ข้ า ว ปุ ก ปลง1)
( บ้ า น แ
หนังสืออ่านเพิ่มเติม
ประวัติความเป็นมาและขั้นตอนการทำข้าวปุก(บ้านแปลง 1)
จัดทำโดย
วีรวัฒน์ และคณะ
นักเรียนโรงเรียนดอยเต่าวิทยาคม
คำนิยม ก
ขนมโบราณดอยเต่า เป็นขนมที่เล่าเรื่องราวความเป็นมาวัฒนธรรมของอำเภอดอยเต่า ในด้าน
อาหาร ขนม มีการสืบทอดมาตั้งแต่สมัยปู่ย่า ตายาย และบรรพบุรุษในสมัยโบราณ มีจุดเด่น เป็น
เอกลักษณ์เฉพาะและมีคุณค่าในตนเอง ในเรื่องรสชาติ กรรมวิธีในการทำ ความเชื่อ การใช้วัตถุดิบ และ
วัสดุอุปกรณ์ที่มีอยู่ในท้องถิ่นและเชื่อมโยงกับประเพณีต่างๆ
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ขนมโบราณดอยเต่า ฉบับนี้ เป็นนวัตกรรมหนึ่งที่จะให้ผู้เรียนได้สืบค้นเรื่อง
ราวต่างๆของ ขนมโบราณดอยเต่า และสืบทอด ฝึกปฏิบัติการทำขนมโบราณดอยเต่า ซึ่งนับวันจะเลือน
หายไป ถือว่า ผู้จัดทำหนังสือเล่มนี้ได้ทำคุณประโยชน์ต่อชาวอำเภอดอยเต่า เพื่อท้องถิ่น และเพื่อ
ประเทศชาติอย่างแท้จริง จึงเป็นหนังสือที่มีคุณค่าที่จะมีไว้เพื่อการศึกษา ค้นคว้า ต่อไป
ว่าที่ร้อยตรีหญิงเอื้อมพร หาญสนามยุทธ
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ
คำนำ ข
หนังสืออ่านเพิ่มเติมเล่มนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับข้าวปุก(บ้านแปลง 1) ซึ่งมีรายละเอียดประกอบ
ด้วย ประวัติความเป็นมาของข้าวปุก อุปกรณ์ในการทำข้าวปุก และขั้นตอนวิธีการทำข้าวปุก
จัดทำขึ้นเพื่อผู้ที่จะสนใจที่จะศึกษาประวัติความเป็นมาของข้าวปุก อุปกรณ์ในการทำข้าวปุก
และขั้นตอนวิธีการทำข้าวปุก ผู้จัดทำได้ทำการสัมภาษณ์และรวบรวมข้อมูลจากผู้เฒ่า ผู้แก่
ภายในท้องถิ่นที่มีความรู้ในเรื่องของข้าวปุก
ผู้จัดทำหวังเป็นอย่ายิ่งว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาหรือค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่องนี้ไม่
มากก็น้อย หากมีข้อผิดพลาดประการใด ทางผู้จัดทำต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทำ
สารบัญ ค
เรื่อง
หน้า
คำนิยม
ก
คำนำ
ข
สารบัญ
ค
สาารบัญภาพประกอบ
ง
ประวัติความเป็นมา...ข้าวปุก
1
ประวัติภูมิปัญญาท้องถิ่น
2
อุปกรณ์และเครื่องปรุงที่ใช้ในการทำข้าวปุก
4
ขั้นตอนที่วิธีการทำข้าวปุก
5
หนังสืออัางอิง
8
ประวัติผู้เรียบเรียง
9
สารบัญภาพประกอบ ง
ภาพที่ 1 ข้าวปุกสำเร็จรูปออริจินัล
หน้า
ภาพที่ 2 ข้าวปุกที่นำมาทานกับนมข้น
1
ภาพที่ 3 ภาพวาดจำลองหมู่บ้านเก่า
1
ภาพที่ 4 หมู่บ้านแปลง1 ในปัจจุบัน
2
ภาพที่ 5 วัดประถมการาม(บ้านแปลง1)ในปัจจุบัน
3
ภาพที่ 6 กระทะ
3
ภาพที่ 7 ครกที่ใช้ตำ
4
ภาพที่ 8 เกลือป่น
4
