The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

20180718153555_E302E41C-B3F0-460C-AE85-6E8DB0932104

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-01-17 08:25:26

งานสังคม

20180718153555_E302E41C-B3F0-460C-AE85-6E8DB0932104

พระพทุ ธศาสนากบั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

พระพรหมบัณฑิต (ประยรู ธมฺมจิตฺโต)

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลกั การดารงชีวติ ท่ีพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ผทู้ รง
พระคุณอนั ประเสริฐ ไดพ้ ระราชทานแก่พสกนิกรชาวไทยต้งั แต่ พ.ศ. ๒๕๑๗ ดงั ความตอน
หน่ึงในพระบรมราโชวาทที่พระราชทานในพธิ ีพระราชทานปริญญาบตั รของ
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วา่

“การพฒั นาประเทศจาเป็นตอ้ งทาตามลาดบั ข้นั ตอ้ งสร้างพ้ืนฐาน คือ ความพอมพี อกนิ
พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบ้ืองตน้ ก่อน โดยใชว้ ธิ ีการและใชอ้ ุปกรณ์ที่ประหยดั แต่
ถกู ตอ้ งตามหลกั วชิ า เมื่อไดพ้ ้นื ฐานมน่ั คงพร้อมพอควรและปฏิบตั ิไดแ้ ลว้ จึงค่อยสร้างค่อยเสริม
ความเจริญและฐานะเศรษฐกิจข้นั ที่สูงข้ึนโดยลาดบั ต่อไป”

ในปี ๒๕๔๑ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงอธิบายความหมายของปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงไวว้ า่

“Self-sufficiency น้นั หมายความวา่ ผลติ อะไรทมี่ พี อทจี่ ะใช้ ไม่ตอ้ งไปขอซ้ือคนอื่น อยู่
ได้ด้วยตนเอง (พ่ึงตนเอง) แต่พอเพียงน้ีมีความหมายกวา้ งขวางยงิ่ กวา่ น้ีอีกคือคาวา่ พอกเ็ พียงพอ
เพยี งน้ีกพ็ อ ดงั น้นั เอง คนเราถ้าพอในความต้องการกม็ คี วามโลภน้อย เมื่อมีความโลภนอ้ ยก็
เบียดเบียนคนอื่นนอ้ ย

ถา้ ทุกประเทศ...มีความคิดวา่ ทาอะไรตอ้ งพอเพยี ง หมายความวา่ พอประมาณ ไม่สุดโต่ง
ไม่โลภอย่างมาก คนเรากอ็ ยเู่ ป็นสุข พอเพยี งน้ีอาจจะมีมาก อาจจะมีของหรูหรากไ็ ด้ แต่วา่ ตอ้ งไม่
ไปเบียดเบียนคนอน่ื ตอ้ งใหพ้ อประมาณตามอตั ภาพ พดู จากพ็ อเพยี งทาอะไรกพ็ อเพยี ง ปฏิบตั ิ
ตนกพ็ อเพยี ง”

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงน้ีสอดคลอ้ งกบั หลกั ในการดารงชีวติ ของชาวพทุ ธที่เรียกวา่
สัมมาอาชีวะ คาวา่ สมั มาอาชีวะแปลวา่ การเล้ียงชีพชอบ นบั เป็นขอ้ หน่ึงในมรรคมีองคแ์ ปดซ่ึง
เป็นมชั ฌิมาปฏปิ ทาหรือทางสายกลางในพระพทุ ธศาสนา ดงั ท่ีมูลนิธิชยั พฒั นาสรุปไวว้ า่

“เศรษฐกิจพอเพยี ง เป็นปรัชญาท่ีช้ีถึงแนวการดารงอยแู่ ละปฏิบตั ิตนของประชาชนใน
ทุกระดบั ต้งั แต่ระดบั ครอบครัว ระดบั ชุมชน จนถึงระดบั รัฐ ท้งั ในการพฒั นาและบริหาร
ประเทศใหด้ าเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจ เพ่ือใหก้ า้ วทนั ต่อโลกยคุ
โลกาภิวตั น”์

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเนน้ การพฒั นาที่เป็นทางสายกลางซ่ึงจะสร้างความสมดุล
ระหวา่ งการพฒั นาทางวตั ถุควบคู่ไปกบั การพฒั นาทางจิตใจ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การพฒั นาที่
รักษาส่ิงแวดลอ้ มใหเ้ ป็นปฏิรูปเทศ การพฒั นาเศรษฐกิจจะตอ้ งไม่ทาลายสิ่งแวดลอ้ ม นน่ั คือ ตอ้ ง
คานึงถึงมิติแห่งการพฒั นาใหค้ รบภาวนาท้งั สี่ดา้ น ไดแ้ ก่

