The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พัฒนาบุคลิกภาพโดยวิธีการแต่งหน้า กลุ่มกระเทียมเจียว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sutinan.mongkonchaijaroen, 2021-04-15 02:36:18

พัฒนาบุคลิกภาพโดยวิธีการแต่งหน้า กลุ่มกระเทียมเจียว

พัฒนาบุคลิกภาพโดยวิธีการแต่งหน้า กลุ่มกระเทียมเจียว

0

รายงานการวจิ ัย

เรือ่ ง
การพัฒนาบคุ ลิกภาพโดยใชว้ ิธีการแตง่ หน้า สำหรับนิสติ ชน้ั ปที ่ี 4 เอกการประถมศกึ ษา

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ

คณะผู้วิจยั

นางสาวภทั ราวดี มหาทรัพย์ รหัสนิสิต 60105010074
นางสาวสธุ ินนั ท์ มงคลไชยเจริญ รหัสนสิ ิต 60105010083
นางสาวสุพรรษา บญุ มี รหสั นสิ ติ 60105010084
นางสาวอนศิ รา จักก่ายี่ รหัสนิสิต 60105010089

สาขาวิชา การประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ

รายงานการวิจัยน้เี ป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา
รายวชิ า ศษ 471 การวจิ ัยทางการศกึ ษา

ตามหลกั สตู รการศึกษาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ
ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

รายงานการวิจยั

เรือ่ ง
การพฒั นาบุคลิกภาพโดยใชว้ ธิ กี ารแต่งหนา้ สาหรับนสิ ติ ชน้ั ปีที่ 4 เอกการประถมศึกษา

คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ

คณะผู้วจิ ัย

นางสาวภัทราวดี มหาทรัพย์ รหัสนสิ ติ 60105010074
นางสาวสุธนิ ันท์ มงคลไชยเจริญ รหัสนสิ ิต 60105010083
นางสาวสุพรรษา บุญมี รหัสนสิ ติ 60105010084
นางสาวอนิศรา จกั ก่ายี่ รหัสนสิ ิต 60105010089

สาขาวิชา การประถมศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ

รายงานการวจิ ัยน้ีเป็นส่วนหน่งึ ของการศกึ ษา
รายวิชา ศษ471 การวิจยั ทางการศกึ ษา

ตามหลักสูตรการศกึ ษาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ
ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563



บทคัดยอ่

ชอื่ เรือ่ ง การพฒั นาบุคลิกภาพโดยใชว้ ธิ กี ารแต่งหน้า สาหรบั นสิ ิตช้ันปที ี่ 4 เอกการประถมศึกษา

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ

ผวู้ จิ ยั นางสาวภทั ราวดี มหาทรพั ย์ รหสั นิสติ 60105010074

นางสาวสธุ นิ ันท์ มงคลไชยเจริญ รหัสนิสิต 60105010083

นางสาวสพุ รรษา บุญมี รหสั นิสติ 60105010084

นางสาวอนศิ รา จักก่าย่ี รหัสนสิ ิต 60105010089

ปีการศกึ ษา 2563

อาจารย์ที่ปรกึ ษาวิจยั อาจารย์พนิดา ศกุนตนาค

การวจิ ยั นี้มคี วามมุ่งหมายเพอ่ื เปรยี บเทียบบคุ ลกิ ภาพของนิสติ กอ่ นและหลังใช้วิธีการแตง่ หนา้
เปน็ การวิจัยเชิงทดลองโดยใช้รปู แบบการวจิ ยั แบบกลุ่มเดียว วัดก่อนและหลงั (one group pretest-posttest
design) กลุ่มเป้าหมายท่ีใช้ในการวจิ ยั คอื นิสติ ผู้หญิงชั้นปีที่ 4 เอกการประถมศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ ประจาปีการศึกษา 2563 ท่ีตอ้ งการพฒั นาบคุ ลิกภาพของตนเอง จานวน 5 คน
เคร่อื งมือท่ีใช้ในการวิจัย ประกอบดว้ ย เคร่ืองมือในการทดลอง คอื แบบเรยี นออนไลน์พัฒนาบุคลกิ ภาพโดย
วธิ กี ารแต่งหนา้ และเครือ่ งมอื ในการรวบรวมข้อมลู คือ แบบประเมนิ ความพึงพอใจในบุคลกิ ภาพก่อนและหลัง
การใช้วิธกี ารแต่งหนา้ วเิ คราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป SPSS วเิ คราะหแ์ บบ Paired Samples Test
สถติ ทิ ่ีใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล คอื ค่าเฉล่ยี และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน

ผลการวจิ ัยพบว่า กลมุ่ เปา้ หมายท้ัง 5 คนมบี ุคลกิ ภาพดขี ้ึนหลังจากใช้วธิ กี ารแตง่ หน้า คะแนนเฉลย่ี
บุคลิกภาพหลงั ใช้วธิ กี ารแต่งหนา้ สงู กวา่ คะแนนเฉล่ียของบคุ ลกิ ภาพก่อนใชว้ ธิ กี ารแต่งหน้า



ประกาศคณุ ูปการ

รายงานวจิ ัยฉบบั นสี้ าเรจ็ ลงได้ดว้ ยดี เน่ืองด้วยความเมตตาความกรุณาเป็นอย่างสงู จาก อาจารย์
พนิดา ศกนุ ตนาค ท่ีใหค้ าปรึกษา คาแนะนา ข้อคดิ เห็น และแก้ไขขอ้ บกพร่องต่างๆ ในการทาวจิ ยั ของ
คณะผวู้ จิ ัยดว้ ยความเอาใจใสเ่ ปน็ อยา่ งดมี าโดยตลอด สง่ ผลให้รายงานวจิ ยั ฉบับนี้ มคี วามถกู ต้องสมบรู ณ์
และสาเรจ็ ลลุ ว่ งไปไดด้ ว้ ยดี คณะผวู้ จิ ัยรสู้ ึกซาบซ้งึ ในความกรุณาและขอกราบขอบพระคุณเปน็ อยา่ งสูงไว้ ณ
โอกาสนี้

ขอขอบคุณเพือ่ นๆนิสติ ครูเอกการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ
ทไ่ี ดใ้ ห้ความร่วมมือในการดาเนนิ การทาวจิ ยั และให้อานวยความสะดวกเป็นอยา่ งดี ตลอดการทางาน การเก็บ
ขอ้ มูลต่างๆ ทาให้คณะผู้วิจยั รสู้ กึ ประทับใจเป็นอยา่ งมาก

สุดทา้ ยผวู้ ิจัยขอขอบคุณคณะผูว้ จิ ัยทกุ คนทค่ี อยชว่ ยเหลือ ร่วมกันทารายงานวจิ ยั และใหก้ าลงั ใจซึง่
กนั และกันดว้ ยดีมาโดยตลอด และรวมถึงผู้มีพระคุณทุกท่านท่มี ไิ ด้กล่าวนามในท่นี ี้ท่มี สี ่วนใหค้ วามช่วยเหลือ
และให้คาแนะนา จนทาให้รายงานวิจัยฉบบั น้ีสาเร็จลลุ ่วงไปได้ดว้ ยดี

คณะผูว้ ิจยั



สารบัญ หน้า

บทคดั ย่อ ค
ประกาศคณุ ปู การ ง
สารบัญ จ
สารบญั ตาราง ฉ
สารบญั ภาพ 1
บทที่ 1 บทนา 1
1
ภูมหิ ลงั 1
คาถามวิจยั 1
ความมงุ่ หมายของการวิจยั 1
ความสาคัญของการวจิ ัย 2
ขอบเขตของการวิจยั 2
นิยามศัพท์เฉพาะ 3
กรอบแนวคดิ การวิจยั 3
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทเ่ี ก่ียวข้อง 11
บคุ ลกิ ภาพ 15
การแตง่ หนา้ 15
บทท่ี 3 วิธดี าเนนิ การวิจยั 15
แบบแผนการวจิ ัย 15
กลมุ่ เปา้ หมาย 17
เครอ่ื งมือวจิ ยั 18
วธิ ดี าเนินการทดลอง 20
การวิเคราะห์ขอ้ มูล 20
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู 20
ตอนท่ี 1 สญั ลักษณท์ ่ใี ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมลู 20
ตอนที่ 2 ค่าสถติ พิ ้นื ฐานของคะแนนบคุ ลกิ ภาพก่อนและหลงั การใช้วิธกี ารแต่งหนา้
ตอนท่ี 3 ผลการเปรียบเทียบบคุ ลกิ ภาพก่อนและหลังการใช้วิธีการแต่งหนา้ 21

ตอนที่ 4 ผลการวิเคราะห์คะแนนเพิ่มสัมพัทธ์ของบุคลิกภาพก่อนและหลังการใช้วิธีการ
แต่งหนา้ เปน็ รายบุคคล

สารบญั (ตอ่ ) ง

บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ หน้า
สรุปผลการวจิ ัย 22
อภิปรายผลการวิจยั 22
ขอ้ เสนอแนะ 22
23
รายการอา้ งอิง 25
ภาคผนวก 26
27
ภาคผนวก ก รายช่อื ผเู้ ชีย่ วชาญตรวจสอบคณุ ภาพเคร่อื งมือวจิ ัย 29
ภาคผนวก ข เครอื่ งมือทใ่ี ช้ในการทดลอง 35
ภาคผนวก ค เครอ่ื งมือทีใ่ ชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล 42
ภาคผนวก ง วดิ ีโอการสอนในแอพพลเิ คชน่ั ZOOM 44
ภาคผนวก จ คะแนนบุคลกิ ภาพก่อนและหลังการใชว้ ิธีการแต่งหนา้ 48
ภาคผนวก ฉ ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 50
ประวัติผวู้ จิ ยั



สารบัญตาราง

ตาราง หน้า
4.1 คา่ สถิตพิ ืน้ ฐานของคะแนนบุคลกิ ภาพก่อนและหลังการใชว้ ิธกี ารแตง่ หนา้ 20
4.2 ผลการเปรยี บเทยี บบุคลิกภาพก่อนและหลังการใชว้ ธิ ีการแต่งหน้า 21
4.3 ผลการวิเคราะหค์ ะแนนเพ่ิมสัมพทั ธข์ องบุคลิกภาพก่อนและหลงั ใชว้ ธิ กี ารแตง่ หน้า 21
6.1 ผลการวเิ คราะหค์ ะแนนเพ่ิมสัมพัทธข์ องบุคลิกภาพกอ่ นและหลังใชว้ ิธกี ารแตง่ หน้า 31
6.2 ผลความเทย่ี งตรงตามเน้ือหาของแบบประเมนิ ความพึงพอใจในบุคลิกภาพก่อนและหลัง 38

การใชว้ ิธกี ารแต่งหนา้ 45
6.3 คะแนนบุคลิกภาพก่อนและหลังการใชว้ ธิ ีการแต่งหน้า 46
6.4 คะแนนบุคลกิ ภาพก่อนการใช้วธิ ีการแตง่ หน้า 47
6.5 คะแนนบุคลิกภาพหลงั การใช้วธิ ีการแต่งหนา้



สารบญั ภาพ

ภาพ หน้า

1.1 กรอบแนวคดิ การวิจยั 2

3.1 แบบแผนการวิจัย 15

6.1 QR Code ของ Power Point เร่อื ง เครือ่ งสาอางเบือ้ งต้น 33

6.2 QR Code ของ VDO การเปล่ียนแปลงตนเองด้วยการแตง่ หนา้

6.3 QR Code ของ แบบประเมนิ ความพึงพอใจในบุคลิกภาพก่อนการใชว้ ธิ ีการแต่งหน้าใน 41

Google Form

6.4 QR Code ของ แบบประเมนิ ความพงึ พอใจในบุคลิกภาพหลงั การใชว้ ธิ กี ารแต่งหนา้ ใน 41

Google Form

6.5 QR Code ของ VDO การสอน ครง้ั ที่ 1 43

6.6 QR Code ของ VDO การสอน ครั้งท่ี 2 43

6.7 QR Code ของ VDO การสอน ครั้งที่ 3 43

6.8 คะแนนบคุ ลิกภาพก่อนและหลงั การใช้วิธกี ารแตง่ หนา้ 45

6.9 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ในโปรแกรมสาเร็จรปู SPSS 49

1

บทท่ี 1
บทนา

ภมู ิหลงั
บุคลิกภาพท่ีดีมคี วามสาคญั ต่อการประกอบอาชพี ของครู กล่าวคือ นอกจากครจู ะต้องใช้ความรู้

ในการสอนนักเรียนแล้ว ยงั ต้องปฏิบตั ิตนเป็นแบบอยา่ งทดี่ ีดว้ ย การมีบุคลิกภาพทด่ี ีจงึ มีความสาคัญต่อ
อาชีพครูเป็นอยา่ งสงู

เนอ่ื งจากในการเขา้ ฝึกประสบการณ์การสอนของนสิ ติ ครู ในรายวชิ า ศษ391 ในปีการศึกษา 2562
ไดส้ ัมภาษณ์เพ่ือนนสิ ติ ครูแลว้ พบว่าปัญหาหนึง่ ทีส่ าคญั ในการฝกึ ประสบการณ์สอนนั่นคือ การมีบุคลิกภาพทด่ี ี
เพราะเพ่ือนนิสิตครูมักจะไดร้ ับคาแนะนาจากอาจารย์พเี่ ล้ยี งและนกั เรยี นวา่ ควรมกี ารปรับปรุงบุคลิกภาพ

ดังนั้น คณะวจิ ยั ได้เห็นถงึ ความสาคัญของปญั หาขา้ งตน้ จึงไดเ้ สนอแนวทางการแก้ไขปญั หา
โดยใชว้ ิธีการแตง่ หน้า เพือ่ ปรับปรุงบุคลกิ ภาพให้ดียิ่งข้ึน และเป็นการเสรมิ สรา้ งความมั่นใจในการ
ฝึกประสบการณส์ อน อกี ทั้งยังสามารถดงึ ดูดความสนใจของนกั เรียนที่สอนอีกด้วย

คาถามวจิ ัย
กอ่ นและหลงั การแต่งหนา้ นิสิตมีบุคลกิ ภาพแตกต่างกันหรือไมอ่ ย่างไร

ความมุ่งหมายของการวิจัย
เพอื่ เปรยี บเทยี บบคุ ลิกภาพของนิสิตก่อนและหลงั ใช้วิธีการแตง่ หน้า

ความสาคัญของการวิจัย
วิจยั การพัฒนาบคุ ลิกภาพโดยใช้วธิ ีการแต่งหน้า สาหรับนิสติ ชั้นปที ่ี 4 เอกการประถมศึกษา

คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ นอกจากเพื่อเปน็ การพฒั นาบุคลกิ ภาพของนิสติ ท่ีดีข้ึนแลว้
การแต่งหนา้ ยังเป็นการเสริมสรา้ งมคี วามม่นั ใจในการฝึกประสบการณ์สอนของนิสติ รวมทั้งเป็นตัวช่วยในการ
ดงึ ดดู ความสนใจในการเรียนรู้ของนักเรยี นอีกด้วย

ขอบเขตของการวิจัย
1. กลุ่มเป้าหมาย
นิสติ ผู้หญงิ ช้นั ปที ี่ 4 เอกการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ
ประจาปกี ารศึกษา 2563 ท่ตี ้องการพัฒนาบุคลิกภาพของตนเอง จานวน 5 คน
2. ตวั แปรท่ศี กึ ษา
2.1 ตัวแปรอิสระ คือ การแต่งหน้า
2.2 ตวั แปรตาม คอื บคุ ลกิ ภาพ

2

3. ระยะเวลาในการทาวิจยั
4 เดือน เริม่ ตั้งแตเ่ ดือน มกราคม ถึงเดือน เมษายน พ.ศ. 2564

นิยามศัพทเ์ ฉพาะ
การแตง่ หนา้ หมายถึง การสร้างสรรคศ์ ิลปะบนใบหน้าโดยใชส้ สี นั ท่เี หมาะสมกบั ตัวบคุ คลซึ่งสง่ ผล

ทาให้บุคคลมคี วามสวยงามและมีความมัน่ ใจในการทางาน
บุคลิกภาพทด่ี ีสาหรับครู หมายถงึ การแสดงออกที่ม่นั ใจ ขณะสอนหนังสอื ซึง่ เปน็ ผลผลมาจาก

การแต่งหนา้

กรอบแนวคิดการวิจัย

การแตง่ หนา้ บุคลกิ ภาพ

ภาพท่ี 1.1 กรอบแนวคดิ การวจิ ยั

3

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกย่ี วข้อง

หวั ข้อท่ีจะนาเสนอเกย่ี วกับเอกสารและงานวจิ ัยท่ีเก่ยี วข้อง
1. บุคลกิ ภาพ
1.1 ความหมายของบุคลิกภาพ
1.2 ประโยชน์ของบุคลกิ ภาพ
1.3 บคุ ลิกภาพทีส่ าคัญต่ออาชีพครู
1.4 วธิ สี ร้างเสริมและพฒั นาบุคลกิ ภาพ
1.5 วิจยั เกยี่ วกับการสร้างบุคลิกภาพ
2. การแตง่ หนา้
2.1 ความหมายของการแตง่ หน้า
2.2 ประโยชนข์ องการแต่งหนา้
2.3 การสรา้ งเสริมบุคลิกภาพด้วยวธิ ีการแต่งหน้า
2.4 วิจยั การแตง่ หน้าเพ่ือพฒั นาบุคลกิ ภาพ

