The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติของผู้แต่ง กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-03-12 00:54:09

ประวัติของผู้แต่ง กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า 1

ประวัติของผู้แต่ง กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า 1

ประวัติของผแู้ ต่ง กลอนดอกสร้อยรำพึงในปา่ ช้า

พระยาอุปกิตศิลปสาร มีความเชย่ี วชาญด้านภาษาไทย ภาษาบาลี และวรรณคดโี บราณ นามแฝงของท่าน
ท่ีรจู้ กั กนั ดีคือ อ.น.ก. อนึก คำชชู ีพ อุนกิ า สามเณรน่ิม และนายนิม่ ผลงานทางดา้ นภาษาและวรรณคดีไทยที่
สำคญั ไดแ้ ก่ สยามไวยากรณ์ เปน็ ตำราวัยากรณ์ไทย 4 เลม่ มีอคั รวธิ ี วจีวภิ าค วากยสัมพันธ์ และฉันทลกั ษณ์
สงครามภารคำกลอน ชุมนุมนิพนธ์ อ.น.ก. คำประพันธ์บางเร่ือง คำประพันธ์โคลงสลบั กาพย์ บทกลอนและ
ปาฐกถาต่างๆ เกีย่ วกบั วรรณคดีละการใช้ภาษา

ท่ีมาของเรอ่ื งกลอนดอกสรอ้ ยรำพึงในป่าชา้

เปน็ งานประพันธท์ ี่รวมอยู่ในหนังสือคำประพนั ธ์บางเรื่อง ซึ่งเปน็ หนงั สือรวมคำประพันธ์หลายชนดิ ของ
พระยาอปุ กิตศลิ ปสาร บทกลอนเร่อื งน้ี มที ี่มาจากกวนี ิพนธ์เร่อื ง Elegy Written in a Country Churchyard
ของ ทอมัส เกรย์ (Thomas Gray) กวีชาวองั กฤษ ผมู้ ีชีวิตชว่ งกลางศรสิ ต์ศตวรรษท่ี 18 กวนี พิ นธ์บทนี้ เขยี นขนึ้ ที่
สุสานเก่าแกท่ ี่เมือง สโตกโปจส์ (Stoke Poges) ในมณฑลบงั กงิ แฮมเชอร์ (Buckinghamshire) เมอ่ื ประมาณ พ.ศ.
2285 หลงั จากมรณกรรมของญาติใกล้ชดิ และเพ่ือนรกั ของเกรย์ ในเวลาท่ไี ลเ่ ล่ยี กัน กวนี ิพนธป์ ระเภท Elegy (บท
รอ้ ยกรองกำสรด) ของเกรย์ เป็นบทรอ้ ยกรองที่มีเชอื่ เสยี งมากที่สุดเรอ่ื งหน่ึงของอังกฤษ

พระยาอุปกิตศลิ ปสาร ประพันธก์ ลอนดอกสรอ้ ยรำพึงในป่าชา้ จากต้นฉบบั แปลของ เสฐียรโกเศศ โดย
แตง่ เป็นกลอนดอกสร้อย จำนวน 33 บท เพ่มิ จากบทประพันธภ์ าษาองั กฤษหนง่ึ บท และมนี าคำประทบี เน็ ผเู้ รยี บ
เรยี งในสว่ นของกถามุข ซงึ่ พระยาอปุ กิตศลิ ปสารไดแ้ ตง่ ดัดแปลงให้เขา้ กับธรรมเนียมไทย นบั เป็นลกั ษณะเดน่
ประการหน่งึ ของการประพนั ธ์วรรณคดีในรัชกาลท่ี 6-7 ที่มักจะนำบทวรรณคดีตะวันตกมาแปลและดัดแปลงให้
สอดคล้องกับวฒั นธรรมและรสนิยมของคนไทย

เนอ้ื หาของกลอนดอกสรอ้ ยรำพงึ ในปา่ ช้า

วงั เอ๋ยวังเวง หง่างเหงง่ ยำ่ ค่ำระฆงั ขาน
ฝงู วัวควายผ้ายลาทิวากา ค่อยค่อยผา่ นท้องทุง่ มงุ่ ถน่ิ ตน
ชาวนาเหนือ่ ยออ่ นตา่ งจรกับ ตะวันลับอับแสงทกุ แห่งหน
ท้งิ ทงุ่ ให้มืดมัวทว่ั มณฑล และท้ิงตนตูเปลีย่ วอยเู่ ดียวเอย

