รหสั วชิ า 30204 – 2002 วิชาระบบจดั การฐานข้อมูล 25
หน่วยการเรยี นร้ทู ี่
1
สาระสำคัญ
สาระการเรยี นรู้
1. ความหมายของระบบฐานข้อมลู
2. คำศัพท์ระบบฐานข้อมลู
3. ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งเอนทิตี้
4. ชนิดและลกั ษณะของข้อมลู
5. องคป์ ระกอบของฐานขอ้ มูล
6. ประโยชน์ของระบบฐานข้อมูล
7. รูปแบบของระบบฐานข้อมลู
8. โปรแกรมที่นยิ มใชใ้ นการจดั การฐานข้อมลู
นางศรีวรรณ ชูมี แผนกวชิ าคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ
รหัสวชิ า 30204 – 2002 วิชาระบบจดั การฐานข้อมูล 26
ร1.1 ความหมายของระบบฐานขอ้ มลู
ะบบฐานข้อมลู (Database System) หมายถึง โครงสร้างสารสนเทศทป่ี ระกอบดว้ ย
รายละเอียดของข้อมูล ท่ีเกย่ี วขอ้ งกันท่จี ะนำมาใช้ในสว่ นระบบต่าง ๆ ร่วมกัน ระบบฐานข้อมูล
จงึ นับว่าเป็นการจัดเกบ็ ข้อมลู อย่างเปน็ ระบบ ซงึ่ ผู้ใชส้ ามารถจัดการกบั ขอ้ มลู ในลกั ษณะตา่ ง ๆ
ท้งั การเพม่ิ การแก้ไข การลบ ตลอดจนการเรียกดูข้อมลู ซึง่ ส่วนใหญจ่ ะเป็นการประยกุ ตน์ ำเอาระบบคอมพิวเตอร์
เข้ามาชว่ ยในการจดั การฐานข้อมลู
1.2 คำศพั ท์ระบบฐานขอ้ มลู
คำศพั ท์ ความหมาย
1. บิต (Bit)
หน่วยของข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด เป็นขอ้ มูลทจี่ ัดเก็บอยู่ในสอ่ื บนั ทกึ
2. ไบต์ (Byte) ข้อมลู ในลักษณะของเลขฐานสอง มคี า่ เป็น o หรือ 1
หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนำบิตมารวมกันแล้วมีความหมายเป็นตัว
3. ฟิลด์ (Field) อักขระ (Character)
หน่วยของข้อมูลท่ีประกอบจากตัวอักขระต้ังแต่ 1 ตัวข้ึนไปรวมกันแล้ว
4. ระเบียน (Record) • จะมีความหมายเช่น ชื่อ ที่อยู่ ระดับการศึกษา เป็นต้น
หน่วยของข้อมูลที่เกิดจาการนำเอาเขตข้อมูลหลาย ๆ เขตข้อมูลท่ี
5. แฟ้ม (File) • เกี่ยวข้องมารวมกัน เกิดเป็นข้อมูลเรื่องใดเร่ืองหน่ึงเช่นข้อมูลนักศึกษา
1ระเบียน ประกอบด้วยรหัส นักศึกษา ชื่อสกุล แผนก เป็นต้น
6. ฐานข้อมูล (Database) • แฟ้มข้อมูล หรือหน่วยของข้อมูลท่ีเกิดจากการนำข้อมูลหลาย ๆ
7. เอนทิต้ี (Entity) ระเบียนท่ีเป็นเรื่องเดียวกันมารวมกัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักศึกษา
แฟ้มข้อมูลลูกค้า เป็นต้น
8. แอททริบิวต์ (Attribute) หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนำแฟ้มข้อมูลหลายๆแฟ้มท่ีเกี่ยวข้อง