รายละเอยี ดเนอ้ื หาในแตล่ ะหัวขอ้

1. บคุ ลกิ ภาพ

1.1 ความหมายของบคุ ลิกภาพ
บุคลิกภาพ (Personality) มาจากรากศัพทภ์ าษาลาตินว่า Persana ซ่งึ แปลวา่ หนา้ กากทีต่ ัวละคร
กรีกและโรมนั ในสมัยก่อนสวมใส่ เพือ่ แสดงบคุ ลิกลักษณะทแ่ี ตกตา่ งกันให้ผดู้ ูสามารถเห็นไดแ้ ม้ในระยะไกล
บคุ ลกิ ภาพ ตามความหมายของพจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ.2554 หมายถึงสภาพนิสยั
จาเฉพาะตน
สถติ วงศส์ วรรค์ (2544:4) กลา่ ววา่ บุคลิกภาพ หมายถึงลักษณะโดยส่วนรวมของแตล่ ะบคุ คล
ทงั้ ลกั ษณะภายนอก ภายใน และปจั จยั ต่างๆอันมีอิทธิพลต่อความรสู้ ึกของผู้พบเหน็

ฉวี วชิ ญเนตนิ ัย (2539:3) กล่าววา่ บุคลิกภาพ หมายถงึ ผลรวมของลกั ษณะทางร่างกาย และ
พฤติกรรมที่ปรากฏออกมาให้สงั เกตเห็นได้และรวมท้ังพฤติกรรมภายในอีกด้วย ซึ่งลักษณะ ทางร่างกายของ
บคุ คล ได้แกร่ ปู รา่ ง หนา้ ตาและผิวพรรณ ส่วนพฤตกรรมที่ปรากฏออกมาให้ สงั เกตเห็นได้คอื กิรยิ า ท่าทางและ
การแตง่ กาย และพฤติกรรมภายในได้แก่ความรู้สึกนึกคดิ ความต้องการและความสนใจ ซ่งึ สิง่ เหล่านีเ้ ป็นสิง่ ที่
บุคคลได้มาโดยกาเนิดหรือได้รบั จากประสบการณ์ อนั มผี ลทาให้ บุคคลมีพฤตกิ รรมแตกตา่ งกนั

4

สรปุ ไดว้ า่ บคุ ลิกภาพหมายถงึ ลักษณะทางรา่ งกายเฉพาะตนท่ีแสดงออกมาให้สังเกตได้ ทั้งลกั ษณะ
ภายนอกและภายใน ไดแ้ กร่ ูปร่างหนา้ ตา รวมไปถึงพฤติกรรมที่ปรากฏให้เหน็ เช่น กิรยิ า ทา่ ทางการแสดงออก
และยังมีพฤติกรรมภายในอันไดแ้ ก่ ความรูส้ กึ นึกคดิ ความต้องการ ความสนใจ บคุ ลกิ ภาพแตล่ ะคนจึงมีความ
แตกต่างกัน

1.2 ประโยชนข์ องการพัฒนาบคุ ลิกภาพ
ธนนั ญา กรดสวุ รรณ (2554) อาจารยม์ หาวทิ ยาลัยแมโ่ จ้ จงั หวดั ชุมพร ไดเ้ สนอประโยชน์ของการ
พฒั นาบคุ ลิกภาพ ดังน้ี

1. สรา้ งเสรมิ สุขภาพให้แขง็ แรงตลอดเวลา ด้วยการออกกาลังกาย
2. ทาให้ร่างกายมีบุคลิกภาพท่ีดีคล่องแคลว่ ว่องไว และสง่าผ่าเผย
3. เปน็ ผ้ทู ่ีมคี วามรา่ เริง จิตใจแจ่มใส อารมณ์ดี
4. มีกิรยิ ามารยาท และพูดจาด้วยถ้อยคาท่สี ภุ าพเป็นเสน่ห์กบั ผูพ้ บเห็น
5. เป็นผ้ทู ีม่ ีเหตุผลไม่วู่วาม มีความสุขุมรอบคอบ มีติ และควบคมุ ตัวเองได้
6. มจี ิตใจที่เข้มแข็ง มีความอดทน ต่อส้กู ับปญั หาและอุปสรรคได้
7. ยอมรบั ความเป็นจริงของโลกมนุษย์ ซึ่งประกอบไปดว้ ยสุขและทุกข์
8. มคี วามเชอื่ มน่ั ในตวั เองกล้าคิดกล้าทากลา้ แสดงออกหรอื กล้าตดั สินใจโดยอาศยั หลักการและ

เหตผุ ล
9. มคี วามคดิ ใฝห่ าความก้าวหนา้ ในการงาน มีความคิดริเรมิ่ กระตือรือร้น มนี ้าใจและเอื้ออาทร

ผู้อน่ื
10. ปรบั ปรุงตนเองใหเ้ ข้ากับสงั คมและส่ิงแวดล้อมไดเ้ ปน็ อยา่ งดี และสามารถสร้างมนุษย์สมั พนั ธ์

ที่ดกี ับรอบขา้ งได้อย่างมีความสุข
จากขอ้ มูลข้างตน้ สรปุ ได้ว่าประโยชน์ของการพัฒนาบุคลิกภาพมีอยู่ 2 ด้าน คือ ดา้ นรา่ งกาย
ทั้งในเร่อื งของสุขภาพร่างกาย กริ ิยามารยาท การแสดงออกต่างๆ และด้านจิตใจ ความร่าเรงิ แจม่ ใส
ความเขม้ แข็งทางจติ ใจ ซงึ่ ในงานวจิ ยั นีจ้ ะแสดงใหเ้ ห็นถึงประโยชนข์ องการพฒั นาบุคลิกภาพในดา้ นรา่ งกาย
ทสี่ ง่ ผลถึงความม่ันใจในตนเอง

1.3 บุคลิกภาพทีส่ าคัญตอ่ อาชพี ครู
จาเนยี ร นอ้ ยท่าชา้ ง (2563) อ้างถึงใน วราภรณ์ ศรวี โิ รจน์ เกย่ี วกับบุคลกิ ภาพของครูในเน้อื หา
การสอนเร่ือง “ปรัชญาและคุณธรรมสาหรบั ครู และลกั ษณะของครูที่ดี” ของคณะครศุ าสตร์ มหาลัยราชภฏั
เพชรบุรี ไว้ว่า 1. ครคู วรมีความสงบเสงี่ยม ต้องระมัดระวังในการวางตวั เสมอ

2. ครูควรแตง่ กายเรียบร้อย ไม่แต่งกายนาสมยั และใช้เครื่องสาอางแต่พอประมาณ
3. พดู จาไพเราะนุ่มนวลอยเู่ สมอ
4. ครคู วรพูดเสยี งดงั
5. มอี ารมณเ์ ย็น

5

6. เป็นกนั เองกับเดก็ นักเรียนและมีอารมณ์ขนั บ้าง
7. มสี ุขภาพแข็งแรงทง้ั ทางด้านจิตใจและดา้ นรา่ งกาย
8. มลี ักษณะเป็นผู้นาและเปน็ ผทู้ พี่ ง่ึ พงิ ได้
จากข้อมลู ขา้ งตน้ สรุปไดว้ ่า บุคลกิ ภาพทส่ี าคัญต่ออาชพี ครมู ีท้ังบคุ ลิกภาพภายนอก คือการแต่งกาย
การใช้เคร่ืองสาอาง การแสดงออกทเ่ี หมาะสม และบุคลิกภาพภายใน ในดา้ นของจติ ใจ ซ่ึงในงานวิจยั น้ี
จะกล่าวถงึ บุคลกิ ภาพภายนอกทส่ี าคัญต่ออาชพี ครเู ท่าน้ัน

1.4 วธิ สี ร้างเสรมิ และพัฒนาบุคลิกภาพ
คณะกรรมการอาชวี ศึกษากระทรวงศึกษาธกิ าร (2556) ได้กลา่ วในหนงั สอื เรียนวชิ าการพฒั นา
บคุ ลิกภาพนักขายรหัสวิชา 2202-2008 ของสานกั พิมพ์ บริษทั พฒั นาคุณภาพวิชาการ จากดั ไว้วา่ การพฒั นา
บคุ ลิกภาพแบ่งเป็น 2 แบบ คอื การพฒั นาบคุ ลกิ ภาพภายนอก และ การพฒั นาบคุ ลกิ ภาพภายใน โดยผวู้ ิจยั ได้
นาเสนอข้อมลู ท่ีเป็นเน้ือหาเกี่ยวการพฒั นาบคุ ลิกภาพภายนอกเท่านั้น ดงั นี้

บุคลิกภาพภายนอก (External Personality) เป็นบุคลิกภาพที่สังเกตได้ชัดหรอื สัมผัสได้และเป็น
สง่ิ ที่สัมผัสได้ด้วยประสาทสัมผัสทง้ั 5 โดยพัฒนาดังนี้

1. การปรับปรงุ รูปรา่ งหนา้ ตา
1) สุขภาพ
2) ความสะอาด
3) การย้ิม

2. การปรับปรงุ การแต่งกาย บคุ คลทีม่ ีการแต่งกายดยี ่อมก่อให้เกิดเอกลักษณท์ ี่โดดเด่นการแต่งกาย
ท่ีดีการแต่งกายควรมคี วามเหมาะสม ดังนี้

1) เลอื กสวมใสเ่ สื้อผา้ ทีม่ ีรปู แบบเหมาะสมกับอายุหรอื วัยของผสู้ วมใส่
2) การแต่งกายให้เหมาะสมกับรูปร่าง
3) เลือกใช้เครื่องประดับท่ีเหมาะสม
4) เสื้อกระเป๋า
5) เลือกรองเท้าที่เหมาะกบั การสวมใสใ่ นทุกโอกาส
6) มคี วามเช่ือมั่นในตนเอง
3. การปรบั ปรุงกริ ยิ าทา่ ทาง มสี ่วนสาคัญในการสร้างความม่นั ใจ ความนบั ถือ ความศรัทธาและ
ความเชอ่ื ถือแกผ่ ้พู บเหน็ การปรับปรงุ กิรยิ าท่าทางให้ถูกต้อง มีดงั นี้
1) การยืน
2) การเดนิ
3) การนั่ง
4) การไหว้

6

4. การปรับปรุงในเรือ่ งการตดิ ตอ่ ส่ือสาร การชักจงู โน้มนา้ วใจบคุ คลอ่ืน ยอมรับความคิดเหน็ ของ
ตนเองจะตอ้ งมีความสามารถในการตดิ ต่อสอ่ื สารใหผ้ ู้ฟังทราบถึงจุดประสงค์ในการพดู หรือการสื่อสาร
นั้นๆ

5. การปรบั ปรุงการพดู ในทุกอาชพี จะต้องติดต่อและพบปะบุคคลตา่ งๆ จงึ ต้องมวี ธิ ีการพูดใหผ้ ู้ฟงั
เขา้ ใจจดุ มุ่งหมายนน้ั โดยพดู ให้ผฟู้ ังเข้าใจในเร่อื งที่พูดได้อย่างชัดเจนและเกิดความคิดคอยตาม

6. การปรับปรุงการฟัง ตอ้ งมีสมาธิในการฟงั มีสีหน้าและท่าทางสนใจ หากมคี าพูดท่ีไม่สบอารมณ์
ผู้ฟังควรฟงั ด้วยใจที่เปดิ กว้าง

จากข้อมลู ข้างต้น สรปุ ได้วา่ วธิ สี ร้างเสรมิ และพฒั นาบุคลิกภาพภายนอกเป็นการพัฒนาบุคลกิ ภาพท่ี
สามารถสงั เกตได้ชัดหรอื สัมผสั ไดด้ ้วยประสาทสัมผสั ทั้ง 5 โดยพฒั นาปรับปรงุ ไดจ้ ากการแตง่ กาย กริยาทา่ ทาง
ในงานวิจัยนจ้ี ะเปน็ การพฒั นาปรบั ปรงุ ในเรอ่ื งของรูปรา่ งหนา้ ตาโดยใชว้ ธิ ีการแต่งหน้า

1.5 วิจยั เกี่ยวกับการสรา้ งบุคลิกภาพ
นายเกษมชัย บุญเพญ็ (2551) ไดท้ าการวจิ ัยเชงิ สารวจ เพื่อศกึ ษาบุคลกิ ภาพของนกั ศกึ ษา สาขา
วิศวกรรมเครือ่ งกล คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล โดยการปรบั ปรงุ
แบบสอบถามจากแบบทดสอบ 16 PF ( Sixteen Personality Test) ของเรย์มอนด์ บี แคทเทล (Raymond
B.Cattel) จากกล่มุ นักศึกษา 108 คน โดยเครื่องมือทีใ่ ชใ้ นการวิจัย คอื แบบสอบถาม แล้วนาขอ้ มูลมา
วเิ คราะห์โดยวิธีการคานวณหาคะแนนรวม เปอร์เซ็นตห์ รือค่าเฉล่ีย พบวา่
1. บุคลิกภาพของความเป็นครูนักศึกษาสาขาวิศวกรรมเคร่ืองกล จาแนกตามอายุ พบวา่ ดา้ นท่มี ี
ค่าเฉล่ียสงู สดุ คอื เปน็ คนจริงใจและเปดิ เผยไม่มีเล่ห์เหลยี่ ม
2. บคุ ลกิ ภาพของความเปน็ ครนู ักศึกษาสาขาวิศวกรรมเครื่องกล จาแนกตามอายุ พบวา่ นกั ศึกษาท่ีมี
อายแุ ตกตา่ งกนั จะมีบุคลิกภาพที่ต่างกัน กล่าวคือ นักศึกษาท่ีมอี ายุมากกว่า27ปจี ะมีความขอ้ี าย
มากกว่านักศึกษาอายุ 23-27 ปี
3. บคุ ลกิ ภาพความเป็นครูของนักศึกษา สาขาวิศวกรรมเคร่ืองกล จาแนกตามระดบั คะแนนเฉลยี่ พบวา่
นักศึกษาท่ีมีระดบั คะแนนตา่ กวา่ 2.00 มบี ุคลิกภาพเปน็ คนสารวม ไม่เขา้ สังคม มากกว่านักศึกษาท่ีมี
ระดับคะแนน 2.01-2.99
4. บุคลิกภาพของความเป็นครนู ักศึกษา สาขาวิศวกรรมเคร่ืองกล จาแนกตามชัน้ ปีที่จะศึกษา พบวา่
นกั ศกึ ษาแต่ละชั้นปีมบี คุ ลิกภาพแตกตา่ งกัน คือ นักศึกษาชั้นปีท่ี 1 เป็นคนสารวม ไมช่ อบเข้าสงั คม
มากกว่า นักศกึ ษาในชั้นปีท่ี 3

กลา้ หาญ ณ น่าน (2557) ได้วิจัยเกี่ยวกบั อทิ ธพิ ลของคุณลกั ษณะบุคลิกภาพ และความพึงพอใจทม่ี ี
ต่อการปรบั ตัวในการทางานของผู้เข้าสอบตลาดบัณฑิตใหม่ กลมุ่ ตัวอย่างท่ีใช้ในการวจิ ัย ไดแ้ ก่ บัณฑติ ใหม่ของ
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จานวนทง้ั สิน้ 345 คน โดยใช้แบบสอบถามทศั นคติ สถติ ทิ ี่ใช้ในการ
วเิ คราะหข์ ้อมูล ได้แกว่ เิ คราะห์สมการ โครงสร้าง ผลการวิจัยพบวา่ ปจั จยั ดา้ นบคุ ลิกภาพและความพึงพอใจ
ในงานมีอทิ ธิพลต่อปัจจยั ด้านการปรบั ตัวในการทางานอย่างมีนัยสาคญั ทางสถติ ซิ ่ึงปจั จยั ทง้ั หมดสามารถ

7

ทานายการปรบั ตัวในการทางานได้รอ้ ยละ 39 ตลอดจนผลการทดสอบสมการโครงสร้างทผ่ี ูว้ ิจัยสร้างข้นึ
มีความสอดคล้องกบั ข้อมูลเชิงประจกั ษ์ เปน็ อยา่ งดี ผลวจิ ยั สามารถใชเ้ ป็นข้อมลู สาหรับให้ผู้บริหารใช้ในการ
สนับสนนุ หรอื พฒั นาบุคลิกภาพและความพึงพอใจของบัณฑิตใหมใ่ หส้ ามารถปรับตัวในการทางานไดอ้ ย่างมี
ประสทิ ธิภาพสงู สุด

บษุ ยากร ตรี ะพฤติกุลชยั (2561) ได้ศกึ ษาการทาวจิ ัยการพัฒนาบุคลกิ ภาพนักสอื่ สารโดยใช้กิจกรรม
บทบาทสมมตแิ ละกจิ กรรมกลุ่มสัมพันธ์ มกี ลุ่มตัวอยา่ งเป็นนกั ศึกษานิเทศนศ์ าสตร์ จานวน 14 คน โดยใช้
เครอ่ื งมอื การวิจัยเป็นแบบประเมนิ บคุ ลิกภาพ ผลการวิจัยพบวา่ ค่าเฉลย่ี ระดับความคดิ เหน็ เกี่ยวกับ
คุณลกั ษณะของบุคลิกภาพนักส่อื สารก่อนทากจิ กรรมบทบาทสมมติและกจิ กรรมกลมุ่ สัมพันธ์อย่ใู นระดับ
ปานกลาง (3.19) และผลการศึกษาความคดิ เห็นของนักศึกษาหลงั การใชบ้ ทบาทสมมตแิ ละกิจกรรมกลุ่ม
สัมพันธอ์ ยู่ในระดับดีมาก (3.62)