(๑) กายภาวนา พฒั นาทางกายซ่ึงรวมถึงสิ่งแวดลอ้ ม

(๒) ศีลภาวนา พฒั นาทางสงั คมและวฒั นธรรม

(๓) จิตภาวนา พฒั นาดา้ นจิตใจใหม้ ีคุณธรรมจริยธรรมและส่ิงท่ีเรียกวา่ ความฉลาดใน
อารมณ์

(๔) ปัญญาพฒั นา พฒั นาปัญญาสองดา้ น คือ ปัญญาในทางโลกเพ่อื ความสาเร็จในการ
ประกอบอาชีพและปัญญาในทางธรรมเพ่อื ช่วยใหเ้ อาชีวติ รอดจากความทุกขห์ รือปัญหาชีวติ

หลกั เศรษฐศาสตร์โดยทว่ั ไปเนน้ การการสนองความตอ้ งการของมนุษย์ ดงั คานิยามที่วา่
“เศรษฐศาสตร์คือวิชาทศ่ี ึกษาหาวธิ กี ารใช้ทรัพยากรทม่ี อี ยู่อย่างจากดั เพอ่ื สนองความต้องการท่ี
ไม่จากดั ” ความตอ้ งการที่ไม่จากดั น้ีกค็ ือตณั หาหรือความอยากนน่ั เอง พระพทุ ธศาสนาถือวา่
ตณั หาของมนุษยไ์ ม่มีวนั เตม็ อิ่ม ดงั พทุ ธภาษิตท่ีวา่ “นตั ถิ ตณั หาสะมา นะที แม่น้าเสมอดว้ ย

ตณั หาไม่มี” ทรัพยากรท้งั หมดท่ีมีอยใู่ นโลกใบน้ีจึงไม่เพยี งพอต่อการสนองตณั หาท่ีไม่มีวนั เตม็
อิ่มของมนุษย์

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงเสนอใหค้ วบคุมตณั หาคือจากดั ความตอ้ งการของ
มนุษยด์ ว้ ยการรู้จกั พอหรือสนั โดษ เม่ือรู้จกั พอกโ็ ลภนอ้ ย “เม่ือมีความโลภนอ้ ยกเ็ บียดเบียนคน
อื่นนอ้ ย” ดงั ท่ีมหาตมะ คานธีกล่าวไวว้ า่ “โลกมีทรัพยากรเพียงพอต่อความตอ้ งการที่แทจ้ ริงของ
มนุษยท์ ุกคน แต่ไม่เพียงพอต่อความโลภของมนุษยท์ ุกคน”

พระพทุ ธศาสนาถือวา่ มนุษยเ์ ป็นส่วนผสมของนามรูป คือประกอบดว้ ยร่างกาย (รูป)
และจิตใจ (นาม) ความสุขจึงมีสองอยา่ ง ไดแ้ ก่ กายกิ สุข คือ สุขทางกาย กบั เจตสิกสุข คือ สุข
ทางใจ การรู้จกั พอเป็นการสร้างความสมดุลระหวา่ งความสุขทางกายกบั ความสุขทางใจ ดงั
ภาษิตอุทานธรรมท่ีวา่

“ความไม่พอใจจนเป็ นคนเขญ็

พอแลว้ เป็นเศรษฐีมหาศาล

จนท้งั นอกท้งั ในไม่ไดก้ าร

ตอ้ งคิดอ่านแกจ้ นเป็นคนพอ”

ดงั น้นั พระพทุ ธศาสนาจึงสอนใหม้ นุษยท์ ากิจกรรมทางเศรษฐกิจเพ่อื ความสุขในชีวติ ๔
ประการดงั ต่อไปน้ี

(๑) อตั ถสิ ุข ความสุขที่เกิดจากการแสวงหาทรัพยเ์ พอ่ื กาจดั ความขาดแคลน เพราะความ
ขาดแคลนเป็นทุกข์ ดงั พทุ ธภาษติ ท่ีวา่ “ทะฬิททิยงั ทุกขงั โลเก ความยากจนเป็นทุกขใ์ นโลก”

(๒) โภคสุข ความสุขท่ีเกิดจากการใชส้ อยอยา่ งมีเหตุผล มีมตั ตญั ญุตาคือรู้จกั
พอประมาณในการบริโภคใชส้ อยทรัพยากร ดงั คากล่าวที่วา่ “ถา้ อยากรวย อยอู่ ยา่ งคนรวย จะไม่
รวย ถา้ กลวั จน อยอู่ ยา่ งคนจน จะไม่จน”

(๓) อนณสุข ความสุขจากการไม่เป็นหน้ี เพราะการเป็นลูกหน้ีทาใหไ้ ม่มีความเป็นไท
เพราะถกู เจา้ หน้ีตามเบียดเบียนบีบค้นั ดงั ท่ีพระพทุ ธเจา้ ตรัสวา่ “อิณาทานงั ทุกขงั โลเก การเป็น
หน้ีเป็นทุกขใ์ นโลก”