ภาพที่ 9 งาขี้ม้อน
4
ภาพที่ 10 ข้าวเหนียว
4
ภาพที่ 11 การคั่วงาขี้ม้อน
4
ภาพที่ 12 นำงาขี้ม้อนพักไว้ให้เย็น
5
ภาพที่ 13 การตำงาขี้ม้อน
5
ภาพที่ 14 ตำงาให้ละเอียดดังภาพ
6
ภาพที่ 15 การนำข้าวเหนี่ยวมาตำคลุกให้เข้ากัน
6
ภาพที่ 16 ตำเสร็จจะได้ข้าวปุกแสนอร่อย
7
7
ประวัติความเป็นมา...ข้าวปุก 1
ข้าวปุกเป็นของทานเล่น มีต้นกำเนิดจากบรรพบุรุษตั้งแต่สมัยก่อน นิยมทานกันในช่วงอากาศหนาว มี
ลักษณะคล้ายขนมโมจิของญี่ปุ่น แต่เป็นสีดำที่เกิดจากงาขี้ม้อน หรือบางบ้านใช่ข้าวกล้องก็จะเป็นสีม่วง
ทำจากข้าวเหนียว และใส่งาขี้ม้อนลงไป ในอดีตจะตำด้วยครกกระเดื่องขนาดใหญ่ แต่ในปัจจุบันหาได้
ยาก จึงใช้ครกในการตำแทน เวลาตำจะมีเสียง "ปุก...ปุก" จึงเป็นที่มาของ ข้าวปุก และในปัจจุบันมี
การนำมาทานกับนมข้นหรือน้ำอ้อยอีกด้วย
ภาพที่ 1 ข้าวปุกสำเร็จรูปออริจินัล
ที่มา : คุณานันท์ ปัญญาเถิง 30.12.2565
ภาพที่ 2 ข้าวปุกที่นำมาทานกับนมข้น
ที่มา : คุณานันท์ ปัญญาเถิง 30.12.2565
ประวัติภูมิปัญญาท้องถิ่น 2
เดิมหมู่บ้านแปลง1 มีชื่อเดิมที่เรียกว่าหมู่บ้านมืดกาตะวันออกหรือบ้านแม่ก๋าดอนใจ๋ ตั้งอยู่ริมฝั่งตะวัน
ออกของแม่น้ำปิง บ้านมืดกาตะวันออกมีบ้านเรือน 145 หลังคาเรือนนับว่าเป็นหมู่บ้านที่ใหญ่มาก วันที่
25 กรกฎาคม 2500 บาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทาน พระปรมาภิไธยให้ชื่อเขื่อนว่าเขื่อนภูมิพล
สร้างปิดกั้นลำแม่น้ำปิงที่บริเวณเขาแก้ว อำเภอสามเงาจังหวัดตากมีรัศมีความโค้ง 250 เมตรสูง 154
เมตรยาว 486 เมตรสันเขื่อนกว้าง 6 เมตรรองรับน้ำได้สูงสุด 3462 ล้านลูกบาศก์เมตร.ตร วันที่ 17
พฤษภาคม 2507 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดเขื่อนภูมิพลชะตากรรม
ของชาวบ้านทางตอนเหนือของขวัญภูมิพลรวมถึงบ้านดอยเต่าเริ่มสั่นคลอนน้ำเริ่มแผ่ขยายเข้าท่วม
พื้นที่ ทำให้ชาวบ้านต้องโยกย้ายเข้ามาสร้างบ้านเรือนใหม่ตามที่หลวงได้จัดไว้ให้ ซึ่งคือหมู่บ้านเป็น 1
และหมู่บ้านอื่นๆ อย่างเช่นปัจจุบัน
ภาพที่ 3 ภาพวาดจำลองหมู่บ้านเก่า
ที่มา : เล่าขานตำนานดอยเต่า ดร.วิทยา พัฒนเมธาดา
ประวัติภูมิปัญญาท้องถิ่น 3
ภาพที่ 4 หมู่บ้านแปลง1 ในปัจจุบัน
ที่มา : คุณานันท์ ปัญญาเถิง 02.04.2565
ภาพที่ 5 วัดประถมการาม(บ้านแปลง1)ในปัจจุบัน
ที่มา : ปักหมุดเมืองไทย 05.02.2565
อุปกรณ์และเครื่องปรุงที่ใช้ในการทำข้าวปุก 4
1.กระทะ+ตะหลิว 3.เกลือป่น
ภาพที่ 6 กระทะ ภาพที่ 8 เกลือป่น
ที่มา : คุณานันท์ ปัญญาเถิง 30.12.2564 ที่มา : คุณานันท์ ปัญญาเถิง 30.12.2564
2.ครก+สาก 4.งาขี้ม้อน