อานนท์ นิ่มนวล (2559) ได้ศึกษาการทาวิจยั บุคลกิ ภาพครูทหารตามความคิดเหน็ ของนักเรียน
โรงเรยี นจ่าอากาศ กรมยุทธ์ศึกษาทหารอากาศ กองทัพอากาศ โดยการทดสอบดว้ ยค่าสถติ ิเอฟ และ
เปรยี บเทยี บรายคู่โดยการทดสอบวธิ ีแอลเอสดี กาหนดนัยสาคญั ทางสถิติที่ .05 ประชากรท่ใี ช้ในการศกึ ษา คือ
นักเรียนจา่ อากาศชน้ั ปที ่ี 1 จานวน 424 คน เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติท่ีใช้ คอื ค่าเฉลยี่
รอ้ ยละ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน การทดสอบของคา่ สถิติ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดยี ว
ผลการวิจัยพบว่า ความคิดเห็นของนักเรยี นต่อบคุ ลิกภาพของครทู หารโรงเรยี นจ่าอากาศ ในภาพรวมอยู่ใน
ระดบั ดีมาก ซึง่ เม่ือวิเคราะหเ์ ป็นรายดา้ น พบว่า ดา้ นทม่ี ีค่าเฉลี่ยสูงสดุ คือ บุคลิกภาพ รองลงมา คือคุณธรรม
จริยธรรม และวชิ าการ ตามลาดบั

พงศักดิ์ รุ่งสง และนฤมล ชมโฉม (2562) ได้ทาวิจัยเกยี่ วกับความสาเร็จของการฝกึ อบรมการพัฒนา
บคุ ลิกภาพ ซึ่งปรากฎในวารสาร “The ICBTS 2019 International Academic Research Conference in
London” ของประเทศองั กฤษ คณะผูว้ จิ ยั ได้ จดั โปรแกรมการฝกึ บุคลิกภาพในรปู แบบต่างๆ สารวจการมสี ว่ น
ร่วมจากโครงการพฒั นาการฝึกอบรมท่จี ัดทาโดยมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาในช่วงไตรมาสที่ 3 ของปี
2561 จานวน 100 คน ท่ีมาของงานวิจัยเพ่ือพัฒนาบุคลิกภาพนิสิตใหส้ ามารถแข่งขันไดใ้ นโลกาภิวัตน์ และใน
ตลาดอาเซียน เก็บรวบรวมข้อมลู โดยการสมั ภาษณ์ สอบถาม ผลการวิจยั พบว่าประโยชนท์ ีส่ าคญั ท่สี ุดของการ
พฒั นาบคุ ลกิ ภาพ อันดับแรกคอื "ทกั ษะการสือ่ สาร" อนั ดบั ทส่ี อง คือ“ ทกั ษะทางสังคมและผู้คน” อนั ดบั ที่
สาม คอื “ ทกั ษะการคิดเชงิ นวัตกรรม” อนั ดบั ท่ีสี่ คือ “ทักษะการบรกิ ารข้ันสูง” และอันดบั ท่ีห้า คือ “ทกั ษะ
ความเฉยี บแหลมทางธุรกจิ ” นกั ศกึ ษาส่วนใหญ่มรี ายงานการมสี ว่ นรว่ มในระดับสงู และมีความพึงพอใจในการ
อบรมพฒั นาบุคลกิ ภาพของมหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสุนนั ทาอย่ใู นระดบั มาก

พรชนก ถาวรสนั ตกิจ (2556) ได้ศึกษาการทาวจิ ยั ปจั จัยท่ีส่งผลตอ่ การพฒั นาบุคลิกภาพของอาชีพ
พยาบาลในโรงพยาบาลรฐั บาล เพ่ือให้ตอบสนองต่อความต้องการของผรู้ บั บริการ ให้มปี ระสิทธภิ าพในด้าน
การบรกิ าร และกระตนุ้ วฒั นธรรมในการทางาน ความรักงาน ความขยนั หมั่นเพียร ความคิดริเรมิ่ สรา้ งสรรค์

8

ความมรี ะเบียบวนิ ยั รบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ท่ี มีมนษุ ยส์ ัมพนั ธ์ และเข้าใจถงึ ปญั หาตา่ งๆ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจยั
ด้านองค์กร ด้านวฒั นธรรมการทางาน ดา้ นสภาพแวดล้อมทางสังคม ด้านการทางานเป็นทมี ด้านผู้บรกิ าร
ใหบ้ รกิ าร เพ่ือนร่วมงาน ผบู้ ังคบั บญั ชา มีผลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพภายนอก ภายใน และโดยรวมอย่างมี
นยั สาคญั ทางสถิติ

ณัฐชยา เจนจิรัฐิติกาล (2558) ได้ศึกษาการทาวิจัยการศึกษาบคุ ลิกภาพของพนักงาน และหวั หนา้ งาน
กับความสัมพนั ธ์ที่มตี ่อความสุขในการทางานของพนักงาน โดยประชากรท่ีใชใ้ นการศึกษาครง้ั นคี้ ือ พนักงาน
ในกลุ่มบรษิ ัทฯ แห่งหนง่ึ ในกรงุ เทพมหานครจานวน 213 คน ซงึ่ แบง่ ออกเปน็ 2 กลุ่ม คือ พนกั งานในระดับ
ปฏิบัติการ และระดบั หัวหน้างาน ในการศึกษาวจิ ัยครั้งนเี้ ป็นการศกึ ษาเชิงปรมิ าณ โดยใชส้ ถิตใิ นการทดสอบ
สมมุติฐานไดแ้ ก่ สถิติการหาค่าร้อยละ (Percentage) คา่ เฉล่ีย (Mean) การหาความสัมพันธโ์ ดยใช้การหาคา่
สมั ประสิทธิส์ หสมั พันธแ์ บบเพียร์สนั (Pearson product – moment correlation coefficient) และการ
วเิ คราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) จากการวจิ ยั พบวา่ ลักษณะบคุ ลิกภาพของพนักงาน
ทง้ั 8 ลักษณะไมม่ ีความสัมพันธต์ อ่ ความสขุ ในการท างานของพนักงาน อยา่ ง มนี ยั สาคัญทางสถิติทร่ี ะดับ .05
และ .01 และบุคลิกภาพของหัวหน้างานและบคุ ลกิ ภาพของพนักงานท่ีมีความคล้ายคลึงกนั มคี วามสัมพันธ์ต่อ
ความสุขใน การท างานของพนกั งานอย่างมีนยั ทางสถติ ทิ ี่ระดบั .05

1.6 จิตวิทยาและทฤษฎีบุคลิกภาพ
ศรีเรอื น แก้วกังวาล (2563) ,ยศ สันตสมบตั ิ (2550) อ้างถึงในประสิทธ์ิ พิมพ์เวยี งคา (2564) เกี่ยวกบั
จติ วิทยาและทฤษฎีบคุ ลกิ ภาพ พบว่า การศึกษาแนวคิดเกี่ยวกบั ทฤษฎีบุคลิกภาพมอี ยู่ 4 แนวคิดทส่ี าคัญ คอื
แนวคิดกล่มุ จิตวิเคราะห์ , แนวคิดกลุ่มพฤติกรรม , แนวคิดกลมุ่ มนษุ ยนิยม และลกั ษณะนิสยั (Trait theory)
1. แนวคดิ กลุ่มจิตวิเคราะห์
ซกิ มันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) ได้ศกึ ษาพฤติกรรมและบุคลิกภาพของมนุษย์ดว้ ยวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์ จากคนไขโ้ รคจิต โดยเขาเร่มิ มกี ารสังเกตและบนั ทึกพฤติกรรมโดยละเอียดและนามา
ศกึ ษา วิเคราะห์ ตคี วาม และตั้งเป็นกฎเกณฑ์และทฤษฎีจติ วิเคราะหข์ นึ้ มา
แนวคิดทีส่ าคัญ

1.1 จิตใตส้ านกึ จิตใต้สานกึ นมี้ กี ลไกทางจติ หลายประเภทด้วยกนั คือ แรงจงู ใจ อารมณ์ท่ี
ถูกเกบ็ กด ความรสู้ ึกนกึ คดิ ความฝัน ความทรงจา ฯลฯ พลังจิตใต้สานึกมีอิทธิพลเหนือจิตสานึกท่ี
กระตนุ้ เตือนใหป้ ฏิบัติพฤติกรรมประจาวนั ทัว่ ๆไป เปน็ แรงจงู ใจใหเ้ กิดพฤติกรรมไรเ้ หตุผล ดงั น้ัน
คนเราจงึ มคี วามแตกตา่ งกนั ในรปู พลงั จิตสานกึ และใตส้ านึก ฉะนัน้ คนแตล่ ะคนจึงมีบุคลกิ ภาพที่ไม่
เหมอื นกนั

1.2 ด้านโครงสร้างบคุ ลกิ ภาพ
1.2.1 Id เป็นพลงั งานทมี่ นุษยม์ ตี ั้งแต่เกดิ รวมท้งั สญั ชาตญาณ เกยี่ วกบั การตอบ
สนองความปรารถนาทางกายเพ่ือใหไ้ ด้มาซ่งึ ความพอใจ และไมค่ านึงถึง
เหตุผลตามความเป็นจริงหรอื ความถกู ต้อง ดงี าม

9

1.2.2 Ego เปน็ พลงั แหง่ การเรยี นรูแ้ ละเข้าใจ การใชเ้ หตุผล การรับรู้
ข้อเท็จจรงิ การดาเนนิ การเพื่อบรรลุเป้าหมาย การแสดงหาวิธีการ
ตอบสนอง พลงั Id

1.2.3 Super Ego เปน็ พลังที่เกดิ จากการเรยี นร้เู ชน่ เดยี วกับ Ego แตแ่ ตกต่าง
กันในสว่ นท่ีเก่ียวกับค่านิยมต่างๆ เช่น ความดี ความชัว่
ถกู ผิด ความยตุ ธิ รรมฯลฯ

1.3 ขนั้ ตอนการพัฒนาบคุ ลิกภาพ
1. ขั้นแสวงหาความสุขจากอวัยวะปาก (Oral Stage) เรมิ่ ตงั้ แต่คลอด – 18 เดือน
2. ข้ันแสวงหาความสุขจากอวยั วะทวารหนัก (Anal Stage) 18 เดอื น – 3 ปี
3. ขน้ั แสวงหาความสุขจากอวัยวะเพศปฐมภูมิ (Phallic Stage) 3 ปี – 6 ปี
4. ขน้ั แสวงหาความสุขจากสิ่งแวดลอ้ มรอบตัว(ิ Latency Stage) 6 ปี – 11 ปี
5. ขนั้ แสวงหาความสุขจากแรงกระตุน้ ของทุติยภูมทิ างเพศ (Gential Stage)
12 ป–ี 20 ปี

1.4 สญั ชาตญาณ
1. ฐติ สิ ัญชาตญาณ (Life Instinct) หรอื มงุ่ เปน็ คือ สญั ชาตญาณเพื่อเอาชวี ิต
รอดและการดารงพันธุ์ เชน่ ความหิว ความกระหาย แรงขบั ดนั ทางเพศ
2. ภังคสญั ชาตญาณ ( Death Instinct) หรอื มุง่ ตาย ลกั ษณะท่ีเด่นชัดของ
สัญชาตญาณนคี้ อื แรงกระตุน้ ให้ก้าวรา้ ว ทาลาย เปน็ ลกั ษณะความจริงทมี่ นุษย์
ยอมก้าวร้าวตอ่ ตวั เอง ซ่ึงในส่วนลึกของจิตใตส้ านกึ มนุษย์ปรารถนาจะตาย
มนุษยต์ ระหนกั ดวี า่ เป้าหมายสดุ ทา้ ยของชวี ิตกค็ ือความตาย

1.5 ความหวาดกังวล (Anxiety)
ความหวาดกังวลเป็นเรือ่ งท่ีมนษุ ย์หลีกเลี่ยงไปไม่พ้น เพราะความปรารถนาของ

มนษุ ยไ์ ม่ได้รับการตอบสนองสมใจเสมอไป
1.6. Ego และกลวิธานปอ้ งกนั ตวั (Defense Mechanism)

กลวิธานปอ้ งกนั ตัวเปน็ การปฏิเสธหรอื ปดิ บังอาพรางความเป็นจรงิ เป็นกลไกทาง
จิตใตส้ านกึ มากกว่า จติ สานึก ไดแ้ ก่

1. การเกบ็ กด (Repression) คอื การเกบ็ กดความไม่พอใจตา่ ง ๆ ไว้ในระดบั จิต
ใตส้ านกึ

2. การทาตนใหเ้ หมือน (Indentification) คอื การเลือกบุคคลบางคนเปน็ แบบ
เพ่ือทาตาม เชน่ เดก็ เลยี นแบบแมห่ รอื พ่อ

3. การทดแทน (Displacement) คือ การนาเอาสิง่ หนง่ึ มาทดแทนสิง่ ทปี่ รารถนา
แต่ไมส่ มหวงั ตั้งแต่เรื่องเล็กจนถึงเร่ืองใหญ่ การรู้จกั การทดแทนทาให้มนษุ ย์มี
ววิ ฒั นาการทางอารยะธรรม

10

4. การซัดทอดโทษผอู้ ่นื (Projection)
5. การแสดงปฏิกิริยาแกลง้ ทา (Reaction Formation)
6. การชะงักงนั ของการพัฒนา (Fixation)
2. แนวคดิ กลุม่ พฤติกรรม
สกินเนอร์ ( Burrhus Frederic Skinner ) ใหค้ วามสนใจกฎเกณฑ์การเสรมิ แรงท้งั ทางบวกและ
ทางลบ กระบวนการเสริมแรงเป็นพลังกระตนุ้ ที่ทาให้เกิดพฤติกรรมใหม่ ๆ หรอื ลบพฤติกรรมเกา่ ๆ หรือส่ังสม
ลกั ษณะพฤติกรรมใดๆ จนกลายเป็นลกั ษณะบุคลิกภาพประจาตัวของบุคคล นอกจากนี้ สกนิ เนอร์ได้
เสรมิ สรา้ งทฤษฎสี ่ิงเร้า – การตอบสนอง (S – R Theory) ใช้ในการแก้ปญั หาทางจติ วทิ ยาได้ได้อย่างสมบูรณ์
และเกิดประโยชน์ในวงการศึกษาและฝกึ ฝนพฤตกิ รรม พฤตกิ รรมท่ัวๆ ไปมี 2 ชนิด คอื
1. พฤติกรรมแบบถูกเรา้ ให้ทา คือ พฤติกรรมท่อี ยภู่ ายใต้การควบคมุ ของสง่ิ เรา้ โดยตรง
2. พฤตกิ รรมแบบลงมือกระทา เป็นพฤติกรรมทปี่ รากฏออกมาโดยการกระทาของรา่ งกาย
มากกว่าเกิดข้นึ เพราะถูกกระตุน้ โดยสงิ่ เร้า
สกนิ เนอร(์ Burrhus Frederic Skinner ) สนใจและเชื่อในเรอ่ื งของพฤติกรรมของมนุษย์
วา่ ส่วนมากเปน็ ไปในลักษณะแสดงอาการกระทาต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อจุดหมายบางอยา่ ง ซ่งึ นั่นคือ การเสรมิ แรง
– ตัวเสรมิ แรง (Reinforcement - Reinforcers) ลักษณะของการเสรมิ แรง เร่มิ จากการวางเงือ่ นไขแบบลง
มือกระทา การวางเงื่อนไขแบบลงมือกระทา มี 3 แบบ
1. การฝกึ แบบให้รางวลั
2. การฝึกแบบให้หลบหนี
3. การฝกึ แบบใหห้ ลกี เลีย่ ง
3. แนวคดิ กลุ่มมนุษยนยิ ม
อับราฮัม มาสโลว์ (Abraham Maslow) มีแนวคิดวา่ การศึกษามนุษย์อยา่ งท่องแทค้ วรศึกษา
จิตวิทยาจากบุคคลผ้มู ีสขุ ภาพจิตดี บุคลกิ ภาพมั่นคง ประสบความสาเรจ็ และมีความสุขในชีวติ เน่ืองจาก
แรงจงู ใจของพฤติกรรมมนุษย์ทุกรปู แบบเกิดจากแรงจูงใจของตวั เอง แรงจูงใจต่างกนั จึงทาให้บุคคลมี
บคุ ลกิ ภาพไมเ่ หมือนกนั
4. ลกั ษณะนสิ ัย (Trait theory)
เรมอน บี แคทเทลล์ (Raymond B. Cattell) เป็นนกั จิตวิทยาบคุ ลิกภาพ ผู้พยายามศึกษา
บุคลิกภาพอย่างมีระบบระเบียบดว้ ยวิธีการทางสถติ ิ ครอบคลมุ บคุ ลกิ ภาพปจั เจกชนและบคุ ลกิ ภาพประจา
สงั คมวัฒนธรรมตา่ งๆ แคทเทลล์ มีความเชอ่ื เชน่ เดยี วกบั อัลล์พอร์ทว่า ถ้าเรารูล้ ักษณะเทรทหลกั ๆ ของคนใด
คนหนึง่ แลว้ เรากส็ ามารถเข้าใจหรอื ทานายลักษณะนิสัยใจคอของบุคคลนัน้ ได้อย่างค่อนขา้ งแม่นยา
แคทเทลล์ เช่ือว่า ผลสรุปของทฤษฎแี ละหรอื ขอ้ คิดใด ๆ เกี่ยวกับบคุ ลิกภาพต้องได้มาจากการทาการ
วจิ ัยทีม่ ีกระบวนการรดั กุม มเี ครื่องมือวดั ทีเ่ ท่ยี งตรง ใชก้ ระบวนการทางสถติ ิท่ีซับซ้อนสาหรับวเิ คราะห์
ข้อมูล สาหรับเขาแลว้ วธิ กี ารทางสถิติสาหรับวิเคราะหบ์ คุ ลิกภาพที่แม่นยา คอื Multivariate statistics และ
การวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor analysis)

