ ารปฏิบัตกิ ิจกรรมการเรียนรู้
3) ผู้เรียนได้ประยุกต์ใช้ทักษะท่ีได้รับการพัฒนาในสถานการณ์หรือการ
แก้ปัญหาใหมๆ่
4) แสดงให้เห็นถึงการแก้ปัญหาในการพัฒนาทักษะความเช่ียวชาญของ
ผเู้ รยี น
5) แสดงให้เห็นถึงผลการแก้ปัญหาท่ีส่งผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้เรียน (มีบันทึก
หลงั การสอน)

ท่ี ตวั ช้ีวัดทักษะการจดั การเรยี นรแู้ ละการจัดการชัน้ เรียน 23
บนั ทกึ ของผนู้ ิเทศ
6 ผู้เรยี นไดร้ ับข้อมลู สะท้อนกลับเพอื่ ปรบั ปรงุ การเรยี นรู้

1) มีการสังเกตหรือค้นหาข้อผิดพลาดในการปฏิบัติหรือมโนทัศน์ท่ี
คลาดเคลื่อนของผู้เรยี นในระหว่างการเรยี นรู้

2) มกี ารประเมนิ ผลระหว่างการเรยี นรโู้ ดยใชว้ ิธกี ารที่เหมาะสม เชน่ การ
ใช้คำถามแบบทดสอบ การปฏบิ ตั ิ ฯลฯ

3) มกี ารนำผลการสังเกต หรอื ผลการค้นหา หรอื ผลการประเมินระหว่าง
เรียนรสู้ ะทอ้ นกลบั ให้ผูเ้ รียน

4) แสดงให้เห็นถึงการแก้ปัญหาเพื่อให้ผู้เรียนปรับปรุงการเรียนรู้จาก
ขอ้ มลู สะทอ้ นกลับของครู

5) แสดงให้เห็นถึงผลการแก้ปัญหาท่ีส่งผลลัพธ์ท่ีดีต่อผู้เรียน (มีบันทึก
หลังการสอน)

7 ผเู้ รยี นไดร้ ับการพัฒนาการเรยี นรู้ในบรรยากาศชน้ั เรยี นที่เหมาะสม

1) ผู้เรียนได้รับแบบอย่างที่ดีในการใช้ภาษา พฤติกรรมแสดงออก และ
เจตคตจิ ากครผู ู้สอน

2) กระตุ้นให้ผู้เรียนม่ันใจ มีอิสระในการคิดหรือทดลอง และรับรู้
ความสามารถของตนเอง

3) ใช้ส่ือการเรียนหรือตัวอย่างประกอบท่ีหลากหลาย และกระตุ้นให้
ผูเ้ รียนคิดวิเคราะห์ เปรียบเทยี บจากสื่อการเรยี นหรือตัวอย่างเหลา่ นน้ั

4) แสดงให้เห็นถึงการแก้ปัญหาในการสร้างบรรยากาศช้ันเรียนท่ีช่วย
พัฒนาการเรยี นรขู้ องผู้เรียน

5) แสดงให้เห็นถึงผลการแก้ปัญหาที่ส่งผลลัพธ์ท่ีดีต่อผู้เรียน (มีบันทึก
หลังการสอน)

8 ผเู้ รยี นสามารถกำกับการเรยี นร้แู ละมีการเรียนรูแ้ บบนำตนเอง

1) ผู้เรียนได้รับโอกาสในการกำหนดเป้าหมายการเรียนรู้หรือการลงมือ
ปฏบิ ัติ

2) ผู้เรียนได้ประเมินตนเองหรือถูกเพื่อนประเมินในระหว่างเรียนหรือ
เมอื่ จบบทเรยี น

3) ผู้เรียนได้รับการกระตุ้นหรือการมอบหมายงานให้ศึกษา ค้นคว้า
ฝกึ ฝน หรือเรียนร้ตู ่อเนื่องเพม่ิ เติมภายหลังจบบทเรียน

4) แสดงให้เห็นถึงการแก้ปัญหาในการกำกับการเรียนรู้ และการเรียนรู้
แบบนำตนเองของผู้เรียน

5) แสดงให้เห็นถึงผลการแก้ปัญหาท่ีส่งผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้เรียน (มีบันทึก
หลงั การสอน)