สัมพันธ์กัน มารวมในระบบเดียวกัน เช่น ระบบฐานข้อมูลนักศึกษา
9. ความสัมพันธ์ ชื่อของสิ่งใดส่ิงหน่ึง เปรียบเสมือนคำนาม ได้แก่ คน ส่ิงของต่างๆ การ
(Relationships) กระทำที่มีการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิต้ีนักศึกษา
เอนทิต้ีพนักงาน เป็นต้น
รายละเอียดข้อมูลที่แสดงคุณสมบัติของเอนทิต้ี เช่น รหัสนักศึกษา ช่ือ
นักศึกษา แผนก เป็นต้น
ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ท่ีมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน เช่น เอนทิต้ี
นักศึกษากับเอนทิต้ีครูท่ีปรึกษา เป็นต้น
ตารางท่ี 1.1 คำศพั ทร์ ะบบฐานขอ้ มลู
นางศรีวรรณ ชูมี แผนกวชิ าคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ
รหสั วิชา 30204 – 2002 วิชาระบบจัดการฐานข้อมูล 27
1.3 ความสมั พนั ธ์ระหว่างเอนทติ ี้
แบ่งออกได้ 3 ประเภท
1.3.1 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึง่ (one-to-one Relationships)
เป็นการแสดงความสมั พนั ธข์ องข้อมูลในเอนทิตี้หน่ึงท่มี ีความสัมพนั ธก์ ับขอ้ มลู ในอีกเอนทิตีห้ น่งึ ใน
ลกั ษณะหนึง่ ต่อหนงึ่ (1 : 1) ตวั อยา่ งเช่น
พนักงาน สังกัดอยู่ แผนก
พนกั งาน แผนก
1:1
บรหิ ารโดย
1:1
รปู ท่ี 1.1 ความสัมพันธแ์ บบหนงึ่ ตอ่ หนงึ่
จากรปู ท่ี 1.1 พนักงานแต่ละคนจะสังกดั อยู่แผนกใดกต็ ามได้เพียงแผนกเดียว ความสมั พันธข์ องเอน
ทิตพี้ นักงานไปสู่เอนทติ ้ีแผนกจงึ เปน็ แบบหนึ่งต่อหน่งึ (1 : 1 ) ขณะเดยี วกันแตล่ ะแผนกบริหารแผนกไดเ้ พยี งหนงึ่
คน
1.3.2 ความสัมพันธ์แบบหน่ึงต่อกลุ่ม (one-to-Many Relationships)
เปน็ การแสดงความสมั พนั ธข์ องข้อมลู ในเอนทติ ห้ี น่ึงท่ีมีความสมั พันธ์กับขอ้ มลู หลายๆ ข้อมูลในอีกเอนทติ ี้
หนงึ่ ในลกั ษณะหนง่ึ ต่อกลุม่ (1 : m) ตวั อยา่ งเชน่
พนกั งานขาย ตดิ ตอ่ ลูกค้า
พนักงานขาย ลูกคา้
1:m
ตดิ ตอ่
1:1
รปู ท่ี 1.2 ความสัมพนั ธแ์ บบหนง่ึ ตอ่ กลมุ่
จากรปู ท่ี 1.2 พนักงานขายแตล่ ะคนสามารถดูแลลูกค้าได้หลายคน จงึ เปน็ แบบหน่งึ ต่อกลมุ่ (1 : m)
ในขณะทีค่ วามสมั พนั ธเ์ อนทติ ี้ลูกค้าไปยังเอนทติ ี้พนักงานขายเปน็ แบบหนงึ่ ต่อหน่ึง หมายความวา่ ลกู ค้าแตล่ ะคน
ตดิ ตอ่ กับพนักงานขายไดเ้ พียงหน่ึงคนเท่านัน้