ภาพที่ 7 ครกที่ใช้ตำ ภาพที่ 9 งาขี้ม้อน
ที่มา : คุณานันท์ ปัญญาเถิง 30.12.2564 ที่มา : คุณานันท์ ปัญญาเถิง 30.12.2564
5.ข้าวเหนียว ภาพที่ 10 ข้าวเหนียว
ที่มา : คุณานันท์ ปัญญาเถิง 30.12.2564
ขั้นตอนที่วิธีการทำข้าวปุก 5
ขั้นตอนที่ 1 นำงาขี้ม้อนมาคั่วในไฟอ่อน
ภาพที่ 11 การคั่วงาขี้ม้อน
ที่มา : คุณานันท์ ปัญญาเถิง 30.12.2564
ขั้นตอนที่ 2 คั่วงาสนเป็นสีแดงน้ำตาล แล้วนำมาพักให้เย็น
ภาพที่ 12 นำงาขี้ม้อนพักไว้ให้เย็น
ที่มา : คุณานันท์ ปัญญาเถิง 30.12.2564
ขั้นตอนที่วิธีการทำข้าวปุก 6
ขั้นตอนที่ 3 งาเย็นได้ที่ นำมาตำพอละเอียด
ภาพที่ 13 การตำงาขี้ม้อน
ที่มา : คุณานันท์ ปัญญาเถิง 30.12.2564
ภาพที่ 14 ตำงาให้ละเอียดดังภาพ
ที่มา : คุณานันท์ ปัญญาเถิง 30.12.2564
ขั้นตอนที่วิธีการทำข้าวปุก 7
ขั้นตอนที่ 4 นำข้าวเหนียวมาตำคลุกกับงาขี้ม้อน
ภาพที่ 15 การนำข้าวเหนี่ยวมาตำคลุกให้เข้ากัน
ที่มา : คุณานันท์ ปัญญาเถิง 30.12.2564
ภาพที่ 16 ตำเสร็จจะได้ข้าวปุกแสนอร่อย
ที่มา : คุณานันท์ ปัญญาเถิง 30.12.2564
หนังสืออ้างอิง 8
ดร.วิทยา พัฒนเมธาดา. (31 สิงหาคม 2563). "เล่าขานตำนานดอยเต่า" . : 2
ประวัติผู้เรียบเรียง 9
ชื่อ:นายวีรวัฒน์ แก้วฟู
เบอร์โทร:0652032439
วัน เดือน ปีเกิด: 10 พฤศจิกายน 2547
ที่อยู่: 214 ม.1 ต.บงตัน อ.ดอยเต่า จ.เชียงใหม่ 50260
วุฒิการศึกษา: มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนบ้านน้อยห้วยรินวิทยา
มัธยมศึกษาศึกษาตอนปลาย (กำลังศึกษาอยู่) โรงเรียนดอยเต่าวิทยาคม
ชื่อ: นางสาวคุณานันท์ ปัญญาเถิง
เบอร์โทร: 0931986408
วัน เดือน ปีเกิด: 27 มิถุนายน 2548
ที่อยู่: 13 ม.2 ต.มืดกา อ.ดอยเต่า จ.เชียงใหม่ 50260
วุฒิการศึกษา: มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนดอยเต่าวิทยาคม
มัธยมศึกษาศึกษาตอนปลาย (กำลังศึกษาอยู่) โรงเรียนดอยเต่าวิทยาคม
ประวัติผู้เรียบเรียง 10
ชื่อ: นางสาวณิชากร วงค์กาวิน
เบอร์โทร: 0650301562
วัน เดือน ปีเกิด: 5 มิถุนายน 2548
ที่อยู่: 14 ม.2 ต. มืดกา อ.ดอยเต่า จ.เชียงใหม่ 50260
วุฒิการศึกษา : มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนดอยเต่าวิทยาคม
มัธยมศึกษาศึกษาตอนปลาย (กำลังศึกษาอยู่) โรงเรียนดอยเต่าวิทยาคม
ชื่อ: ญาณินท์ ตั่นปิน
เบอร์: 0828873756
วัน เดือน ปีเกิด : 19 กุมภาพันธ์ 2548
ที่อยู่: 47 ม.2 ต.มืดกา อ.ดอยเต่า จ.เชียงใหม่ 50260
วุฒิการศึกษา : มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนดอยเต่าวิทยาคม
มัธยมศึกษาศึกษาตอนปลาย (กำลังศึกษาอยู่) โรงเรียนดอยเต่าวิทยาคม