ดา้ นที่ 2 ดา้ นผลลพั ธ์การเรียนรู้ของผูเ้ รยี น 24
บนั ทกึ ของผ้นู ิเทศ
ท่ี ตวั ช้ีวัดผลลัพธ์การเรยี นรูข้ องผู้เรียน

1 ผลงานหรอื ผลการปฏบิ ตั ิเปน็ ผลลพั ธ์ทีเ่ กิดขึน้ จากการจดั การเรียนรขู้ องครู

1) เป็นไปตามเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในแผนการ
จดั การเรยี นรู้

2) เหมาะสมกับวยั และพฒั นาการของผู้เรียน
3) สอดคล้องกับสภาพและบรบิ ทของผ้เู รียนและชน้ั เรียน
4) เกดิ จากตวั ผเู้ รียนรายบคุ คลหรอื กลุม่ ผู้เรียน ไม่ใช่ผลงานหรือผลการปฏบิ ตั ิ
ของครู
5) เหมาะสม ค้มุ คา่ และเปน็ ประโยชนต์ ่อการเรียนรขู้ องผเู้ รยี น

2 ผลงานหรือผลการปฏบิ ตั สิ ะท้อนถึงการไดร้ ับการพัฒนาทกั ษะข้นั พืน้ ฐาน

(Basic Skills) ตามวัยและลักษณะของผ้เู รียน
1) ทักษะการส่ือสารโดยการพูด การเขยี น หรอื การแสดงออกในรปู แบบอ่นื ๆ
2) ทกั ษะการนำเสนออย่างเป็นระบบ นา่ สนใจ
3) ทักษะการใช้เครื่องมอื หรืออปุ กรณใ์ นการเรียนหรือการฝึก
4) ความคล่องแคล่ว หรือความชำนาญ หรือความถูกต้องในการคิดหรือการ

ปฏิบตั ิ
5) ทักษะการออกแบบและการวางแผน

3 ผลงานหรือผลการปฏิบัติสะท้อนถึงความสามารถในการเรียนรู้ (Cognitive

Abilities) ตามวยั และลักษณะของผเู้ รียน
1) ความยดื หยุ่นในการคิด หรอื การคิดเชือ่ มโยงสิง่ ตา่ งๆ
2) ความคิดสร้างสรรค์ หรือการคิดเชงิ นวตั กรรม
3) กระบวนการสบื เสาะหาความหมาย หรือกระบวนการตัดสนิ ใจ
4) กระบวนการคิดเชิงเหตุผล หรือการให้เหตุผลเชิงตรรกะ
5) กระบวนการคิดเชิงระบบ

4 ผลงานหรือผลการปฏิบัติสะท้อนถงึ การบูรณาการทักษะในการทำงาน (Cross-

functional Skills) ตามวัยและลกั ษณะของผูเ้ รยี น
1) ทักษะกระบวนการ เช่น การวางแผน การวิเคราะห์วิจารณ์ การกำกับ

ตนเอง การทดลองปฏบิ ัติ การนำเสนอความคิด
2) ทักษะทางสังคม เช่น การทำงานร่วมกับผู้อื่น การโน้มน้าว การเจรจา

การบริการ การสอนหรือฝกึ ผู้อ่นื
3) ทักษะการจัดการ เช่น การจดั การเวลา การจัดการทรัพยากรการจัดการ

ทมี ทำงาน
4) ทักษะเฉพาะทาง เช่น ทักษะทางกายภาพ การเคล่ือนไหว การใช้

กลา้ มเนื้อ ดนตรี กีฬา หรือทักษะเฉพาะทางตามลักษณะรายวิชาหรือสาระการ
เรยี นรู้

ที่ ตัวชวี้ ดั ผลลพั ธ์การเรยี นร้ขู องผ้เู รียน 25
บนั ทึกของผนู้ เิ ทศ
5) ทักษะการแก้ปัญหาท่ีซับซ้อน เช่น การแก้ปัญหาท่ีต้องใช้ทักษะ
หลากหลายการแก้ปัญหาหลายข้ันตอน การแก้ปัญหาที่ต้องใช้ความร่วมมอื จาก
ผู้อน่ื การแก้ปัญหาเชิงซอ้ นหลายระดบั

ตอนที่ 4 ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเหน็ ของผู้นิเทศ
........................................................................................................................... .................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
....................................................................................................................... .....................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