11

จากข้อมลู ขา้ งต้น สรปุ ได้ว่า จติ วทิ ยาและทฤษฎบี ุคลิกภาพ มีอยู่ 4 แนวคิด คอื แนวคิดกลมุ่ จิต
วเิ คราะห์ ซกิ มันด์ ฟรอยด์ ได้กล่าวว่า “จติ สานึกและจิตใต้สานึกของแต่ละคนเปน็ แรงจงู ใจให้เกิดพฤติกรรม
และบุคลิกภาพทีแ่ ตกตา่ งกันไปในแตล่ ะบุคคล” แนวคดิ กลุ่มพฤติกรรม สกินเนอร์ ใหค้ วามสนใจการเสรมิ แรง
ทั้งทางบวกและทางลบว่าเป็นกระบวนการทก่ี ระตนุ้ ใหเ้ กิดพฤติกรรมใหมๆ่ หรอื ลบพฤติกรรมเกา่ ๆ แล้วสัง่ สม
จนกลายเปน็ ลกั ษณะบุคลิกภาพประจาตวั ของบคุ คล แนวคิดกลุม่ มนุษยนิยม มาสโลว์ มแี นวคิดว่า บคุ คลจะมี
สขุ ภาพจิตดี บุคลิกภาพม่นั คง เกดิ จากแรงจูงใจของตวั เอง และแนวคดิ สุดท้าย คอื ลกั ษณะนสิ ยั กลา่ วคือ
ลกั ษณะนสิ ยั จะกล่นั เกลากลายเปน็ บุคลกิ ภาพทแ่ี สดงออกมา

2. การแตง่ หน้า

2.1 ความหมายของการแต่งหน้า
พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน (2554) ไดใ้ ห้ความหมายของคาว่า การ ไวว้ ่า งาน, สง่ิ หรอื เรอ่ื งท่ี
ทา และ ได้ใหค้ วามหมายของคาว่า แตง่ หน้า ไว้ว่า “การใช้เคร่อื งสาอางเสริมแต่งใบหนา้ ใหส้ วยขึน้ ”
จกั รพันธ์ มิสธุ า (2555) ได้ให้ความหมายไวว้ ่า การแตง่ หน้า หมายถงึ การใชเ้ คร่ืองสาอางประเภท
เสริมความงาม (Make up) แต่งแต้มบน ใบหน้าให้เกดิ สีสันและรูปแบบโดยความตง้ั ใจ ซึ่งอาศัยความรูแ้ ละ
ทกั ษะทางด้านศลิ ปะเพ่ือให้ เหมาะสมกบั ลกั ษณะใบหนา้ และบคุ ลิกของแตล่ ะบุคคล
ดังนั้นการแต่งหน้าจึงหมายถึง กระบวนการหรือวธิ ีการท่ีใชเ้ คร่อื งสาอางเสรมิ แตง่ ใบหน้าใหม้ ีความ
สวยงามมากข้ึน

2.2 ประโยชนข์ องการแตง่ หนา้
LOLITA (2558) กล่าวไวด้ ังนี้
1. ความสวยงาม
2. ปกปดิ รวิ้ รอย
3. ปอ้ งกนั แสงแดด
4. บารุงผวิ
5. เสริมความมน่ั ใจ
6. เสริมเสน่ห์ดงึ ดูด
7. ชว่ ยเสริมบคุ ลิกภาพ
จากข้อมูลขา้ งตน้ สรุปไดว้ า่ การแตง่ หนา้ ช่วยเสริมความงามภายนอก และเสริมความมน่ั ใจ และท่ีสาคัญ
ช่วยเสริมบคุ ลกิ ภาพ ซึง่ ในงานวจิ ัยนีจ้ ะใช้วธิ ีการแตง่ หน้าเพอ่ื ชว่ ยเสรมิ ให้เกิดบคุ ลิกภาพท่ดี ขี ้นึ

2.3 การสร้างเสรมิ บุคลิกภาพดว้ ยวิธกี ารแต่งหน้า
ปัจจบุ นั การเสรมิ สร้างบคุ ลิกภาพดว้ ยวธิ ีการแตง่ หน้าเปน็ ท่ีนิยมเป็นอยา่ งมาก จะเหน็ ได้จากมี
โครงการฝึกอบรมเรื่องดังกล่าวอย่างแพร่หลาย เชน่ โครงการฝกึ อบรมเชงิ ปฏิบัติการสาหรับอาจารยท์ ี่ปรึกษา
เร่ือง เทคนิคการแตง่ หน้าเพอื่ พัฒนาบุคลิกภาพของมหาวิทยาลัยรงั สิต

12

เนื่องจากคณะผจู้ ดั อบรมได้เห็นถงึ ความสาคัญวา่ “การแต่งหน้าอยา่ งสวยงามเหมาะสมกับสถานภาพ
บทบาท และโอกาส เปน็ ส่วนสาคัญอยา่ งหน่ึงท่ีช่วยส่งเสริมให้อาจารยส์ ภุ าพสตรมี บี ุคลิกภาพที่ดีขึ้น การ
แตง่ หนา้ อยา่ งถูกต้องตามหลักวธิ ีสามารถช่วยแก้ไข อาพรางจุดบกพร่องของผวิ หนา้ โครงสร้างรูปหน้า รวมท้ัง
เสริมจุดเด่นบนใบหนา้ ใหด้ ูนา่ สนใจ การเข้ามารว่ มฝึกอบรมเชิงปฏิบตั ิการเพื่อเรยี นร้เู กี่ยวกบั เทคนิคการ
แต่งหนา้ ในชวี ิตประจาวันและในโอกาสพิเศษต่างๆ จะชว่ ยให้อาจารยส์ ภุ าพสตรแี ต่ละท่านได้รู้จกั กับลักษณะ
โครงสร้างใบหน้าและผวิ หน้าของตนเอง ไดท้ ราบวา่ ตนเองเหมาะทีจ่ ะใช้เครื่องสาอางแบบไหน ตอ้ งมกี ารดูแล
สภาพผิวพรรณอยา่ งไร ทีส่ าคัญคอื ไดท้ ราบว่าควรใช้เทคนคิ วิธีการแตง่ หน้าอย่างไรจึงจะเสรมิ สรา้ งให้ตนเองมี
ความสวย มั่นใจ โดดเดน่ และเปน็ ทีป่ ระทับใจต่อผู้พบเหน็ ” จะเห็นไดว้ ่าบุคลากรทางการศึกษา โดยเฉพาะ
ครู อาจารย์ ไดเ้ หน็ ถึงความสาคญั ในสว่ นน้ีและได้พฒั นาบุคลิกภาพของตนดว้ ยวิธกี ารแต่งหน้า
(ศนู ย์เรียนรู้มหาวทิ ยาลยั รังสิต : 2557)

2.4 วิจยั การแต่งหน้าเพือ่ พัฒนาบุคลกิ ภาพ
จักรพนั ธ์ มสิ ธุ า (2555) ไดท้ าวจิ ัยเร่ือง บทบาทการใช้การแตง่ หนา้ เพื่อส่งเสรมิ ภาพลกั ษณ์
องค์กร โดยมีวัตถุประสงคใ์ นการศกึ ษาลักษณะการแตง่ หน้าท่สี ง่ เสรมิ บคุ ลกิ ภาพ และศึกษาบทบาทการ
แต่งหนา้ ต่อการส่งเสริมภาพลกั ษณ์ขององค์กร โดย ใช้กรอบแนวคิดเกย่ี วกบั การใช้องคป์ ระกอบทางศิลปะ
มาประยุกตใ์ ช้กับหลักการแต่งหน้าพ้ืนฐาน ร่วมกับแนวคิดด้านบคุ ลกิ ภาพ แนวคดิ ด้านการส่อื สารและแนวคิด
ด้านภาพลกั ษณ์ ได้ข้อมลู จากการสัมภาษณ์ผบู้ ริหารองคก์ รจานวน 3 ท่าน และจากแบบสอบถามกับบคุ ลากร
จาก 3 องคก์ ร จานวน 329 ราย ซง่ึ ได้ผลการศกึ ษาดงั นี้ “การแต่งหนา้ ที่เหมาะสมกบั บคุ ลิกภาพและ
ภาพลักษณ์ ขององค์กรมีส่วนช่วยสร้างความประทบั ใจ และจดจา รวมถงึ การระลึกถึงสิง่ ท่ีทาใหเ้ กดิ ความ
ประทับใจอันนาไปสคู่ วามสาเร็จขององค์กรได้”

รวิสรา ศรีชัย (2561) ไดท้ าวิจัยเกยี่ วกบั การพฒั นาการเรียนรกู้ ารแตง่ หน้าของโนราในชุมชนบ้าน
เกาะงุน-กระทงิ ตาบลทับช้าง อาเภอนาทวี จังหวดั สงขลา โดยรายละเอียดการทาวิจัย เนื่องจากในชุมชนบ้าน
เกาะงุน-กระทิง ได้มีการฝกึ ฝนการราโนราให้แกเ่ ด็กและเยาวชนในชมุ ชนที่มีอายุตัง้ แต่ 5-18 ปี พบวา่ กล่มุ
โนราไดป้ ระสบปญั หาเกย่ี วกบั การแตง่ หนา้ เน่ืองจากผปู้ กครองขาดความรู้ด้านทกั ษะการแตง่ หนา้ และ
อปุ กรณ์ทีใ่ ช้ในการแต่งหนา้ ทางผูจ้ ดั ทาวจิ ยั จงึ ไดจ้ ัดทาวิจยั เพื่อแกไ้ ขปัญหาดังกลา่ ว โดยใชว้ ธิ กี ารจดั
กระบวนการเรียนรู้การแต่งหน้า ผ่านการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติ มีข้นั ตอนการดาเนินการ ดังน้ี

1. จดั การเรยี นรเู้ ร่อื งเครอื่ งสาอาง อปุ กรณ์ และวิธีการแต่งหน้า
2. ฝึกปฏบิ ัติแต่งหน้า
3. ประเมนิ ความพึงพอใจ
ผลการดาเนนิ งาน พบวา่ ผูผ้ ่านการอบรมมีการพัฒนาการแตง่ หน้าท่ีดขี น้ึ รู้วธิ ีและเทคนคิ การ
แตง่ หนา้ รวมไปถึงสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ และจากการสารวจความพึงพอใจ พบว่ามรี ะดบั
ความพึงพอใจมากท่ีค่าเฉลยี่ ระดับ 4.6

13

กฤษดา ดาวแก้ว (2558) ไดศ้ ึกษากระบวนการความคิดสร้างสรรคเ์ พ่อื การส่ือสารศิลปะบนใบหน้า
และแนวคิดการสอ่ื สารศลิ ปะบนใบหน้าผา่ นสญั วทิ ยาของ วินิจ บุญชยั ศรี โดยใชก้ ารสังเกต (Observatin) และ
การสมั ภาษณเ์ ชิงลึก (In-depth Interview) เปน็ เคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมลู แล้วนาข้อมลู มาวเิ คราะห์
ผา่ นสญั วทิ ยา ผลการวจิ ยั พบวา่ การส่อื สารผ่านศลิ ปะบนใบหน้าของ วนิ จิ บญุ ชัยศรี มกี ารใช้กระบวนการ
ความคดิ สร้างสรรค์ ซ่ึงต้องมีการสรา้ งแรงบนั ดาลใจ มีการคิดวิเคราะหต์ ีโจทย์ของงานรวมถงึ ดึงเอกลกั ษณ์ของ
บุคคลนน้ั ๆ ออกมา โดยเรม่ิ ต้ังแต่ขั้นการวางแผน การคิดรเิ รม่ิ การเสนอไอเดีย จนไปถึงขั้นตอนปฏบิ ัตทิ ี่มกี าร
ออกแบบแต่งแตม้ สีสนั ให้เหมาะกบั งานนน้ั ๆอีกทัง้ ผลวจิ ัยน้ียังพบว่าการส่ือสารผา่ นศลิ ปะบนใบหนา้ ของ
วินิจ บญุ ชยั ศรี มกี ารสร้างสัญลักษณ์ในการแต่งหนา้ ที่สามารถสอ่ื ถึงความหมายออกมาได้ ตามแนวคิดของงาน
หรือความเหมาะสมในโอกาสน้ันๆ ท้งั นท้ี าใหผ้ ู้รบั สารหรือผ้พู บเหน็ สามารถเข้าใจงานหรอื เข้าใจถงึ ความรูส้ ึก
และอารมณท์ ี่ตอ้ งการส่ือออกมาได้งา่ ยยิ่งข้นึ

กฤษณ์ คานน รฐั พล ไชยรฐั น์ และศริ ชิ ยั ศริ ิกายะ (2563) ไดศ้ ึกษาการทาวจิ ยั การเปรียบเทยี บการ
แตง่ หน้าเพ่ือส่ือสารในงานพิธีต่างๆ ซงึ่ เป็นวจิ ยั เชงิ คุณภาพ ดาเนินการวิจยั โดยการเกบ็ ข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์
แบบเจาะลกึ และสงั เกตการณ์แบบมสี ่วนรว่ ม ผลการวิจยั พบวา่ วิธกี ารสรา้ งความหมายโดยการแต่งหนา้ ของผู้
ร่วมกิจกรรมในพธิ ีตา่ งๆ มีข้นั ตอนที่เหมือนกัน แตว่ ธิ ีการแต่งหนา้ แตกต่างกันไป โดยจะขนึ้ อยู่กับค่าใช้จ่ายและ
บทบาทหนา้ ท่ีในงานพธิ ีต่างๆ

Devina Narang (2013) ได้ศึกษาถึงปจั จัยทางจิตวิทยาที่มีผลตอ่ การแตง่ หน้าและการรับร้แู ต่งหน้าใน
สถานการณ์ทแี่ ตกต่างกัน โดยอธบิ ายว่า ผูห้ ญงิ อเมริกนั 44 % รู้สึกอึดอัดทตี่ ้องออกจากบ้านโดยไม่ได้แต่งหนา้
ไม่ว่าจะไปโรงยมิ โรงภาพยนตร์ โรงเรียน ที่ทางาน หรอื ชายหาด คนในกลุ่มน้ีมักจะคดิ ว่าตนเองไม่สวยถ้าไมไ่ ด้
แต่งหนา้ งานวจิ ัยนมี้ วี ตั ถุประสงค์เพ่ือศึกษาวา่ การแต่งหนา้ มีอิทธิพลต่อบุคคลอ่นื ที่มองบุคลกิ ภาพของตัวเรา
อย่างไร โดยการวิจยั นี้พบว่า คนท่ีไม่ได้แต่งหน้าจะมคี วามม่ันใจในตัวเองตา่ และเกิดความวติ กกงั วลเป็นผลทา
ใหต้ อ้ งใชเ้ ครอ่ื งสาอางมากขน้ึ และบคุ คลอ่นื จะมองคนที่แต่งหน้าแลว้ เกดิ ความมั่นใจ เกดิ อิทธิพลต่อการ
ทางาน อารมณ์

Keiko Tagai,Hitomi Ohtaka,and Hiroshi Nittono (2016) ได้ศกึ ษาวา่ การแต่งหนา้ แบบบางเบา
และการแต่งหน้าแบบหนัก ๆ มีผลต่อการจัดอนั ดบั ความน่าดงึ ดูดและการจดจาใบหนา้ อย่างไร ในงานจัด
อันดับผู้หญิงญ่ปี ่นุ 38 คนได้จัดอันดบั ความน่าดงึ ดูดใจใหก้ ับใบหนา้ ของผ้หู ญิงญีป่ ่นุ 36 คนที่ไม่มเี ครื่องสาอาง
แต่งหน้าบางเบาและแต่งหนา้ หนัก (12 คน) ในภารกิจการรับร้ทู ่ตี ามมาผูเ้ ขา้ รว่ มจะถกู นาเสนอด้วยใบหน้าเก่า
36 คนและหน้าใหม่ 36 คน ผลการวจิ ยั พบวา่ ความดงึ ดูดใจไดร้ ับการจัดอันดับสงู สดุ สาหรับใบหนา้ ท่ีแตง่ หน้า
แบบบางเบาและต่าทสี่ ดุ สาหรับใบหนา้ ที่ไมม่ ีการแต่งหนา้ ในทางตรงกนั ข้ามประสิทธภิ าพในการจดจาจะสูง
กว่าสาหรบั ใบหนา้ ทไ่ี ม่มีการแตง่ หน้าและการแตง่ หนา้ แบบบางเบามากกวา่ ใบหนา้ ที่แต่งหนา้ หนกั ใบหน้าทม่ี ี
การแต่งหนา้ อยา่ งหนักทาให้เกิดการจดจาทีผ่ ิดพลาดมากกว่าใบหน้าอ่นื ๆ อาจเป็นเพราะการแตง่ หนา้ แบบ
หนัก ๆ จะสรา้ งความประทับใจให้กับสไตล์การแตง่ หนา้ ของตัวเองมากกวา่ การท่ีแตล่ ะคนแต่งหน้า การศึกษา
ในปจั จบุ ันชใ้ี ห้เหน็ ว่าการแต่งหน้าแบบเบาบางควรเลอื กใช้การแต่งหนา้ แบบหนกั ๆ โดยท่ีการแต่งหน้าแบบ
บางเบานน้ั ไม่รบกวนการจดจาของแต่ละบุคคล