นางศรีวรรณ ชมู ี แผนกวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
รหัสวชิ า 30204 – 2002 วิชาระบบจัดการฐานข้อมูล 28
1.3.3 ความสัมพันธแ์ บบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-Many Relationships)
เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิต้ีหนึ่งกบั ข้อมูลในอีกเอนทิต้ีหนึง่ ในลักษณะกลมุ่ ต่อกลุ่ม
(m:n) ตวั อยา่ งเช่น
ใบสัง่ ซอ้ื m:n สินคา้
รูปท่ี 1.3 ความสัมพนั ธแ์ บบกลมุ่ ตอ่ กลุ่ม
จากรูปท่ี 1.3 ข้อมลู ในเอนทิตีใ้ บสั่งซอ้ื แตล่ ะใบจะสามารถส่งั ซื้อสินคา้ ในเอนทิตส้ี ินคา้ ได้หลายรายการ
จงึ เปน็ แบบหนึง่ ต่อกลุ่ม ในขณะทส่ี ินคา้ แตล่ ะรายการจะไปปรากฏอยู่ในใบส่งั ซือ้ ได้หลายใบ จงึ เปน็ แบบหนง่ึ ต่อ
กลุ่ม เชน่ กนั ดงั นัน้ ความสัมพันธข์ องเอนทิต้ีใบสง่ั ซ้ือกับเอนทิตส้ี นิ ค้า จงึ เปน็ แบบกลุ่มต่อกลุ่ม
ช1.4 ชนดิ และลกั ษณะของขอ้ มลู
นิดของข้อมลู ทใ่ี ชป้ ระกอบด้วย
Basic Type ข้อมลู รปู แบบพืน้ ฐาน
Number ข้อมูลรูปแบบตัวเลข
Date and Time ข้อมลู รปู แบบวนั และเวลา
Yes/No ขอ้ มลู รปู แบบใชห่ รอื ไม่ใช่ (Boolean)
Quick start ข้อมูลรูปแบบเร่ิมตน้ ใช้งานด่วน
Basic Type ประกอบดว้ ยรายละเอยี ดดังนี้
ชนิดของข้อมลู คำอธิบาย
Text ใช้เก็บตวั อกั ษรและตวั เลขทไี่ ม่ใชใ้ นการคำนวณ เก็บได้สูงสุด 255 ตวั อกั ษร
Number ใชเ้ กบ็ ข้อมลู ท่เี ป็นตัวเลขใช้ในการคำนวณ
Currency ใชเ้ ก็บข้อมูลที่เปน็ ตัวเลขและเกยี่ วขอ้ งกบั ค่าเงิน เก็บขอ้ มลู ทศนิยมได้ 4 ตำแหนง่
Yes/No ใช้เก็บข้อมูลทเี่ ปน็ บลู ีน เลอื กได้เพยี ง Yes หรือ No เทา่ นน้ั
Date/Time ใช้เกบ็ ข้อมลู วันทแี่ ละเวลา
Rich Text ใชเ้ ก็บข้อมูลที่มีการใสส่ ีหรอื รูปแบบใหก้ ับตัวอักษรหรือตัวเลข
Calculated Field ใชแ้ สดงผลการคำนวณจากข้อมลู ในField อน่ื ท่อี ยู่ตารางเดียวกนั
Attachment ใชเ้ ก็บข้อมลู รูป ตารางคำนวณ เอกสาร แผนภมู ิตา่ งๆทีม่ ีการแนบมากบั ฐานขอ้ มลู
Hyperlink ใชส้ ำหรับเกบ็ ข้อมลู ทเ่ี ป็นตวั อักษรหรอื ตวั เลขที่ใชบ้ อกตำแหน่ง Hyperlink address
Memo ใชเ้ ก็บข้อมูลทีเ่ ป็นตวั อกั ษรเช่นรายละเอียดของสนิ คา้
Lookup ใช้สำหรับแสดงรายการเป็นค่าท่ีกำหนดในตอนสรา้ งField
ตารางที่ 1.2 ชนดิ ขอ้ มูล Basic Type
นางศรีวรรณ ชูมี แผนกวิชาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ
รหสั วชิ า 30204 – 2002 วิชาระบบจดั การฐานข้อมูล 29
Number ประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้
ชนดิ ของข้อมลู คำอธบิ าย
General ตวั เลขท่เี กบ็ โดยไม่มีรูปแบบเพิม่ เติม
Currency ใชเ้ ก็บข้อมูลทเี่ ปน็ ตวั เลขและเกี่ยวข้องกับค่าเงิน เก็บขอ้ มลู ทศนยิ มได้ 4 ตำแหนง่
Euro ใชเ้ กบ็ ข้อมูลท่ีเกี่ยวขอ้ งกับค่าเงนิ ในหน่วยยูโร
Fixed ใชเ้ ก็บข้อมูลตัวเลขท่ใี ช้ในการคำนวณ
Standard ใช้เกบ็ ข้อมูลเลขท่ีมีจดุ ทศนิยม
Percentage ใชเ้ กบ็ ข้อมลู ในรูปร้อยละ
Scientific ใชส้ ำหรบั การคำนวณ
ตารางท่ี 1.3 ชนดิ ขอ้ มลู Number
Date and Time ประกอบด้วยรายละเอียดดังน้ี
ชนดิ ของขอ้ มลู คำอธิบาย
Short Date ใช้สำหรับแสดงวนั ทใ่ี นรปู แบบส้นั เช่น 02/12/2561
Medium Date ใช้สำหรับแสดงวันที่ในรูปแบบกลาง โดยข้นึ กบั การค่าตั้งค่าในแต่ละพ้นื ที่ เชน่
02 - ธ.ค. - 61
Long Date ใช้สำหรับแสดงวันทใี่ นรปู แบบยาว เชน่ 02 ธันวาคม 2561
Time am/pm ใช้สำหรับแสดงเวลาเทา่ นั้นโดยใชร้ ปู แบบ 12 ช่ัวโมง
Medium Time ใชส้ ำหรบั แสดงเวลาและตามดว้ ย AM/PM
Time 24 hour ใช้สำหรบั แสดงเวลาเทา่ นั้น โดยใช้รปู แบบ 24 ชวั่ โมง
ตารางที่ 1.4 ชนดิ ข้อมลู Date and Time
Yes/No ประกอบดว้ ยรายละเอียดดงั น้ี
ชนิดของข้อมลู คำอธิบาย
Check Box ใช้สำหรับแสดง Check Box
Yes/No ใชส้ ำหรับแสดงตัวเลือก Yes หรอื No
True/False ใชส้ ำหรบั แสดงตัวเลอื ก True หรือ False
on/off ใชส้ ำหรับแสดงตวั เลอื ก on หรือ off
ตารางที่ 1.5 ชนดิ ข้อมูล Yes / NO
QuickStart ประกอบด้วยรายละเอยี ดดังน้ี
ชนดิ ของขอ้ มลู คำอธบิ าย
Address ใช้สำหรับแสดงทอี่ ยู่
Phone ใช้สำหรบั แสดงหมายเลขโทรศัพท์
Priority ใช้สำหรบั แสดงกล่อง drop-downเพ่ือเลอื กลำดับความสำคญั
Status ใชส้ ำหรบั แสดงกลอ่ ง drop-down โดยจะมีตวั เลอื กแสดงสถานะ
Tags ใชส้ ำหรับแสดง Tags โดยจะมีได้สูงสุด 3 Tags
นางศรีวรรณ ชูมี ตารางที่ 1.6 ชนดิ ขอ้ มลู Quick Start
แผนกวิชาคอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ
รหัสวิชา 30204 – 2002 วิชาระบบจัดการฐานข้อมูล 30
1.5 องคป์ ระกอบของฐานขอ้ มลู
1.5.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