26

แบบประเมินความพงึ พอใจทีม่ ตี ่อกระบวนการนเิ ทศด้วยรปู แบบการนเิ ทศโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานแบบ
ปรับเหมาะ CM.RO ภายใต้หลกั การบรหิ าร Tak1 4Q เพอื่ พัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี นระดับสถานศึกษา

คำช้ีแจง
1. แบบประเมินความพึงพอใจ สร้างขึ้นเพื่อวัดความรู้สึกของผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับกระบวนการนิเทศ

ด้วยรูปแบบการนิเทศโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานแบบปรับเหมาะ CM.RO ภายใต้หลักการบริหาร Tak1 4Q
เพื่อพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี นระดับสถานศกึ ษา ใน 4 ข้ันตอน คอื

1.1 การวางแผน (P-Preparing)
1.2 การดำเนินการนิเทศ (Practice)
1.3 การสรุปผลการนิเทศ (Conclusion)
1.4 การนำเสนอผลการดำเนินการ (Presentation)
2. โปรดพิจารณา โดยเขียนเคร่ืองหมาย ✓ ลงในช่อง “ระดับความพึงพอใจ” ที่ตรงกับความรู้สึก
ของนกั เรยี น โดยมเี กณฑข์ องระดับความพงึ พอใจ ดงั น้ี
5 หมายถึง ระดบั ความพึงพอใจมากทส่ี ุด
4 หมายถงึ ระดบั ความพงึ พอใจมาก
3 หมายถงึ ระดับความพงึ พอใจปานกลาง
2 หมายถึง ระดบั ความพงึ พอใจนอ้ ย
1 หมายถงึ ระดบั ความพึงพอใจน้อยท่ีสุด

27

ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ทวั่ ไป  ครูผูส้ อน  หัวหนา้ วิชาการ
ตำแหน่ง
 ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา/รักษาการในตำแหนง่ ฯ
ประสบการณ์ทำงาน
 ครอู ตั ราจา้ ง/ครผู ู้ช่วย

 คศ.1

 คศ.2-3

ตอนที่ 2 ความพึงพอใจที่มีต่อกระบวนการนิเทศด้วยรูปแบบการนเิ ทศโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานแบบปรับ

เหมาะ CM.RO ภายใต้หลักการบรหิ าร Tak1 4Q เพือ่ พัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี นระดบั สถานศึกษา

รายการ ระดบั ความพึงพอใจ
54321
1. การวางแผน (P-Preparing)
1.1 ศึกษาข้อมูลพ้ืนฐาน วิเคราะห์ สภาพปัญหาและความ

ต้องการในการนิเทศ
1.2 แต่งต้ังต้งั คณะกรรมการเครอื ขา่ ยการนิเทศ
1.3 กำหนดจดุ มุ่งหมายของการนิเทศแบบใช้ห้องเรียนเป็นฐาน

แบบปรับเหมาะ CM.RO ภายใต้หลักการบริหาร Tak1 4Q เพ่ือ
พฒั นาคุณภาพผ้เู รยี นระดับสถานศกึ ษา

1.4 จดั ทำแผน และคู่มือการนเิ ทศ
1.5 กำหนดสอื่ และเครอ่ื งมอื การนเิ ทศ
1.6 กำหนดปฏิทินการนิเทศ และการกำหนดระยะเวลาในการ
ดำเนนิ งานตลอดปีงบประมาณ
1.7 การประสานการนเิ ทศ ประชาสัมพนั ธ์
1.8 การสาธติ การนเิ ทศและสาธิตการสะทอ้ นผลการนิเทศ

28

รายการ ระดบั ความพึงพอใจ
54321
2. การดำเนินการนิเทศ (Practice)
2.1 ช้ีแจงทำความเข้าใจ ในบทบาทและความสำคัญของการ

นิเทศรวมถึง ประโยชน์และคุณค่าของการนิเทศการศึกษาเพ่ือสร้าง
แนวคิด และเป้าหมายร่วมกันในการดำเนินงาน

2.2 ประชุมเตรียมการ สร้างความเข้าใจก่อนการนิเทศเพ่ือสร้าง

ความเข้าใจแก่ผู้นเิ ทศ ให้การนเิ ทศเปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