14

Tejal, Nishad, Amisha, Umesh, Desai, and Bansal (2015) ไดศ้ ึกษาเกีย่ วกับเครอ่ื งสาอางและ
สขุ ภาพ: การใช้งานการรับรู้และการรบั รโู้ ดยการศกึ ษาได้ดาเนินการสุม่ เลอื ก 500 คนผ่านการสุม่ ตวั อย่างตาม
ความสะดวกผู้เข้ารว่ มท้ังหมดถูกสมั ภาษณ์เป็นการสว่ นตัวโดยใช้แบบสอบถามท่ีมโี ครงสรา้ ง ผลการศกึ ษา
พบวา่ ประชากรประมาณ 73% ใช้เคร่ืองสาอางเพื่อการปกปดิ จุดบกพร่องของใบหน้า ในขณะท่มี ีเพยี ง 37% ท่ี
ใช้เพ่ือให้น่าสนใจดึงดดู และ 19% สาหรับแฟชั่น เท่าน้นั และยังพบว่าความนิยมโดยรวมของการใช้
เครื่องสาอางและใชผ้ ลติ ภัณฑ์เสรมิ ความงามมีแนวโนม้ เพ่ิมขึน้ ทั้งในผชู้ ายและผู้หญงิ แต่ความตระหนักในการ
พิจารณาการใชเ้ ครื่องสาอางท่ีปลอดภยั นั้นไม่ได้มอี ย่ใู นวงกวา้ งนอกจากนีย้ งั มีการใช้บริการเคร่ืองสาอางอ่นื ๆ
เช่นการเข้าพบผู้เช่ียวชาญด้านผวิ หนังการใชค้ อนแทคเลนสก์ ็เพิม่ ข้นึ อยา่ งชา้ ๆ

Dong Guo and Terence Sim (2017) ไดศ้ ึกษาวิธกี ารแต่งหน้าดว้ ยภาพตวั อย่างตามสไตล์
ที่ หลากหลาย มแี นวทางคลา้ ยคลึงกับการแตง่ หน้าทางกายภาพในแต่ปรับเปลี่ยนรายละเอียดของสแี ละผิว
ทีร่ กั ษาโครงสร้างใบหน้าเดมิ ข้อไดเ้ ปรยี บทส่ี าคัญอย่างหน่ึงของวิธกี ารท่ีเสนออยูท่ ีว่ ่าจะต้องมภี าพตวั อยา่ ง
เพยี งภาพเดยี ว ทาให้การแตง่ หน้าสะดวกและใชง้ านได้จริงสงิ่ น้ที าให้เกดิ แอพพลเิ คช่นั ที่น่าสนใจเพมิ่ เติมเช่น
การแตง่ หนา้ ตามภาพบุคคล ผลการทดลองแสดงใหเ้ หน็ ถึงประสทิ ธิภาพของส่งิ ทีเ่ สนอแนวทางในการถ่ายทอด
การแต่งหนา้ อย่างซื่อสตั ยม์ ีแนวคดิ หลักที่เรยี บง่าย แต่ทรงพลัง

James Hebden, Edward P. Herbst, Jenny Tang, Giorgio Topa, and Fabian Winkler
(2020) ไดศ้ ึกษาความแข็งแกร่งของเศรษฐกจิ และกลยุทธก์ ารแตง่ หน้าทีเ่ พอื่ ทางเลือกทส่ี าคัญ โดยการ
วเิ คราะห์ความแข็งแกรง่ ของกลยทุ ธ์การแต่งหนา้ กบั สกู่ ารสรา้ งแบบจาลองทางเลือกสมมติฐานโดยเนน้ ท่ี
บทบาทของการคาดการณ์เงินเฟอ้ เพ่ือสารวจหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์เกี่ยวกับพฤติกรรมของอัตราเงินเฟอ้ ในระยะ
สั้นและระยะยาวความคาดหวังและใช้การจาลองจากแบบจาลองเศรษฐกจิ มหาภาคของ FRB / US พบว่ากล
ยทุ ธก์ ารแต่งหน้าสามารถชดเชยผลรา้ ยท่แี ท้จรงิ ได้ในระดับปานกลางผลกระทบทางเศรษฐกิจแมว้ า่ ประชาชน
สว่ นใหญ่จะไมร่ ูเ้ กยี่ วกบั เรื่องนก้ี ็ตาม อีกประการคือกลยุทธก์ ารแต่งหน้าจะทางานไดด้ ที ่ีสดุ เม่ือประชาชนเขา้ ใจ
เชือ่ และตอบสนอง

15

บทท่ี 3
วิธดี าเนินการวจิ ยั

การวจิ ัยน้ีเป็นการวจิ ัยเชงิ ทดลอง โดยใช้รูปแบบการวิจยั แบบกลุ่มเดียว วดั ก่อนและหลงั (one group
pretest-posttest design) ซง่ึ มีรายละเอยี ดดงั น้ี

แบบแผนการวิจยั

E O1 X O2

โดยท่ี E หมายถึง นสิ ติ ผูห้ ญงิ ชน้ั ปีท่ี 4 เอกการประถมศึกษา
ท่ีตอ้ งการพฒั นาบุคลิกภาพของตนเอง จานวน 10 คน
X
O1 หมายถงึ การแตง่ หนา้
O2 หมายถงึ การประเมินก่อนการพัฒนาบุคลิกภาพ
หมายถึง การประเมินหลงั การพัฒนาบุคลิกภาพโดยวธิ ีการแตง่ หนา้

กลุ่มเป้าหมาย
นิสิตผูห้ ญิงชัน้ ปีที่ 4 เอกการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ

ประจาปีการศกึ ษา 2563 ท่ตี ้องการพัฒนาบุคลกิ ภาพของตนเอง จานวน 5 คน

เครอ่ื งมอื วิจยั
1. เครือ่ งมือท่ีใช้ในการทดลอง
แบบเรียนออนไลน์พัฒนาบคุ ลกิ ภาพโดยวิธีการแตง่ หน้า จานวน 3 คร้งั ประกอบไปดว้ ย
1. ประเมนิ บคุ ลิกภาพของกลมุ่ เปา้ หมาย และแนะนาเครอ่ื งสาอางเครื่องสาอางเบื้องตน้
2. สอนการบารุงและปรับผวิ หนา้ การแต่งตา ควิ้ ปาก แก้มอย่างง่าย
3. ประเมินหลังการพฒั นาบุคลกิ ภาพโดยวิธกี ารแต่งหน้า
ข้นั ตอนการสรา้ งและตรวจสอบคณุ ภาพของเคร่ืองมือ
1. ศึกษาขอ้ มลู ท่ีเกย่ี วขอ้ งกับการพฒั นาบุคลกิ ภาพโดยวธิ ีการแต่งหนา้
2. ออกแบบ แบบเรยี นออนไลน์การพัฒนาบุคลกิ ภาพโดยวิธกี ารแตง่ หน้า ซึ่งใชร้ ปู แบบเปน็ การ
สอนออนไลนผ์ า่ นแอพลิเคชั่น ZOOM ทงั้ หมด 3 ครงั้ (รายละเอยี ด ดงั ภาคผนวก ข)
3. นาแบบเรียนออนไลน์เสนอต่อผูเ้ ชย่ี วชาญตรวจ 3 ท่าน ประกอบดว้ ย ผู้เช่ยี วชาญดา้ นเน้ือหา
2 ท่าน และผ้เู ช่ียวชาญด้านเครื่องมือ 1 ท่าน เพ่ือตรวจสอบความเหมาะสมและความถูกตอ้ ง
ของเน้ือหาและกิจกรรมโดยใช้หลักเกณฑ์การให้คะแนนตามแบบประเมินมาตราส่วน
ประมาณค่า 5 ระดบั มเี กณฑก์ ารให้คะแนนดังน้ี

16

ใหค้ ะแนน 5 คะแนน คอื เหมาะสมมากท่ีสุด

ให้คะแนน 4 คะแนน คือ เหมาะสมมาก

ใหค้ ะแนน 3 คะแนน คอื เหมาะสมปานกลาง

ให้คะแนน 2 คะแนน คอื เหมาะสมน้อย

ใหค้ ะแนน 1 คะแนน คอื เหมาะสมน้อยทส่ี ดุ

(รายละเอียด ดงั ภาคผนวก ข )

4. นาขอ้ มลู ท่ไี ด้รับการตรวจสอบความเหมาะสมและความถูกต้องของเนือ้ หาและกจิ กรรม

จากผู้เชีย่ วชาญท้ัง 3 มาแปลความหมายของคะแนนเฉลย่ี เป็นรายข้อ

แปลความหมายของคะแนนเฉลี่ย ดงั นี้

ค่าเฉลี่ยระหวา่ ง 4.50 – 5.00 หมายถึง มคี วามเหมาะสมมากทสี่ ดุ

ค่าเฉลย่ี ระหว่าง 3.50 – 4.49 หมายถึง มคี วามเหมาะสมมาก

ค่าเฉลย่ี ระหวา่ ง 2.50 – 3.49 หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง

ค่าเฉลย่ี ระหวา่ ง 1.50 – 2.49 หมายถึง มคี วามเหมาะสมน้อย

ค่าเฉลี่ยระหวา่ ง 1.00 – 1.49 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อยทส่ี ุด

การพิจารณาความสอดคล้องของแบบเรยี นออนไลน์ว่าเหมาะสมทีจ่ ะนาไปใช้ในการจดั การเรยี นรู้น้ัน

คะแนนเฉลย่ี จะต้องมีคา่ คะแนนเฉลยี่ ต้งั แต่ 3.50 – 5.00 ทกุ ข้อ แบบเรียนออนไลน์พฒั นาบคุ ลกิ ภาพโดยใช้

วธิ ีการแตง่ หน้ามคี ่าเฉลยี่ ตั้งแต่ 4.00 – 5.00 ดงั น้ันแผนการจัดการเรียนรูจ้ ึงสามารถนาไปใช้ได้

(รายละเอียด ดงั ภาคผนวก ข )

5. แกไ้ ขและพฒั นาแบบเรียนออนไลน์การพัฒนาบุคลกิ ภาพโดยวิธีการแต่งหนา้ ตามคาแนะนา

ของผูเ้ ชี่ยวชาญ

6. นาแบบเรียนออนไลน์การพฒั นาบคุ ลกิ ภาพโดยวธิ ีการแต่งหนา้ ไปใช้กบั กลมุ่ เปา้ หมาย

(รายละเอยี ด ดังภาคผนวก ข )

2. เครือ่ งมือท่ใี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล

แบบประเมินบุคลกิ ภาพนาไปใช้เพ่ือประเมนิ ความพึงพอใจกอ่ นการพัฒนาบุคลกิ ภาพและ

หลงั การพฒั นาบุคลกิ ภาพโดยวธิ กี ารแตง่ หนา้ มลี ักษณะเป็นแบบประเมินความพงึ พอใจ 5 ระดบั โดย

แตล่ ะข้อจะกาหนดข้อละ 1-5 คะแนน ตามระดับความพึงพอใจ ประกอบดว้ ย

1 คอื ระดับความพอใจน้อยท่ีสดุ เท่ากับ 1 คะแนน

2 คอื ระดับความพอใจน้อย เทา่ กับ 2 คะแนน

3 คือ ระดับความพอใจปานกลาง เท่ากบั 3 คะแนน

4 คอื ระดับความพอใจมาก เทา่ กับ 4 คะแนน

5 คือ ระดับพอใจมากท่ีสดุ เท่ากับ 5 คะแนน

17

ขน้ั ตอนการสรา้ งและตรวจสอบคณุ ภาพของเครื่องมือ
1. ศึกษาข้อมลู ท่ีเกยี่ วขอ้ งกับการพัฒนาบุคลิกภาพโดยวิธกี ารแตง่ หน้า
2. ศกึ ษาคาท่ีแสดงออกถงึ การมีบคุ ลกิ ภาพและอืน่ ๆทเ่ี ก่ยี วขอ้ งเพื่อสรุปเป็นขอ้ มูลทีส่ อดคล้อง
กับเร่ืองท่วี ิจยั
3. ออกแบบแบบประเมนิ บคุ ลิกภาพกอ่ นและหลงั การใชว้ ิธีการแต่งหน้าตามขอ้ มลู คาที่ได้ศึกษา
ในข้อ 2 (รายละเอียด ดงั ภาคผนวก ค )
4. นาแบบประเมินไปให้ผู้เช่ยี วชาญพิจารณาความเท่ียงตรงเชิงเนอื้ หาและวัตถุประสงคเ์ พอื่ เปน็
แนวทางในการปรับปรุงและคัดเลอื กข้อคาถาม ซง่ึ มขี ้อคาถามจานวน 10 ข้อ เสนอต่อ
ผู้เช่ียวชาญตรวจ 3 ท่าน ประกอบด้วย ผู้เช่ยี วชาญด้านเน้อื หา 2 ทา่ น และผเู้ ชยี่ วชาญด้าน
เคร่อื งมอื 1 ท่าน เพื่อตรวจสอบความเทยี่ งตรงเชิงเนื้อหาและวตั ถปุ ระสงค์ ใช้เกณฑก์ ารให้
คะแนนค่าความเท่ยี งตรงเชิงเนื้อหาของข้อคาถาม ดงั นี้
+ 1 หมายถึง ท่านมีความคดิ เห็นวา่ ขอ้ คาถามมคี วามสอดคล้องกับเน้ือหาและระดับ
พฤติกรรมทต่ี ้องการจะวัด
0 หมายถงึ ทา่ นมีความคดิ เหน็ วา่ ขอ้ คาถามไม่มีความชดั เจนกับเนอ้ื หาและระดับ
พฤติกรรมทตี่ ้องการจะวดั
- 1 หมายถึง ท่านมคี วามคิดเหน็ วา่ ข้อวามไมม่ ีความสอดคลอ้ งกับเนื้อหาและระดับ
พฤติกรรมทต่ี ้องการจะวัด
(รายละเอียด ดังภาคผนวก ค )
5. นาขอ้ มลู ที่ได้รับการพจิ ารณาความเทย่ี งตรงเชิงเนื้อหา จากผ้เู ชย่ี วชาญทง้ั 3 ท่านมา
ตรวจสอบความเทย่ี งตรงเชิงเน้ือหาโดยใชด้ ชั นคี วามสอดคล้องระหวา่ งข้อคาถามและ
วตั ถุประสงค์ (IOC) โดยนาคะแนนจากผูเ้ ช่ียวชาญแต่ละคนมาเขียนในตารางแล้วคานวณ
ดว้ ยสูตรความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหา โดยกาหนดให้แตล่ ะข้อมีค่าความเทยี่ งตรง 0.50 ขึ้นไปจึง
จะนาไปใชไ้ ด้ ซงึ่ ผลที่ไดค้ ือ มีขอ้ คาถามท่ีสอดคลอ้ งกับเนื้อหา สามารถนาไปใช้ได้ 9 ขอ้
และ ข้อคาถามท่ีไมส่ อดคลอ้ งกบั เน้อื หา ไมส่ ามารถนาไปใชไ้ ด้ 1 ข้อ
(รายละเอยี ด ดังภาคผนวก ค )
6. แกไ้ ขและพัฒนาแบบประเมินบุคลกิ ภาพกอ่ นและหลงั การใชว้ ธิ ีการแตง่ หน้าตามคาแนะนา
ของผเู้ ชย่ี วชาญ ซ่ึงข้อคาถามทนี่ าไปใช้ไดม้ ีทั้งหมด 9 ขอ้ รวมคะแนนทัง้ หมด 45 คะแนน
7. นาแบบประเมนิ การพัฒนาบคุ ลิกภาพก่อนและหลังการใช้วิธีการแต่งหน้าไปใชก้ บั
กลุม่ เปา้ หมายในแอพพลเิ คช่ัน ZOOM (รายละเอยี ด ดังภาคผนวก ค )

วิธดี าเนนิ การทดลอง
1. กาหนดกลุม่ เป้าหมาย คือ นิสติ ผหู้ ญงิ ชั้นปีท่ี 4 เอกการประถมศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒประจาปกี ารศกึ ษา 2563 ท่ีตอ้ งการพัฒนาบุคลกิ ภาพของตนเอง
จานวน 5 คน

18

2. พบปะพดู คุยกับกลุ่มเป้าหมายผ่านแอพพลิเคชนั่ Zoom และเรม่ิ สอนแบบเรยี นออนไลน์พฒั นา
บุคลกิ ภาพโดยวธิ กี ารแตง่ หน้า คร้งั ที่ 1 คือ ประเมนิ บคุ ลิกภาพของกลมุ่ เป้าหมาย และแนะนา
เคร่ืองสาอางเบ้ืองตน้ (รายละเอยี ด ดงั ภาคผนวก ง )

3. สอนแบบเรียนออนไลน์พฒั นาบุคลกิ ภาพโดยวิธีการแต่งหน้า ครั้งท่ี 2 คือ สอนการบารุงผวิ หน้าและ
ปรับผิวหน้า การแต่งตา ค้วิ ปาก และแกม้ อยา่ งง่าย (รายละเอยี ด ดังภาคผนวก ง )

4. สอนแบบเรยี นออนไลน์พัฒนาบคุ ลกิ ภาพโดยวธิ ีการแต่งหนา้ ครัง้ ท่ี 3 คือ ใหก้ ล่มุ เป้าหมายแตง่ หนา้
ตามที่ไดร้ บั การสอนในครัง้ ที่ 2 เพ่อื ประเมนิ ผลหลงั การเรยี น (รายละเอียด ดังภาคผนวก ง )

5. นาผลการประเมนิ มาวเิ คราะหแ์ ละสรุปผล (รายละเอยี ด ดังภาคผนวก จ และภาคผนวก ฉ
ตามลาดบั )