ในระบบฐานข้อมูลที่มีประสทิ ธภิ าพควรมฮี ารด์ แวร์ตา่ ง ๆ ท่พี ร้อมจะอำนวยความสะดวกในการ
บรหิ ารระบบงานฐานข้อมลู ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ไม่วา่ จะเปน็ ขนาดของหนว่ ยความจำ ความเรว็ ของหน่วย
ประมวลผลกลาง อปุ กรณน์ ำเขา้ และออกรายงาน รวมถึงหนว่ ยความจำสำรองท่รี องรบั การประมวลผลข้อมูลใน
ระบบได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
1.5.2 ซอฟต์แวร์ (Program)
ในการประมวลผลฐานขอ้ มลู อาจจะใช้โปรแกรมทแ่ี ตกต่างกนั ทงั้ นี้ข้นึ อยกู่ ับระบบคอมพิวเตอร์ที่ใชว้ ่า
เป็นแบบใด โปรแกรมทีท่ ำหน้าทก่ี ารสรา้ ง การเรยี กใชข้ ้อมูล การจดั ทำรายงาน การปรบั เปลย่ี นแก้ไขโครงสร้าง
การควบคมุ หรือกล่าวไดอ้ ีกอยา่ งหนึง่ ว่า ระบบจัดการฐานขอ้ มูล (Database Management System) คอื
โปรแกรมหรอื ซอฟทแ์ วร์ทท่ี ำหนา้ ทใ่ี นการจัดการฐานขอ้ มลู โดยจะเปน็ สื่อกลางระหว่างผูใ้ ช้ และโปรแกรม
ประยกุ ตต์ า่ ง ๆ ท่ีมีอยู่ในฐานข้อมูล
1.5.3 ขอ้ มูล (Data)
ฐานขอ้ มลู เปน็ การจัดเก็บรวบรวมขอ้ มูลให้เป็นศูนยก์ ลางข้อมลู อย่างเป็นระบบ ซง่ึ ข้อมลู เหล่าน้ี
สามารถใชร้ ว่ มกันได้ ผู้ใช้ขอ้ มูลในระบบฐานข้อมูล จะมองภาพข้อมลู ในลักษณะทแ่ี ตกตา่ งกนั เช่น ผใู้ ช้บางคน
มองภาพของข้อมลู ท่ีถูกจดั เก็บไวใ้ นสอ่ื เก็บข้อมูลจริง (Physical Level) ในขณะทผ่ี ู้ใช้บางคนมองภาพข้อมลู จาก
การใชง้ านของผู้ใช้ ( External Level )
1.5.4 บคุ ลากร (People)
ผ้ใู ช้ท่ัวไปเปน็ บุคลากรที่ใชข้ ้อมูลจากระบบฐานข้อมูล เพ่ือให้งานสำเร็จลุล่วงได้ เช่น ในระบบข้อมูล
การจองตวั๋ เคร่อื งบิน ผใู้ ชท้ ่วั ไป คือ พนักงานจองต๋วั พนักงานปฏิบัติงาน (operating) เป็นผ้ปู ฏิบตั กิ ารด้านการ
ประมวลผล การปอ้ นข้อมลู ลงเคร่ืองคอมพวิ เตอร์
นักวเิ คราะห์และออกแบบระบบ ( System Analyst ) เปน็ บุคลากรท่ีทำหนา้ ท่ีวเิ คราะห์ระบบฐานข้อมูล
และออกแบบระบบงานทจ่ี ะนำมาใช้
ผู้เขียนโปรแกรมประยุกต์ใชง้ าน (Programmer) เป็นผู้ทำหนา้ ทีเ่ ขยี นโปรแกรมประยุกตใ์ ช้งานต่าง ๆ
เพอ่ื ให้การจดั เกบ็ การเรียกใช้ข้อมลู เปน็ ไปตามความต้องการของผูใ้ ช้
ผู้บริหารงานฐานขอ้ มลู ( Database Administrator : DBA) เปน็ บุคคลที่ทำหน้าท่ีบริหารและควบคุม
การบรหิ ารงานของระบบฐานข้อมูลท้ังหมด เปน็ ผู้ที่จะต้องตดั สนิ ใจวา่ จะรวบรวมข้อมลู อะไรเข้าสู่ระบบ จดั เกบ็