2.3 การจัดทำคู่มือการนิเทศภายในโรงเรียน พร้อมกำหนด

ปฏิทนิ การนิเทศภายใน

2.4 นเิ ทศครูต้นแบบ โดยใช้กระบวนการนิเทศห้องเรียนเป็นฐาน

แบบปรับเหมาะ CM.RO ด้วยรปู แบบ On-site

2.5 การสังเกตการนิเทศจากทีมนิเทศโดยใช้กระบวนการนิเทศ
ห้องเรียนเป็นฐานแบบปรับเหมาะ CM.RO ด้วยรูปแบบ Online
หรอื หอ้ งนเิ ทศกอ์ อนไลน์ กล่มุ โรงเรียนสายน้ำวัง
3. การสรุปผลการนิเทศ (Conclusion)

3.1 การสะท้อนผลการนิเทศแต่ละโรงเรียน และครูต้นแบบ
ด้วยกระบวนการ AAR

3.2 การเสริมแรงและสร้างขวัญกำลังใจ โดยการคัดเลือกครู
ตน้ แบบ

3.3 การเผยแพร่การจัดการเรียนรู้ที่สะท้อนทักษะการจัดการ
เรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ท่ีส่งผลต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของ
ผเู้ รยี น
4. การนำเสนอผลการดำเนนิ การ (Presentation)

4.1 สะท้อนจุดควรพัฒนาเพื่อนำมาเป็นแนวทางในการพัฒนา
ครง้ั ต่อไป

4.2 ถอดบทเรียนความสำเรจ็ ของการดำเนนิ งาน

29

ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเหน็ เพมิ่ เติม
........................................................................................................................... .................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
....................................................................................................................... .....................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................ ............
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................



ความสอดคล้องของแผนการนเิ ทศการศึกษากับยทุ ธศาสตรช์ าติ มาตรฐานการจัดก

ตอ้ งการจำเปน็

ยทุ ธศาสตร์ชาติ มาตรฐานการจัด จดุ มุง่ หมาย นโยบาย จุดเนน้
การศึกษา หลักสตู รแกนกลางฯ กระทรวงศกึ ษาธิการ

1. ยุทธศาสตร์ชาติด้าน 1. ผู้เรียนรู้ เพื่อสร้าง 1. มีคุณธรรม จรยิ ธรรม 1. การจัดการศึกษาเพ
ความม่นั คง งานและคุณภาพชีวิตทด่ี ี แ ล ะ ค ่ า น ิ ย ม ท ี ่ พึ ง ความปลอดภัย
2. ยุทธศาสตร์ชาติ 2. ผู้รว่ มสรา้ งสรรค์ ประสงค์ ยดึ หลักปรัชญา 2. การยกระดับคุณภา
ด้านการสร้างความ นวัตกรรม เพื่อสังคมท่ี ของเศรษฐกิจพอเพียง การศกึ ษา
สามารถในการแข่งขนั มน่ั คง มงั่ ค่งั และยัง่ ยืน 2. มีความรูอ้ ันเป็นสากล 3. การสร้างโอกาส ควา
3. ยุทธศาสตร์ชาติด้าน 3. พลเมอื งทีเ่ ข้มแขง็ และมีความ สามารถ เสมอภาค และความเท
ก า ร พ ั ฒ น า แ ล ะ เ ส ริ ม (Active Citizen) ตามสมรรถนะ เทียมทางการศึกษาทุกช่ว
สร้างศักยภาพทรัพยากร เพอื่ สนั ตสิ ุข 3. มีสุขภาพกายและ วยั
มนุษย์ สุขภาพจติ ทดี่ ี มีสุขนิสัย 4. การศึกษาเพื่อพัฒน
4. ยุทธศาสตร์ชาติด้าน 4. มีความรักชาติ มี ทักษะอาชีพและเพิ่มข
การสร้างโอกาสและ จิตสำนึกในความเป็น ความสามารถในการแขง่ ขัน
ความเสมอภาคทางสงั คม พลเมืองไทยและพลโลก 5. การส่งเสริมสนับสน
5. ยุทธศาสตร์ชาติด้าน 5. มีจิตสำ นึกในการ วิชาชีพครู บุคลากรทางกา
การสร้างการเติบโตบน อนุรักษ์วัฒนธรรมและ ศึกษา และบุคลากรสังก
คุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร ภูมิปัญญาไทย การ กระทรวงศกึ ษาธิการ
ตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม อนุรักษ์ และพัฒนา 6. การพัฒนาระบบราชกา
ส ิ ่ ง แ ว ด ล ้ อ ม ม ี จิ ต และการบริการภาครัฐย
สาธารณะที่มุ่งทำ ดจิ ิทัล
ประโยชน์และสร้างสิ่งที่ 7. การขับเคลื่อนกฎหมา
ดีงามในสังคม และอยู่ การศึกษาและแผนกา
ร่วมกันในสังคมอย่างมี ศึกษาแหง่ ชาติ
ความสขุ