การวเิ คราะห์ข้อมลู
การวิเคราะห์บุคลิกภาพก่อนและหลงั การใช้วิธีการแต่งหน้า โดยใช้ คา่ เฉลี่ย และสว่ นเบย่ี งเบน

มาตรฐาน ผา่ นโปรแกรมสาเรจ็ รูป SPSS วเิ คราะหแ์ บบ Paired Samples Test
การวิเคราะหบ์ ุคลกิ ภาพก่อนและหลงั การใชว้ ิธีการแต่งหน้าเป็นรายบุคคลโดยใช้ คะแนนเพมิ่

สมั พทั ธ์

สถติ ทิ ี่ใชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมลู
1.หาคา่ คะแนนเฉลยี่

̅ = ∑



เมือ่ x แทน ค่าเฉลย่ี ของคะแนน

แทน ผลรวมทงั้ หมดของคะแนน
N แทน จานวนนกั เรียนในกลุ่มตัวอยา่ ง

2. ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

S.D. = √∑( − ̅)2 สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานของกลุ่มเปา้ หมาย
ขอ้ มูลแต่ละตวั

ค่าเฉล่ียของกลุ่มตัวอยา่ ง
เม่ือ S.D. แทน จานวนข้อมลู ทั้งหมด
x แทน

แทน
N แทน

19

3. ดชั นคี า่ ความเทีย่ งตรง

IOC =



เม่ือ IOC แทน คา่ ดชั นีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามและนยิ ามศัพท์เฉพาะ
R แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเหน็ ของผเู้ ชยี่ วชาญ
N แทน จานวนผู้เชีย่ วชาญ

ค่า IOC > 0.50 ข้อคาถามนน้ั มคี วามเที่ยงตรงเชงิ เน้ือหาสามารถนาไปใช้ได้
คา่ IOC < 0.50 ขอ้ คาถามนั้นไม่มคี วามเทย่ี งตรงเชงิ เนือ้ หาควรตดั ท้ิงหรือปรับปรงุ

4. คะแนนเพ่มิ สมั พัทธ์
100( − )

= −
เมือ่ S = คะแนนเพม่ิ สัมพัทธ์

F = คะแนนเต็มของการวดั ทง้ั คร้งั แรกและครั้งหลงั
X = คะแนนการวดั ครงั้ แรก
Y = คะแนนการวัดครง้ั หลงั

20

บทที่ 4
ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู

การวจิ ัยน้ีมคี วามมุ่งหมายเพ่ือเปรียบเทียบบุคลกิ ภาพของนสิ ิตก่อนและหลังใช้วธิ กี ารแตง่ หนา้
ผู้วิจัยขอนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือตอบตามความมุ่งหมายของการวิจั ยโดยแบ่งการนาเสนอออกเป็น
4 ตอน ดังนี้

ตอนท่ี 1 สญั ลกั ษณท์ ใ่ี ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมลู
ตอนท่ี 2 คา่ สถิติพื้นฐานของคะแนนบุคลิกภาพก่อนและหลังการใช้วธิ ีการแตง่ หน้า
ตอนท่ี 3 ผลการเปรียบเทียบบุคลกิ ภาพก่อนและหลังการใช้วธิ กี ารแตง่ หน้า
ตอนที่ 4 ผลการวิเคราะหค์ ะแนนเพิ่มสมั พทั ธ์ของบุคลกิ ภาพก่อนและหลงั การใช้วธิ ีการแตง่ หน้า

เป็นรายบคุ คล

ตอนที่ 1 สัญลกั ษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะหข์ ้อมลู
N แทน จานวนคนในกลุม่ ตัวอยา่ ง
̅ แทน คะแนนเฉลย่ี (Mean)
SD แทน สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน
t แทน สถติ ทิ ใ่ี ช้ในการวิเคราะห์การแจกแจงแบบที (t-distribution)
* แทน มีนัยสาคญั ทางสถิติท่ีระดับ .05

ตอนที่ 2 ค่าสถิตพิ น้ื ฐานของคะแนนบุคลกิ ภาพกอ่ นและหลังการใช้วิธกี ารแต่งหน้า

ตารางท่ี 4.1 คา่ สถติ พิ นื้ ฐานของคะแนนบุคลกิ ภาพก่อนและหลงั การใชว้ ธิ กี ารแต่งหน้า (N=5)

คะแนนบุคลกิ ภาพ คะแนนเตม็ คา่ เฉล่ีย คะแนนต่าสดุ คะแนนสูงสดุ สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน

กอ่ นใชว้ ิธกี ารแตง่ หน้า 45 32.20 23 40 7.396

หลงั ใช้วิธกี ารแต่งหนา้ 45 42.80 40 45 2.588

จากตาราง 4.1 พบวา่ คะแนนก่อนการใช้วิธกี ารแต่งหนา้ มีคะแนนต่าสดุ คือ 23 คะแนน มีคะแนน
สงู สุด คอื 40 คะแนน มีคา่ เฉลยี่ 32.20 คะแนน โดยคะแนนมกี ารกระจายออกจากค่าเฉล่ยี ประมาณ 2.588
คะแนน สว่ นคะแนนหลังการใชว้ ธิ ีการแต่งหน้า มีคะแนนต่าสดุ คือ 40 คะแนน มีคะแนนสงู สุด คือ
45 คะแนน มคี ่าเฉลยี่ 42.80 คะแนน โดยคะแนนมีการกระจายออกจากค่าเฉลยี่ ประมาณ 7.396 คะแนน

ตอนท่ี 3 ผลการเปรยี บเทียบบคุ ลิกภาพกอ่ นและหลงั การใช้วิธีการแต่งหนา้
ผู้วิจัยดาเนินการทดลองตามแผนการทดลองตามแบบแผน One-group Pre-test Post-test

design ข้อมูลทไ่ี ดส้ ามารถแสดงค่าสถิติ โดยจาแนกตามตัวแปรท่ศี กึ ษา นาเสนอผลการวเิ คราะห์ดงั ตาราง

21

ตารางท่ี 4.2 ผลการเปรยี บเทียบบุคลิกภาพก่อนและหลังการใชว้ ธิ กี ารแตง่ หน้า
คะแนนบุคลิกภาพ N ̅ SD t df Sig.
ก่อนใช้วิธีการแต่งหน้า 5 32.20 7.396 4.417 4 .012

หลังใช้วธิ กี ารแต่งหนา้ 5 42.80 2.588

* p < .05
จากตารางที่ 4.2 พบว่าคะแนนเฉลี่ยของบุคลิกภาพหลังใช้วธิ กี ารแต่งหนา้ มคี ่าเท่ากับ 42.80 คะแนน
สงู กวา่ คะแนนเฉลยี่ ของบคุ ลิกภาพก่อนใช้วธิ กี ารแต่งหน้า ซึ่งมีคา่ เท่ากับ 32.20 คะแนน อยู่ 10.6 คะแนน
จากการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลยี่ ระหว่างคะแนนเฉล่ยี ของบุคลกิ ภาพหลังใช้วิธีการแตง่ หนา้ กับ
คะแนนเฉลยี่ ของบคุ ลิกภาพก่อนใชว้ ธิ ีการแต่งหนา้ ด้วยสถติ ิทดสอบค่าทไี ด้คา่ t เทา่ กบั 4.417 มนี ัยสาคัญทาง
สถิตทิ ่รี ะดับ .05 (ค่า sig เท่ากับ .012 ซง่ึ น้อยกว่า .05) หมายความว่า หลงั ใชว้ ธิ ีการแต่งหนา้ กลุ่มเป้าหมาย
มีบุคลิกภาพสงู กว่าก่อนใช้วธิ ีการแตง่ หน้าอย่างมีนัยสาคญั ทางสถติ ิ

ตอนที่ 4 ผลการวเิ คราะหค์ ะแนนเพมิ่ สมั พัทธ์ของบุคลิกภาพกอ่ นและหลังการใชว้ ธิ ีการแตง่ หน้าเป็น
รายบุคคล
ตารางที่ 4.3 ผลการวเิ คราะห์คะแนนเพม่ิ สัมพทั ธข์ องบุคลิกภาพก่อนและหลงั ใช้วิธีการแต่งหน้า

กลมุ่ เป้าหมาย คะแนนบคุ ลิกภาพ คะแนนเพ่ิมสมั พทั ธ์

กอ่ นแต่งหน้า หลังแต่งหน้า

คนที่ 1 27 40 100(40−27) = 1300 72.22

45−27 18

คนท่ี 2 39 44 100(44−39) = 500 83.33

45−39 6

คนที่ 3 32 45 100(45−32) = 1300 100.00

45−32 13

คนท่ี 4 40 45 100(45−40) = 500 100.00

45−40 5

คนที่ 5 23 40 100(40−23) = 1700 77.27

45−23 22

จากตารางที่ 4.3 พบว่าคะแนนเพ่ิมสัมพัทธข์ องบคุ ลิกภาพก่อนและหลังใชว้ ิธกี ารแต่งหน้ามากท่ีสดุ

เท่ากบั 100.00 คือ กลมุ่ เป้าหมายคนท่ี 3 และคนท่ี 4 คะแนนเพิม่ สมั พัทธข์ องบุคลกิ ภาพก่อนและหลังใช้
วิธีการแต่งหน้าน้อยทส่ี ดุ เท่ากบั 72.22 คือ กล่มุ เป้าหมายคนที่ 1 และกล่มุ เป้าหมายทุกคนมีคะแนน
บคุ ลิกภาพสูงข้ึนเมื่อใชว้ ธิ กี ารแตง่ หน้า

22

บทท่ี 5
สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

การวิจัยน้ีมีความมุ่งหมายเพ่ือเปรียบเทียบบุคลิกภาพของนิสิตก่อนและหลังใช้วิธีการแต่งหน้า
เป็นการวจิ ยั เชงิ ทดลองโดยใช้รูปแบบการวจิ ยั แบบกลุ่มเดยี ว วดั ก่อนและหลัง (one group pretest-posttest
design) กลุ่มเป้าหมายท่ีใช้ในการวิจัย คือ นิสิตช้ันปีท่ี 4 เอกการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ ประจาปีการศึกษา 2563 จานวน 5 คน เคร่ืองมือท่ใี ช้ในการวจิ ัย ประกอบด้วย
แบบเรียนออนไลน์พัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้วิธีการแต่งหน้า และแบบประเมินความพึงพอใจในบุคลิกภาพก่อน
และหลังการใช้วิธีการแต่งหนา้ วเิ คราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสาเรจ็ รูป SPSS (Statistical Package for the
Social Sciences) วิเคราะห์แบบ Paired Samples Test สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ยและ
ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน

สรปุ ผลการวจิ ยั
จากความมุ่งหมายของการวิจัยเพื่อเปรียบเทียบบุคลิกภาพของนิสิตก่อนและหลังใช้วิธีการแต่งหน้า

โดยรูปแบบการดาเนินการวิจัยเป็นการวิจัยแบบกลุ่มเดียว วัดก่อนและหลัง (one group pretest-posttest
design) กลุ่มเป้าหมายท่ีใช้ในการวิจัย คือ นิสิตชั้นปีท่ี 4 เอกการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประจาปีการศึกษา 2563 จานวน 5 คน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มเป้าหมายทั้ง
5 คน มบี ุคลกิ ภาพดีขึน้ หลงั จากใช้วิธกี ารแต่งหน้า โดยคะแนนเฉลีย่ ของบุคลกิ ภาพหลงั ใชว้ ิธกี ารแตง่ หน้า มีค่า
เท่ากับ 42.80 คะแนน สูงกว่าคะแนนเฉล่ียของบุคลิกภาพก่อนใช้วิธีการแต่งหน้า ซึ่งมีค่าเท่ากับ 32.20
คะแนน อยู่ 10.6 คะแนน จากการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างคะแนนเฉล่ียของบุคลิกภาพหลัง
ใช้วิธีการแต่งหน้า กับคะแนนเฉลี่ยของบุคลิกภาพก่อนใช้วิธีการแต่งหน้าด้วยสถิติทดสอบค่าทีได้ค่า t เท่ากับ
4.417 มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (ค่า sig เท่ากับ .012 ซึ่งน้อยกว่า .05) หมายความว่า หลังใช้วิธีการ
แต่งหน้ากล่มุ เปา้ หมาย มีบคุ ลิกภาพสงู กวา่ กอ่ นใช้วิธกี ารแตง่ หน้าอย่างมนี ัยสาคัญทางสถติ ิ

อภปิ รายผลการวจิ ยั
จากการดาเนินการวิจัยเพื่อเปรียบเทียบบุคลิกภาพของนิสิตก่อนและหลังใช้วิธีการแต่งหน้า

โดยรูปแบบการดาเนินการวิจัยเป็นการวิจัยแบบกลุ่มเดียว วัดก่อนและหลัง (one group pretest-posttest
design) กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัย คือ นิสิตช้ันปีท่ี 4 เอกการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประจาปีการศึกษา 2563 จานวน 5 คน ผลการวิจัยพบว่า หลังใช้วิธีการ
แต่งหน้า กลุ่มเป้าหมายมีบุคลิกภาพสงู กว่าก่อนใช้วธิ ีการแต่งหน้าอย่างมนี ัยสาคญั ทางสถิติ โดยมีค่า t เท่ากับ

23

4.417 มีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 (ค่า sig เท่ากับ .012 ซึ่งน้อยกว่า .05) ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ
ทฤษฎีกลุ่มจิตวิเคราะห์ ในด้านของขั้นตอนของการพัฒนาบุคลิกภาพทั้ง 5 ข้ัน ประกอบด้วย ขั้นแสวงหา
ความสขุ จากอวัยวะปาก (Oral Stage) ขนั้ แสวงหาความสขุ จากอวยั วะทวารหนกั (Anal Stage) ขน้ั แสวงหา
ความสุขจากอวัยวะเพศปฐมภูมิ (Phallic Stage) ขั้นแสวงหาความสุขจากส่ิงแวดล้อมรอบตัว
(Latency Stage) และขั้นแสวงหาความสุขจากแรงกระตนุ้ ของทตุ ยิ ภมู ทิ างเพศ (Gential Stage) (ประสทิ ธ์ิ
พมิ พ์เวียงคา , 2564) แสดงใหเ้ ห็นว่า จากธรรมชาติของมนษุ ย์มกี ารแสวงหาความสุขต้งั แต่ในวัยเดก็ จนถึงใน
วัยผู้ใหญ่ก็มีการแสวงหาความสุขเพื่อให้เป็นที่ยอมรับของคนรอบข้าง โดยส่ิงท่ีทาให้คนรอบข้างยอมรับมาก
ท่ีสุดนั้น เริ่มจากการมีบุคลิกภาพที่ดี การมีบุคลิกภาพที่ดีเริ่มต้นจากการมีความมั่นใจในใบหน้าของตนเอง
ซึ่งหนึ่งในวิธีที่ทาให้เราม่ันใจในใบหน้าของตนเองได้นั้น คือการแต่งหน้า รวมไปถึงหลักการเสริมสร้างและ
พัฒนาบุคลิกภาพภายนอกท่ีมีการปรับปรุงรูปร่างหน้าตาให้มีความสวย สะอาด และมีสุขภาพดี
(คณะกรรมการอาชีวศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ,2556) ส่ิงเหล่านี้จึงเป็นวิธีในการสร้างความม่ันใจ มี
บุคลิกภาพท่ีดี โดยการมีบุคลิกภาพที่ดีเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีในการเร่ิมพบกับส่ิงใหม่ ทั้งในด้านอาชีพ การงาน
และครอบครัว

จากการดาเนินการวิจัยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นนิสิตครู ซ่ึงต้องได้รับการฝึกประสบการณ์การสอนใน
อนาคต การมีบุคลิกภาพท่ีดีจึงเป็นสิ่งสาคัญ จากการดาเนินการวิจัยพบว่า กลุ่มเป้าหมายมีคะแนนเฉล่ียของ
บุคลิกภาพก่อนใช้วิธีการแต่งหน้า มีค่าเท่ากับ 32.20 และหลังการใช้วิธีการแต่งหน้า กลุ่มเป้าหมายมีคะแนน
เฉลี่ยของบุคลกิ ภาพ มีค่าเท่ากับ 42.80 ซ่ึงสูงกว่าก่อนใช้วิธีการแต่งหน้า แสดงให้เห็นว่า การแต่งหน้ามีผลต่อ
การมีบุคลิกภาพและความม่ันใจในการสอนของนสิ ิตครู เนอ่ื งจากเมอื่ เรามีความม่นั ใจในใบหน้าของตนเอง ซ่ึง
ใบหนา้ ก็เปรียบเสมือนห้องรับแขก ที่เปน็ จดุ ต้อนรบั จดุ ดึงดูดความสนใจของนกั เรยี น

จากเหตุผลที่กล่าวมาข้างต้น จึงสรุปได้ว่า การแต่งหน้ามีผลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพ กล่าวคือหลังใช้
วธิ ีการแตง่ หนา้ กลุ่มเป้าหมายมีบุคลิกภาพสูงกวา่ ก่อนใช้วธิ ีการแต่งหน้าอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ

ข้อเสนอแนะ
ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวจิ ัยไปใช้
จากผลการวิจัย พบวา่ บุคลกิ ภาพ ของนิสิตเอกการประถมศึกษาช้ันปีท่ี 4 หลังการใช้วิธีการแต่งหน้า