(๔) อนวชั ชสุข ความสุขเกิดจากการทางานท่ีสุจริตปราศจากโทษภยั เพราะทรัพยส์ ินที่
ไดม้ าดว้ ยการทุจริตฉอ้ โกงและคา้ ยาเสพติดเป็นตน้ ไม่สร้างความสุขที่ถาวรใหก้ บั ชีวติ ความมง่ั
คง่ั ท่ีเกิดจากการทาลายธรรมชาติสิ่งแวดลอ้ มกไ็ ม่สร้างความสุขท่ียง่ั ยนื แต่ประการใด

เกณฑแ์ ห่งความสุขท้งั ส่ีประการน้ีถือเป็นดรรชนีช้ีวดั ใหก้ บั การพฒั นาตามหลกั ปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพยี ง นน่ั คือ การพฒั นาประเทศควรเนน้ ท่ีความสุขมวลรวมของประเทศ (Gross
National Happiness = GNH) มากกวา่ จะเนน้ ที่ผลิตภณั ฑม์ วลรวมของประเทศ (Gross National
Product = GNP)

ดงั น้นั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งจึงเนน้ ความสมดุลระหวา่ งการแสวงหาทรัพยภ์ ายนอก
กบั ทรัพยภ์ ายใน แต่มนุษยท์ ุกวนั น้ีมุ่งแสวงหาทรัพยภ์ ายนอกคือความมงั่ คง่ั ทางวตั ถุมากเกินไป
จนกลายเป็นคนยากจนในทางจิตใจ พระพทุ ธศาสนาเรียกทรัพยภ์ ายในวา่ อริยทรัพยห์ รือทรัพย์
อนั ประเสริฐมี ๗ ประการ ดงั ต่อไปน้ี

๑. ศรัทธา มีความเชื่อในศาสนา

๒. ศลี มีความประพฤติถูกตอ้ งดีงาม
๓. หิริ มีความละอายใจต่อการทาความชว่ั
๔. โอตตปั ปะ มีความเกรงกลวั ต่อผลของความชว่ั
๕. พาหุสจั จะ มีศกึ ษาเล่าเรียนมาก
๖. จาคะ มีความเสียสละ เอ้ือเฟ้ื อเผอ่ื แผ่

๗. ปัญญา มีความรู้ความเขา้ ใจในเรื่องบาปคุณโทษ ประโยชน์ มิใช่ประโยชน์ มีความ
รอบรู้สาหรับรักษาตนใหพ้ น้ จากปัญหาท้งั ปวง

คุณธรรมท้งั ๗ ประการจดั เป็นทรัพยภ์ ายในท่ีประเสริฐกวา่ ทรัพยภ์ ายนอก ท่านจึง
เรียกวา่ อริยทรัพย์ พระพทุ ธศาสนาใหค้ วามสาคญั แก่การมีทรัพยภ์ ายในมากกวา่ ทรัพยภ์ ายนอก
ดงั คากลอนท่ีวา่

“คนจะงามงามน้าใจใช่ใบหนา้

คนจะสวยสวยจรรยาใช่ตาหวาน

คนจะแก่แก่ความรู้ใช่อยนู่ าน

คนจะรวยรวยศีลทานใช่บา้ นโต”

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ตรงกบั หลกั การดารงชีวติ ใน
พระพทุ ธศาสนาที่เรียกวา่ สัมมาอาชีวะซ่ึงเนน้ มชั ฌิมาปฏปิ ทาคือทางสายกลางระหวา่ งการ
พฒั นาทางวตั ถุกบั การพฒั นาทางจิตใจ ตามหลกั ภาวนา ๔ ซ่ึงไม่มุ่งการสนองตณั หาท่ีไม่มีวนั
เตม็ อิ่ม แต่มุ่งสร้างความรู้จกั พอหรือสันโดษท่ีสมั พนั ธก์ บั ความสุขท้งั สี่ประการ เช่น การรู้จกั
พอประมาณในการบริโภค โดยมีความสุขมวลรวมของประเทศเป็นดรรชนีช้ีวดั การพฒั นา
สังคมที่พฒั นาตามแนวปรัชญาน้ีจะเป็นสังคมพอเพยี งเพราะสามารถพงึ่ ตนเองได้ไม่เป็นหน้ีสิน
สมาชิกของสงั คมน้ีเป็นผรู้ ่ารวยดว้ ยทรัพยภ์ ายในหรืออริยทรัพยจ์ ึงไม่มีการแก่งแยง่ แข่งขนั
เบียดเบียนกนั มีแต่ความรักสมคั รสมานสามคั คีจึงเป็นสงั คมแห่งสันติสุข ดงั พทุ ธภาษติ ท่ีวา่

“สุขา สังฆสั สะ สามคั คี ความสามคั คขี องหมู่คณะนาความสุขมาให้”


Click to View FlipBook Version