ถอดคำประพันธ์

เมอื่ เวลาใกล้ค่ำชาวนาก็พาฝูงวัวควาย กบั บ้านพร้อมกับความเหนื่อยล้า ปล่อยให้ทอ้ งทุ่งมแี ต่ความวา่ ง
เปล่า

ยามเอย๋ ยามนี้ ปถพมี ืดมวั ทวั่ สถาน

อากาศเยน็ เยอื กหนาวคราววิกาล สงดั ปานป่าใหญ่ไรส้ ำเนยี ง

มกี ็แตเ่ สียงจังหรดี กระกรดี กริ่ง เรไรหร่ิงรอ้ งขรมระงมเสียง

คอกควายววั รวั เกราะเปาะแปะเพียง รวู้ า่ เสียงเกราะแว่วแผว่ แผว่ เอย

ถอดคำประพนั

เมื่อความมดื เข้ามาปกคุมไปทัว่ อากาศกเ็ ริ่มเยน็ ลง มีแต่เสยี งแมลงทสี่ ง่ เสยี งร้องไปทั่วสลับกบั เสยี ง
เกราะท่หี ้อยวัว ควาย ภายในคอกดังเป็นระยะ

นกเอย๋ นกแสก จับจ้องรอ้ งแจ๊กเพียงแถกขวัญ

อยบู่ นยอดหอระฆังบังแสงจันทร์ มเี ถาวัลย์รงุ รังถึงหลังคา

เหมือนมันฟ้องดวงจนั ทรผ์ นั ให้ดู คนมาสซู่ อ่ งพักมนั รักษา

ถอื เปน็ ที่รโหฐานนมนานมา ให้เสือ่ มผาสกุ สนั ต์ของมนั เอย

ถอดคำประพนั ธ์

นกแสกส่งเสยี งร้องอย่างน่ากลวั มนั เกาะอยยู่ อดหอระฆงั นกแสกเหมือนเป็นผอู้ ารักขาสสุ าน (ซอ่ งพัก
= เชิงตะกอน ในทีน่ ้ี หมายถงึ ทีพ่ ักท่สี ุดทา้ ยในชวี ิต) เปน็ ทเี่ ฉพาะของคนตาย ท่ที ำใหน้ กแสกมีความสุข

ตน้ เอ๋ยต้นไทร สงู ใหญ่รากย้อยหอ้ ยระยา้

และต้นโพธพ์ิ ุ่มแจ้แผฉ่ ายา มีเนนิ หญา้ ใตต้ ้นเกล่อื นกลน่ ไป

ล้วนรา่ งคนในเขตประเทศนี้ ดุษณนี อนราย ณ ภายใต้

แหง่ หลมุ ลึกลานสลดระทดใจ เรายิ่งใกล้หลมุ น้ันทุกวันเอย

ถอดคำประพันธ์
ตน้ ไทรท่ีมรี ากย้อยหอ้ ยลงมา ตน้ โพธิ์ทอ่ี ยูใ่ กล้กนั น้นั ดา้ นลา่ งล้วนเปน็ ทฝี่ ังศพของผู้คนท่ตี ายไป ซ่งึ เรา

เองก็ใกล้เข้าไปทุกวัน

สาระสำคญั ของกลอนดอกสร้อย

ผู้ตอ้ งการความวิเวกคนหนงึ่ ไดเ้ ขา้ ไปนง่ั ในท่สี งบในวัดชนบท ในเวลาเยน็ ใกล้คำ่ เมื่อได้ยินเสยี งระฆงั ย่ำ
บอกเวลาได้เห็นฝูงววั ควายและชาวนาพากันเดนิ กลับบา้ น เม่อื สิ้นแสงตะวันไดย้ ินเสยี งจังหรดี เรไร เสียงเกราะใน
คอกสัตว์ นกแสกท่จี บั อยู่บนหอระฆังกส็ ง่ เสียงร้อง ณ บริเวณใตต้ น้ โพธ์ิ ตน้ ไทร มหี ลุมฝังศพอยู่มากมาย
ความเงียบสงบและความวเิ วกกอ่ ให้เกดิ ความรู้สึกลึกซ้งึ ทา่ นผนู้ น้ั จงึ รำพงึ รำพนั ออกมาเป้นบทกววี า่ ไม่ว่าผใู้ ดก็
ย่อมมจี ดุ จบ คือความตายเหมือนกัน

ท่ีมา https://www.veradet.com/548


Click to View FlipBook Version