สูงกว่าก่อนใช้วิธีการแต่งหน้า แสดงว่าการใช้วิธีการแต่งหน้า ช่วยให้กลุ่มเป้าหมายมีบุคลิกภาพสูงขึ้น ดังนั้น
ในภาคหลักสูตรและการสอน เอกการประถมศึกษา ควรจัดให้มีการเรียนการสอนในรายวิชาการพัฒนา
บุคลิกภาพโดยใชว้ ธิ ีการแตง่ หนา้ เพื่อเตรียมความพรอ้ มใหน้ สิ ติ ครูก่อนไปฝกึ ประสบการณ์ในการสอน

24

ขอ้ เสนอแนะในการทาวิจยั ครงั้ ตอ่ ไป
จากการทาวิจัย พบข้อจากัดในเรื่องของพ้ืนฐานการแต่งหน้าของกลุ่มเป้าหมาย ทาให้ในการสอน

แต่งหน้าท่ที าไปพร้อมๆกับผู้วิจัย กลุ่มเป้าหมายแต่ละคนมีความเร็วและทักษะในการปฏิบตั ิแตกต่างกัน ผู้วิจัย
ควรเพ่ิมผ้สู อนและเนื้อหาการสอนใหก้ บั กลมุ่ เปา้ หมายท่มี ีพ้ืนฐานการแตง่ หนา้ นอ้ ย

นอกจากน้ีเป็นการวิจัยท่ีทาผ่านแอพพลิเคชั่น ZOOM ซึ่งเป็นการสอน online ทาให้มีปฏิสัมพันธ์กับ
กลุ่มเป้าหมายน้อย และมีข้อจากัดในเร่ืองของอินเทอร์เน็ต เป็นวิธีการสอนทางเดียวผู้วิจัยไม่สามารถเข้าไป
ช่วยเหลือเม่ือกลุ่มเปา้ หมายพบปัญหา ผู้วิจยั ควรจดั กจิ กรรมการสอนแบบ onsite เพื่อท่ีจะสามารถเขา้ ถงึ และ
ให้คาแนะนากับกลุ่มเป้าหมายได้มากข้ึน หากต้องการใช้การบันทึกวิดีโอการสอนควรมีขั้นตอนการสอนที่
ละเอียดมากกว่านี้ ยกตัวอย่างอุปกรณ์อย่างชัดเจน เพ่ิมคาบรรยายประกอบในวิดีโอเพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย
สามารถยอ้ นกลับไปดเู นอื้ หาได้

อย่างไรก็ตาม การพัฒนาบุคลิกภาพโดยวิธีการแต่งหน้าเป็นเพียงวิธีหนึ่งในการพัฒนาบุคลิกภาพ ซึ่ง
สามารถทาวจิ ัยการพฒั นาบคุ ลิกภาพโดยวิธกี ารอ่นื ได้อีก เช่น การพดู การยนื การเดนิ การนง่ั เป็นต้น

25

รายการอา้ งอิง

กฤษฎา ดาวแก้ว. (2558). การศกึ ษากระบวนการความคดิ สรา้ งสรรค์เพ่ือการส่อื สารศลิ ปะบนใบหนา้
ของ วนิ ัจ บุญชัยศรี (วิทยานพิ นธ์ ศิลปศาสตร์บัณฑิต). กรงุ เทพ. สบื คน้ จาก 1598582535.pdf.

กฤษณ์ คานน รัฐพล ไชยรฐั น์ และศริ ิชัย ศิรกิ ายะ. (2563). การเปรียบเทียบการแต่งหนา้ เพือ่ ส่อื สาร
ในงานพิธีตา่ งๆ. สบื ค้นเมอ่ื 27 กมุ ภาพนั ธ์ 2564, จาก
file:///C:/Users/User/Downloads/242707-Article%20Text-837872-1-10-20200528.pdf

กล้าหาญ ณ นา่ น. (2557). อิทธิพลของคุณลักษณะบคุ ลกิ ภาพ และความพึงพอใจที่มี ตอ่ การปรับตวั ใน
การทางานของผู้เข้าสอบตลาดบัณฑติ ใหม่.สืบค้นเม่อื 31 มกราคม พ.ศ. 2564จากไฟล์ 63531-
Article Text-147775-1-10-20160729.pdf.

เกษมชยั บุญเพ็ญ. (2551). การพัฒนาบคุ ลกิ ภาพเก่ยี วกับความเปน็ ครูของนักศึกษา สาขา
วศิ วกรรมเครอ่ื งกล. สบื คน้ เม่ือ 31 มกราคม 2564, จากfile:///C:/Users/User/Desktop/%E0%
B8%9B%E0%B8%B54%20%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%A1%202/
ED471%20%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2/
TECH_54_13.pdf.

จักรพันธ์ มสิ ุธา. (2555). บทบาทการใช้การแตง่ หน้าเพ่อื สง่ เสรมิ ภาพลักษณ์องค์กร (วทิ ยานิพนธ์
มหาบัณฑิต). เชียงใหม.่ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่. สืบคน้ จาก ฐานข้อมูลวทิ ยานิพนธ์อิเล็กทรอนกิ ส์
(e-Theses) (cmu.ac.th).

ฉวี วชิ ญเนตนิ ยั . (2542). บคุ ลกิ ภาพและการปรับตวั (พมิ พ์ครัง้ ที่ 5). กรงุ เทพฯ : คณะครศุ าสตร์ สถาบนั
ราชภัฏจนั ทรเกษม.

ณฐั ชยา เจนจิรฐั ิตกิ าล. (2558). การศึกษาลกั ษณะบุคลิกภาพของพนักงาน และหวั หน้างานกบั
ความสัมพันธท์ มี่ ีต่อความสุขในการทางานของพนกั งาน. สบื คน้ เม่ือ 27 กุมภาพนั ธ์ 2564,
จาก http://www.hrd.nida.ac.th/hromd2015/UploadFile/File_61.pdf

ธนันญา กรดสุวรรณ. (2554). ประโยชนข์ องการพัฒนาบุคลิกภาพ. สบื ค้นเม่ือ 27 กุมภาพันธ์ 2564, จาก
การพัฒนาบุคลิกภาพ (mju.ac.th)

นภิ า นธิ ยายน. (2530). การปรบั ตวั และบุคลกิ ภาพ: จิตวิทยาเพ่อื การศกึ ษาและชวี ติ (พมิ พ์ครัง้ ท่ี 1).
กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พ์โอเดียนสโตร์.

26

บษุ ยากร ตีระพฤตกิ ุลชยั . (2561). การพฒั นาบุคลิกภาพนกั ส่ือสารโดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมติ
และกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ.์ สบื คน้ เมอ่ื 27 กุมภาพนั ธ์ 2564, จาก
file :///C:/Users/User/Downloads/89651-Article%20Text-355788-1-10-20180714.pdf

ประสิทธิ์ พิมพ์เวียงคา. (2564). จิตวิทยาและทฤษฎีบคุ ลิกภาพ. สบื ค้นเมื่อ 31 มกราคม 2564, จาก
https://sites.google.com/site/byajprasitpmteh/bthth.

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน ปี พ.ศ. 2554. (2554). การ. สืบค้นเมื่อ 31 มกราคม 2564, จาก
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔ (orst.go.th).

พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี พ.ศ. 2554. (2554). แตง่ หน้า. สบื คน้ เมื่อ 31 มกราคม 2564, จาก
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔ (orst.go.th).

พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน ปี พ.ศ. 2554. (2554). บคุ ลกิ ภาพ. สบื ค้นเมือ่ 31 มกราคม 2564,
จากพจนานกุ รม ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔ (orst.go.th).

พรชนก ถาวรสันตกจิ . (2556). ปจั จัยที่สง่ ผลต่อการพัฒนาบคุ ลิกภาพของอาชพี พยาบาลใน
โรงพยาบาลรัฐบาล. สืบค้นเม่อื 27 กมุ ภาพันธ์ 2564, จาก
http://www.hu.ac.th/conference/conference2013/Proceedings2013/pdf/Book1/Poster
2/708_111-117.pdf

มหาวิทยาลยั แมโ่ จ้ ชุมพร. (2554). การพฒั นาบุคลิกภาพ. สืบคน้ เมื่อ 31 มกราคม 2564, จาก
http://www.chumphon2.mju.ac.th/km/?p=500.

พงศักด์ิ รุ่งสง และนฤมล ชมโฉม. (2562). SUCCESS OF PERSONALITY DEVELOPMENT
TRAINING. สบื ค้นเม่ือ 27 กุมภาพันธ์ 2564, จาก View of SUCCESS OF PERSONALITY
DEVELOPMENT TRAINING (ssru.ac.th).

รวศิ รา ศรีชยั . (2561). การพฒั นาการเรยี นรกู้ ารแต่งหนา้ ของโนราในชุมชนบ้านเกาะงนุ -
กระทงิ ตาบลทับชา้ ง อาเภอนาทวี จังหวัดสงขลา. สบื คน้ เม่ือ 13 กมุ ภาพันธ์ 2564, จาก
http://ird.skru.ac.th/RMS/file/DVQWJ.pdf.

วราภรณ์ ศรีวโิ รจน.์ (ม.ป.ป.). บุคลกิ ภาพท่สี าคัญตอ่ อาชีพครู. สบื คน้ เมื่อ 31 มกราคม 2564, จาก
10.pdf (pbru.ac.th).

ศนู ยเ์ รยี นรู้ มหาวิทยาลยั รงั สิต. (2557). การสรา้ งเสริมบุคลกิ ภาพดว้ ยวิธีการแตง่ หน้า. สบื ค้นเมอ่ื 31
มกราคม 2564, จาก ศูนยเ์ รยี นรู้ มหาวิทยาลัยรงั สิต (rsu.ac.th)

27

สถติ วงศส์ วรรค.์ (2544). การพัฒนาบุคลกิ ภาพ (พิมพค์ รั้งท่ี 2). กรงุ เทพฯ : รวมสาส์น
สานักพมิ พ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวชิ าการ (พว.) จากัด. (2556). การพฒั นาบคุ ลิกภาพ. สบื ค้น 31
มกราคม 2564, จาก https://sites.google.com/site/karphathna104/kar-phathna-
bukhlikphaph- phaynxk.

สานักพิมพ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวชิ าการ (พว.) จากดั . (2556). การพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ. สบื ค้น 31 มกราคม
2564, จาก https://sites.google.com/site/karphathna104/khxmul-nakreiyn-naksuksa.

อานนท์ นิม่ นวล. (2559). บุคลกิ ภาพครทู หารตามความคดิ เห็นของนักเรยี นโรงเรยี นจ่าอากาศ
กรมยทุ ธ ศกึ ษาทหารอากาศ กองทัพอากาศ. สบื คน้ เม่อื 27 กมุ ภาพันธ์ 2564, จาก
http://etheses.aru.ac.th/PDF/1255991745_11.PDF.

LOLITA. (2558). ข้อดขี องการแตง่ หน้ารแู้ ลว้ กแ็ ตง่ หน้ากันเถอะ. สบื ค้น 31 มกราคม 2564, จาก
https://www.ladyissue.com/28420.

Devina Narang. (2013). The Psychological Factors that Affect Makeup Usage and the
Perception of Makeup in Different Situations. (Bachelor's thesis). Virginia .Virginia
Commonwealth University. Retrieved 27 february 2021 from https://www.yourhome
worksolutions.com/wp-content/uploads/edd/2019/09/666-3495-1-PB.pdf.

Dong Guo and Terence Sim. (2017). Digital Face Makeup by Example. Retrieved 27
february 2021 from https://www.comp.nus.edu.sg/~tsim/documents/face_makeup_
cvpr09_lowres.pdf

James Hebden, Edward P. Herbst, Jenny Tang, Giorgio Topa, and Fabian Winkler. (2020). How
Robust Are Makeup Strategies to Key Alternative Assumptions. Retrieved 27
february 2021 from https://www.federalreserve.gov/econres/feds/files/2020069pap.pdf

Keiko Tagai,Hitomi Ohtaka,and Hiroshi Nittono. (2016). Faces with Light Makeup Are
Better Recognized than Faces with Heavy Makeup. Retrieved 27 february 2021 from
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4771839/.

Tejal, Nishad, Amisha, Umesh, Desai, and Bansal. (2015). Cosmetics and health: usage,
perceptions and awareness. Retrieved 27 february 2021 from https://www.
researchgate.net/publication/270172399_Cosmetics_and_health_Usage_perceptions
_and_awareness.

26

ภาคผนวก

27

ภาคผนวก ก

รายช่อื ผู้เช่ยี วชาญตรวจสอบคณุ ภาพเครอ่ื งมอื วิจยั

28

รายชอื่ ผเู้ ช่ียวชาญตรวจสอบคณุ ภาพเครือ่ งมอื วจิ ยั

1. อาจารยด์ วงใจ สีเขียว
อาจารย์ ภาควชิ าหลักสตู รและการสอน คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ

2. อาจารย์ลัดดา หวงั ภาษติ
อาจารย์ ภาควิชาหลกั สตู รและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ

3. อาจารย์พนิดา ศกุนตนาค
อาจารย์ ภาควชิ าการวดั ผลและวจิ ยั การศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ

29

ภาคผนวก ข

เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการทดลอง

30

แบบประเมินสาหรบั ผเู้ ชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพของเครอื่ งมือท่ใี ชใ้ นการทดลอง
(แบบเรยี นออนไลน์พฒั นาบคุ ลกิ ภาพโดยวธิ กี ารแต่งหน้า)

สาหรบั นสิ ติ ช้นั ปที ่ี 4 เอกการประถมศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ
คาช้ีแจง

ขอให้ทา่ นผเู้ ชีย่ วชาญพิจารณาความสอดคลอ้ งของแบบเรียนออนไลนพ์ ฒั นาบุคลิกภาพโดยใช้วิธกี าร
แต่งหน้ากบั เกณฑพ์ ิจารณา ดังน้ี

ที่ เกณฑ์พิจารณา นอ้ ยท่สี ดุ นอ้ ย ปาน มาก มากท่สี ุด
กลาง

1 เนื้อหาสอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์

2 จัดลาดับเนอื้ หาได้เหมาะสม

3 เน้อื หามีความทันสมัย

4 เนอ้ื หาสามารถนาไปใช้ประโยชน์ไดจ้ รงิ

5 สื่อการสอนมีความเหมาะสมกับกล่มุ เปา้ หมาย

6 สอื่ การสอนมีความเหมาะสมกับเน้ือหา

7 กิจกรรมมีความน่าสนใจ เหมาะกับกลมุ่ เป้าหมาย

8 ระยะเวลาในการสอนมีความเหมาะสม

ขอ้ เสนอแนะ/ความคดิ เห็นเพมิ่ เติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อผเู้ ช่ยี วชาญ ...........................................................................
(......................................................................)

ตาแหนง่ ........................................................................
สังกัด.............................................................................
วัน เดอื น ป.ี ..................................................................

31
ตาราง 6.1 ผลการประเมินความสอดคลอ้ งของแบบเรียนออนไลน์พฒั นาบุคลิกภาพโดยวธิ ีการแต่งหนา้

เกณฑ์พิจารณา ผ้เู ชย่ี วชาญ รวม คะแนน ความหมาย

1. เนื้อหาสอดคล้องกับ คนท่ี 1 คนที่ 2 คนที่ 3 เฉล่ยี มคี วามเหมาะสม
วตั ถปุ ระสงค์ มากทส่ี ดุ
2. จดั ลาดบั เน้อื หาไดเ้ หมาะสม 5 4 5 14 4.67
มีความเหมาะสม
5 4 4 13 4.34 มากทีส่ ุด

3. เนื้อหามคี วามทันสมยั 4 4 4 13 4.34 มีความเหมาะสม
มากทส่ี ดุ
4. เน้อื หาสามารถนาไปใช้ 5 5 5 15 5.00
ประโยชน์ได้จริง มคี วามเหมาะสม
มากทีส่ ดุ
5. สอื่ การสอนมีความเหมาะสม 5 5 5 15 5.00
กบั กลุ่มเป้าหมาย มคี วามเหมาะสม
มากทส่ี ดุ
6. ส่อื การสอนมีความเหมาะสม 5 3 5 13 4.34
กับเนื้อหา มคี วามเหมาะสม
มากที่สุด
7. กิจกรรมมคี วามน่าสนใจ 4 3 5 12 4.00
เหมาะกับกลมุ่ เป้าหมาย มีความเหมาะสม
มาก
8. ระยะเวลาในการสอนมคี วาม 4 5 4 13 4.34
เหมาะสม มีความเหมาะสม
มาก

การพิจารณาความสอดคล้องของแบบเรียนออนไลน์ว่าเหมาะสมท่ีจะนาไปใช้ในการจัดการเรยี นรู้นัน้
คะแนนเฉลี่ยจะต้องมีค่าคะแนนเฉลี่ยต้งั แต่ 3.50 – 5.00 ทุกข้อ แบบเรยี นออนไลน์พฒั นาบคุ ลกิ ภาพโดย
วธิ กี ารแตง่ หน้ามคี ่าเฉลี่ยต้งั แต่ 4.00 – 5.00 ทกุ ข้อ ดังนั้นแบบเรียนออนไลน์สามารถนาไปใชไ้ ด้

32

แบบเรยี นออนไลนพ์ ัฒนาบคุ ลิกภาพโดยวิธีการแตง่ หนา้

วัตถุประสงค์
1. เพ่ือประเมินบุคลิกภาพของกลมุ่ เป้าหมายก่อนใชว้ ิธีการแต่งหน้า
2. เพ่อื ให้ความรูเ้ กี่ยวกับเครื่องสาอางเป็นเบ้ืองตน้