การศึกษา และหลักสูตร รวมทงั้ นโยบาย จดุ เนน้ สภาพแวดล้อม ปัญหาและความ

นโยบาย จุดเน้น นโยบาย จดุ เนน้ สภาพแวดล้อม แผนการนิเทศ
ร สพฐ. สพป.ตาก เขต 1 ปัญหาและความ การศึกษา
ตอ้ งการจำเป็น

พื่อ 1. ด้านความปลอดภยั 1.One Stop Service 1. การปฏิรูปกระบวนการ การนเิ ทศการจดั การ

2. ด้านโอกาสและลด จุดบรกิ ารแบบเบด็ เสรจ็ เรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการ เรยี นรเู้ ชงิ รกุ

าพ ความเหลื่อมล้ำทางการ 2 . ก า ร ย ก ร ะ ดั บ เปลี่ยนแปลงในศตวรรษ (Active Learning)

ศกึ ษา ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน ที่ 21

าม 3. ด้านคณุ ภาพ บริบทวิถใี หม่ 2. ครูปรับเปลี่ยนวิธีการ

ท่า 4. ด้านประสิทธภิ าพ 3. ร ะ บ บ ด ู แ ล สอน ครเู ปน็ โค้ช

วง ช่วยเหลือนักเรียนในทุก 3. หนังสอื สำนักงานก.ค.ศ.

มติ ิ ที่ ศธ 0206.3/ว 11 การ

นา 4. โครงการ Green ดำเนินการตามหลักเกณฑ์

ขีด Clean And Safety แ ล ะ ว ิ ธ ี ก า ร ป ร ะ เ มิ น

น (พฒั นาสิ่งแวดลอ้ ม) ตำแหน่ง และวิทยฐานะ

นุน 5. การจัดทำข้อตกลงใน ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากร
าร การพฒั นางาน (PA) ทางการศึกษา ตำแหน่ง

กัด 6 . จ ั ด ท ำ ห ล ั ก ส ู ต ร ศกึ ษานิเทศก์

ท้องถ่ิน 4. หนงั สือสำนักงานก.ค.ศ.

าร ที่ ศธ 0206.3/ว 9 การ

ยุค ดำเนินการตามหลักเกณฑ์
แ ล ะ ว ิ ธ ี ก า ร ป ร ะ เ มิ น

าย ตำแหน่ง และวิทยฐานะ

าร ขา้ ราชการครูและบุคลากร

ทางการศกึ ษา ตำแหนง่ ครู

ชื่อ - สกลุ นางสาวปราณี แก้วมา
ตำแหน่ง ศึกษานิเทศก์
วิทยฐานะ ศกึ ษานเิ ทศก์ชำนาญการพิเศษ
เลขทต่ี ำแหน่ง 97
วุฒกิ ารศึกษา การศกึ ษามหาบัณฑติ สาขาคณติ ศาสตร์ศึกษา

มหาวทิ ยาลัยนรศวร พษิ ณโุ ลก
เบอร์โทรศัพท์ 09-6952-4292
กลุ่มงาน สง่ เสริมและพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยี

ทางการศึกษา

ชื่อ - สกลุ นางสาวลักขณา จิว๋ ปัญญา
ตำแหน่ง ศกึ ษานิเทศก์
วทิ ยฐานะ ศกึ ษานเิ ทศก์ชำนาญการพิเศษ
เลขทต่ี ำแหน่ง 81
วฒุ กิ ารศกึ ษา การศกึ ษามหาบณั ฑิต สาขาการบรหิ ารการศึกษา

มหาวิทยาลัยนรศวร พิษณโุ ลก
เบอรโ์ ทรศัพท์ 08-7662-6996
กลุม่ งาน สง่ เสริมและพัฒนาสอ่ื นวตั กรรมและเทคโนโลยี

ทางการศกึ ษา


Click to View FlipBook Version