แบบเรียนออนไลนจ์ านวน 3 ครง้ั ประกอบไปดว้ ย

ครั้งที่ 1 ประเมนิ บคุ ลิกภาพของกลมุ่ เปา้ หมาย และแนะนาเครอื่ งสาอางเครอ่ื งสาอางเบ้ืองต้น
เนอ้ื หาที่ใช้สอน
เคร่ืองสาอางที่ใช้ในการแตง่ หน้าเบ้อื งตน้
 การเลือกเบส/รองพน้ื
 การเลือกแป้งพฟั /แปง้ ฝุ่น
 ดินสอเขียวคิ้วแบบตา่ งๆและการเลอื กสี
 การเลือกใช้สลี ิปสตกิ
 พาเลทแต่งตาและการเลือกใช้สี
 การเลอื กและใชบ้ รชั ออนสตี า่ งๆ
 เทคนคิ เพ่ิมเติมสาหรับการแต่งหน้า
 อุปกรณ์แต่งหนา้
สอ่ื การสอน
1. เครื่องสาอางจริง
2. Power Point เรื่อง เครื่องสาอางเบ้ืองตน้
3. VDO การเปล่ยี นแปลงตนเองด้วยการแตง่ หน้า
4. แบบประเมินบุคลกิ ภาพก่อนการใช้วิธีการแต่งหนา้
กจิ กรรมการสอน
1. ผูว้ ิจยั เปดิ VDO การเปลี่ยนแปลงตนเองด้วยการแต่งหนา้
2. กลุ่มเป้าหมายและผวู้ จิ ัยร่วมกันอภปิ รายความรูส้ ึก
3. กลุ่มเป้าหมายทาแบบแบบประเมนิ บุคลิกภาพกอ่ นการใช้วธิ ีการแต่งหนา้
4. ผู้วิจัยอธิบายเนอ้ื หาเกี่ยวกับ เคร่ืองสาอางเบ้ืองตน้ จาก Power Point
5. เลน่ เกมทบทวนความรู้ โดยมีรปู ใบหน้าอยู่ตรงกลาง รอบๆเปน็ รูปเครื่องสาอางต่างๆ โดยจะ
ถามกลุ่มเป้าหมายวา่ “เครอ่ื งสาอางชนิ้ นม้ี ชี ื่อเรียกว่าอะไร” “ใชก้ ับส่วนใดของใบหน้า”
โดยจะมีลกู ศรชี้ไปในส่วนนน้ั ๆของใบหน้า และจะถามต่อว่า “ใชเ้ คร่ืองสาอางนัน้ อย่างไร”
6. แจ้งกลุ่มเป้าหมายให้เตรียมอุปกรณ์การแต่งหน้า และเครื่องสาอางมีอยู่แลว้ มาใช้ในการจัด
กจิ กรรมครั้งตอ่ ไป

33

ภาพ 6.1 QR Code ของ Power Point เร่ือง เครื่องสาอางเบื้องต้น

ภาพ 6.2 QR Code ของ VDO การเปลี่ยนแปลงตนเองด้วยการแต่งหน้า

ครั้งท่ี 2 สอนการบารงุ และปรับผิวหน้า การแตง่ ตา คว้ิ ปาก แกม้ อย่างง่าย
เนอื้ หาทใ่ี ช้สอน
 การบารงุ และปรับผวิ หน้า
 การเขียนคิว้
 การแตง่ ตา
 การทาแกม้ และปาก
สือ่ การสอน
1. อุปกรณ์ทีใ่ ช้ในการแต่งหนา้
2. เครอื่ งสาอาง (ของจริง)

34

กจิ กรรมการสอน
1. ทบทวนความรูเ้ รื่องเครื่องสาอางแต่ละชนิด โดยการถามว่ากลมุ่ เป้าหมาย “วันน้ีไดเ้ ตรียม
เคร่ืองสาอางอะไรมาบ้าง และเคร่ืองสาอางน้นั เรยี กวา่ อะไร”
2. ผวู้ จิ ัยสาธิตการบารุงและปรับผิวหน้า พรอ้ มกับให้กล่มุ เปา้ หมายปฏบิ ตั ติ ามไปพร้อมๆกนั
โดยหากกลมุ่ เปา้ หมายมขี ้อสงสัยสามารถสอบถาม หรอื แลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน
3. ผู้วจิ ัยสาธติ การแต่งหน้า ประกอบดว้ ย การลงรองพ้นื การลงแปง้ พัฟ/แปง้ ฝนุ่ เขยี วคิ้ว
การเเต่งตา การลงบรชั ออนสีต่างๆ และการทาลปิ สติก พร้อมกบั ให้กลมุ่ เปา้ หมายปฏบิ ตั ิ
ทดลองแต่งหน้าในแต่ละขนั้ ตอน
4. ผวู้ จิ ัยใหข้ อ้ เสนอเเนะเก่ยี วกบั การแต่งหนา้ แกก่ ลุ่มเปา้ หมายในเบอื้ งตน้ และพดู คยุ แลกเปล่ียน
แสดงความคิดร่วมกนั เกี่ยวกบั การทากจิ กรรมในวันน้ี
5. ผวู้ จิ ัยแจ้งกลุ่มเป้าหมายว่า ให้กลมุ่ เป้าหมายทาการแต่งหน้ามาในการพบกันคร้ังต่อไป เพื่อ
เป็นการประเมินความพึงพอใจในบคุ ลิกภาพของตนหลังจากการแต่งหน้าแล้ว

คร้ังที่ 3 ประเมนิ หลังการพฒั นาบุคลกิ ภาพโดยวิธีการแต่งหนา้
เนื้อหาทใี่ ชส้ อน
 การประเมินความพึงพอใจบุคลิกภาพของตนหลงั จากการแต่งหน้าแลว้
สื่อการสอน
1. แบบประเมินบุคลกิ ภาพหลงั การใช้วธิ กี ารแต่งหนา้
กจิ กรรมการสอน
1. ผวู้ ิจยั และกลมุ่ เป้าหมายพูดคุย แสดงความคดิ เห็นและความรสู้ ึกรว่ มกนั หลงั จากที่ได้
แตง่ หนา้ มาเรยี บร้อยแล้ว
2. กลมุ่ เป้าหมายทาแบบประเมินบคุ ลกิ ภาพหลงั การใชว้ ิธีการแต่งหน้า

35

ภาคผนวก ค

เคร่อื งมอื ท่ใี ช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู

36

แบบประเมินสาหรับผเู้ ช่ียวชาญตรวจสอบคุณภาพของเครือ่ งมอื ที่ใชใ้ นการรวบรวมข้อมลู
แบบประเมินความพงึ พอใจในบุคลกิ ภาพกอ่ นและหลงั การใช้วิธีการแต่งหน้า

สาหรับนสิ ติ ชัน้ ปที ่ี 4 เอกการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ
คาชแ้ี จง

ขอให้ท่านผู้เช่ียวชาญพิจารณาวา่ ข้อคาถามมีความสอดคล้องกับนิยามหรอื ไม่ โดยมเี กณฑก์ าร
ประเมนิ ดงั นี้

ระดบั ความพึงพอใจในบุคลิกภาพ มคี วามหมายดงั น้ี
1 คอื ระดบั ความพงึ พอใจน้อยทส่ี ุด
2 คอื ระดบั ความพงึ พอใจน้อย
3 คอื ระดับความพงึ พอใจปานกลาง
4 คอื ระดบั ความพงึ พอใจมาก
5 คือ ระดบั ความพงึ พอใจมากทีส่ ุด

โดยมเี กณฑ์การประเมนิ ดงั นี้
+1 หมายถึง แน่ใจว่าข้อคาถามมคี วามสอดคล้องกับนิยาม/ตวั ช้ีวัด/พฤตกิ รรมบ่งช้ี
0 หมายถึง ไม่แนใ่ จวา่ ข้อคาถามมีความสอดคลอ้ งกับนิยาม/ตัวชว้ี ัด/พฤตกิ รรมบ่งช้ี
-1 หมายถงึ แนใ่ จว่าข้อคาถามไม่มีความสอดคล้องกบั นิยาม/ตวั ชว้ี ัด/พฤติกรรมบง่ ช้ี

นิยาม
บคุ ลกิ ภาพ หมายถงึ ลักษณะทางร่างกายเฉพาะตนที่แสดงออกมาใหส้ งั เกตได้ ท้ังลักษณะภายนอก

และภายใน ไดแ้ ก่รูปรา่ งหนา้ ตารวมไปถึงพฤตกิ รรมทป่ี รากฏใหเ้ หน็ เช่น กริ ยิ า ทา่ ทางการแสดงออก และยังมี
พฤติกรรมภายใน ได้แก่ ความรสู้ ึกนกึ คิด ความต้องการ ความสนใจ บุคลกิ ภาพแต่ละคนจงึ มีความแตกต่างกนั

บคุ ลกิ ภาพทีด่ ีสาหรับครู หมายถงึ การแสดงออกท่มี ่นั ใจ ขณะสอนหนังสอื ซึง่ เปน็ ผลมาจากการ
แต่งหนา้
ตวั ชว้ี ัดและพฤตกิ รรมบ่งชี้

ตวั ชีว้ ัด พฤตกิ รรมบ่งช้ี

1.1 บุคลิกภาพภายใน 1.1.1 ม่นั ใจในตนเอง
1.2 บุคลิกภาพภายนอก 1.1.2 มแี รงผลักดนั ในตนเอง

1.2.1 การพดู ท่ีฉะฉาน ชดั ถอ้ ยชัดคา
1.2.2 ใบหนา้ ที่นา่ มองและเป็นมิตร
1.2.3 การยนื ด้วยทา่ ทางสงา่ งาม
1.2.4 การเดินด้วยความสง่างาม

37

ตัวชว้ี ัด ข้อคาถาม ผลการ ข้อเสนอแนะ
มั่นใจในตนเอง 1. ฉนั มคี วามมัน่ ใจในบุคลกิ ภาพของตนเอง พิจารณา

+1 0 -1

2. ฉนั ชอบในความเป็นตัวฉนั เอง

มแี รงผลกั ดนั ในตนเอง 3. ฉันมกี าลงั ใจในการสอน เพราะฉนั มี
บุคลิกภาพที่ดี

การพูดทีฉ่ ะฉาน ชดั ถ้อย 4. ฉันพดู ฉะฉาน ชดั ถ้อยชัดคา
ชดั คา

ใบหนา้ ทีน่ ่ามองและ 5. ฉันย้มิ แย้มแจม่ ใสขณะสอน
เปน็ มติ ร 6. นักเรียนสนใจเรียน ในสง่ิ ที่ฉันกาลงั สอน

7. มีคนชนื่ ชมฉันมากขึน้

การยืนด้วยทา่ ทาง 8. ฉันยืนหนา้ ชั้นเรยี นดว้ ยความม่ันใจ
สง่างาม
9. ฉันเดนิ ดว้ ยท่าทางทีส่ ง่างาม
การเดินด้วยความ 10. ฉันกลา้ เดินไปในสถานท่ีท่มี ผี ู้คนจานวนมาก
สง่างาม ดว้ ยความมน่ั ใจ

ลงชือ่ ผูเ้ ชยี่ วชาญ ...........................................................................
(......................................................................)

ตาแหนง่ ........................................................................
สังกดั .............................................................................
วนั เดือน ปี...................................................................

38

ตาราง 6.2 ผลความเที่ยงตรงตามเน้ือหาของแบบประเมนิ ความพึงพอใจในบุคลกิ ภาพก่อนและหลงั การใช้
วธิ ีการแต่งหนา้

ตวั ช้ีวดั ขอ้ คาถาม ผลการพิจารณา รวม IOC การแปลผล

+1 0 -1

ม่นั ใจในตนเอง 1. ฉันกลา้ ท่จี ะยนื ตอ่ หน้า 2 1 0 2 0.67 ข้อคาถามสอดคล้อง
นักเรยี นขณะทาการสอน กับเนอ้ื หา นาไปใชไ้ ด้

2. ฉนั ชอบในความเปน็ ตวั ฉนั 3 0 0 3 1 ข้อคาถามสอดคลอ้ ง
เอง กับเนอ้ื หา นาไปใชไ้ ด้

มีแรงผลกั ดันใน 3. ฉนั มกี าลงั ใจในการสอนครง้ั 3 0 0 3 1 ขอ้ คาถามสอดคล้อง
ตนเอง ต่อๆไป กบั เนื้อหา นาไปใชไ้ ด้

การพดู ทีฉ่ ะฉาน 4. ฉันพูดฉะฉานชดั ถอ้ ย 300 3 1 ข้อคาถามสอดคลอ้ ง
ชดั ถอ้ ยชัดคา ชดั คา กับเนื้อหา นาไปใชไ้ ด้

ใบหนา้ ทนี่ ่ามอง 5. ฉันย้ิมแยม้ แจม่ ใส 300 3 1 ขอ้ คาถามสอดคล้อง
และเป็นมติ ร ขณะสอน กับเนอ้ื หา นาไปใชไ้ ด้

6. นกั เรยี นมคี วามสนใจในการ 3 0 0 3 1 ข้อคาถามสอดคลอ้ ง
เรียนในขณะทีฉ่ นั สอน กับเนื้อหา นาไปใชไ้ ด้

7. มีคนชนื่ ชมในตัวฉนั 0 2 1 -1 -0.33 ข้อคาถามไมส่ อดคล้อง
มากข้นึ กบั เนื้อหา นาไปใชไ้ มไ่ ด้

การยืนดว้ ย 8. ฉนั ยนื หน้าชนั้ เรยี นดว้ ย 2 1 0 2 0.67 ขอ้ คาถามสอดคล้อง
ทา่ ทางสงา่ งาม ความม่ันใจ กบั เน้อื หา นาไปใชไ้ ด้

การเดนิ ด้วย 9. ฉันเดินดว้ ยความม่ันใจ 2 1 0 2 0.67 ข้อคาถามสอดคลอ้ ง
ความสงา่ งาม กบั เนอื้ หา นาไปใชไ้ ด้

10. ฉันกล้าเดินไปในสถานที่ 2 1 0 2 0.67 ขอ้ คาถามสอดคลอ้ ง
ท่มี ีคนหมมู่ าก กบั เนอื้ หา นาไปใชไ้ ด้

จากตาราง 6.2 พบว่ามีข้อคาถามทมี่ คี ่า IOC มากกว่า 0.5 อยทู่ ัง้ หมด 9 ขอ้ ซง่ึ สามารถนาไปใช้ได้ และมี
ขอ้ คาถามท่มี คี ่า IOC น้อยกว่า 0.5 อยู่ 1 ข้อ ซ่ึงไม่สามารถนาไปใช้ได้

39

แบบประเมินความพงึ พอใจในบุคลิกภาพกอ่ นการใช้วิธีการแตง่ หน้า

คาชี้แจง ใหน้ สิ ิตประเมินความพงึ พอใจเกยี่ วกบั บุคลกิ ภาพในปัจจุบันของตนเอง โดยมีระดับความพงึ พอใจ
ดังน้ี

1 คอื ระดบั ความพงึ พอใจน้อยท่ีสุด
2 คือ ระดับความพงึ พอใจน้อย
3 คือ ระดบั ความพงึ พอใจปานกลาง
4 คอื ระดับความพงึ พอใจมาก
5 คอื ระดับความพึงพอใจมากที่สุด

ข้อคาถาม ระดบั ความพึงพอใจ
12345

1. ฉนั มคี วามมน่ั ใจในบุคลิกภาพของตนเอง

2. ฉันชอบในความเปน็ ตัวฉนั เอง
3. ฉันมกี าลังใจในการสอน เพราะฉนั มบี ุคลกิ ภาพท่ดี ี
4. ฉันพดู ฉะฉาน ชดั ถ้อยชัดคา
5. ฉนั ย้มิ แยม้ แจ่มใสขณะสอน
6. นกั เรยี นสนใจเรียน ในสง่ิ ที่ฉนั กาลังสอน
7. ฉนั ยืนหนา้ ชนั้ เรียนด้วยความม่นั ใจ
8.ฉนั เดนิ ดว้ ยทา่ ทางสงา่ งาม
9. ฉนั กลา้ เดนิ ไปในสถานท่ีท่ีมผี ้คู นจานวนมากดว้ ยความม่ันใจ

40

แบบประเมินความพึงพอใจในบุคลิกภาพหลังการใชว้ ธิ ีการแต่งหน้า

คาชแ้ี จง ใหน้ สิ ติ ประเมินความพงึ พอใจเกี่ยวกบั บคุ ลิกภาพของตนเองหลังจากการใช้วธิ ีการแต่งหน้า โดยมี
ระดับความพึงพอใจ ดังนี้

1 คอื ระดับความพึงพอใจน้อยที่สุด
2 คือ ระดบั ความพึงพอใจน้อย
3 คือ ระดบั ความพงึ พอใจปานกลาง
4 คอื ระดับความพงึ พอใจมาก
5 คือ ระดับความพึงพอใจมากทีส่ ุด

ขอ้ คาถาม ระดบั ความพึงพอใจ
12345

1. ฉนั มีความมัน่ ใจในบุคลกิ ภาพของตนเอง

2. ฉนั ชอบในความเป็นตวั ฉันเอง
3. ฉนั มกี าลังใจในการสอน เพราะฉนั มบี ุคลิกภาพที่ดี
4. ฉันพดู ฉะฉาน ชดั ถ้อยชัดคา
5. ฉันยิม้ แย้มแจ่มใสขณะสอน
6. นักเรียนสนใจเรียน ในสิง่ ท่ีฉันกาลงั สอน
7. ฉันยืนหน้าชัน้ เรยี นดว้ ยความมน่ั ใจ
8.ฉันเดนิ ดว้ ยทา่ ทางสง่างาม
9. ฉนั กลา้ เดินไปในสถานทท่ี ี่มีผู้คนจานวนมากด้วยความมั่นใจ


Click to View FlipBook Version