โดยวิธใี ด เทคนิคการเรยี กใชข้ ้อมลู กำหนดระบบการรกั ษาความปลอดภยั ของข้อมลู การสรา้ งระบบข้อมลู สำรอง
การกู้ และประสานงานกับผู้ใชว้ า่ ตอ้ งการใชข้ ้อมลู อยา่ งไร รวมถงึ นักวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบ และ
โปรแกรมเมอร์ ประยกุ ต์ใช้งาน เพื่อให้การบรหิ ารการใช้งานเป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ
นางศรีวรรณ ชูมี แผนกวชิ าคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ
รหสั วิชา 30204 – 2002 วิชาระบบจัดการฐานข้อมูล 31
1.5.5 ข้ันตอนการปฏิบัตงิ าน (Procedures)
ในระบบฐานข้อมูลควรมกี ารจัดทำเอกสารทีร่ ะบขุ ั้นตอนการทำงานของหนา้ ทก่ี ารงานตา่ ง ๆ ในระบบ
ฐานข้อมูล ในสภาวะปกติ และในสภาวะท่ีระบบเกิดปัญหา ( Failure ) ซ่งึ เปน็ ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ านสำหรับ
บคุ ลากรทุกระดบั ขององค์กร
1.6 ประโยชนข์ องระบบฐานขอ้ มลู
1.6.1 สามารถลดความซำ้ ซ้อนของข้อมลู ได้
การจดั เก็บข้อมูลในแฟ้มขอ้ มูลธรรมดานน้ั อาจจำเปน็ ท่ีแตล่ ะคนจะต้องมแี ฟ้มข้อมูลของตนไวเ้ ปน็ ส่วนตวั
จงึ อาจเปน็ เหตุให้มีการเกบ็ ข้อมลู ชนดิ เดยี วกนั ไว้หลายๆ ท่ี ทำใหเ้ กดิ ความซำ้ ซอ้ น (Redundancy) การนำข้อมลู
มารวมเกบ็ ไวใ้ นฐานข้อมูลจะช่วยลดปญั หาการเกดิ ความซ้ำซ้อนของขอ้ มลู ได้ โดยระบบจดั การฐานข้อมลู
(Database Management System: DBMS) จะชว่ ยควบคุมความซ้ำซอ้ นได้ เนือ่ งจากระบบจดั การฐานข้อมูล
จะทราบไดต้ ลอดเวลาวา่ มีข้อมูลซำ้ ซ้อนกันอยู่ทีใ่ ดบ้าง
1.6.2 สามารถใชข้ ้อมูลรว่ มกันได้
ในระบบฐานข้อมลู จะเปน็ การจัดเก็บข้อมลู รวมไว้ด้วยกัน ดังนั้นหากผใู้ ชต้ อ้ งการใชข้ ้อมลู ในฐานข้อมูล
ทมี่ าจากแฟ้มข้อมลู ตา่ ง ๆ กส็ ามารถตดิ ต่อและเรียกใช้ข้อมูลได้โดยงา่ ย
1.6.3 หลีกเลย่ี งความขัดแยง้ ของขอ้ มูลได้
สบื เนอ่ื งจากการเกบ็ ข้อมลู ชนิดเดยี วกนั ไว้หลาย ๆ ที่เม่อื มีการปรบั ปรุงข้อมูลเดียวกันนี้ แต่ปรับปรงุ ไมค่ รบ
ทกุ ทท่ี ่ีมขี ้อมูลเก็บอยู่ ก็จะทำให้เกดิ ปญั หาขอ้ มูลชนดิ เดยี วกนั อาจมีคา่ ไมเ่ หมือนกนั ในแตล่ ะท่ีที่เกบ็ ข้อมูลอยู่ จงึ
ก่อใหเ้ กดิ ความขดั แย้งของข้อมลู ขึ้น (Inconsistency)
1.6.4 สามารถรกั ษาความถูกต้องเช่อื ถือไดข้ องขอ้ มูล
ในระบบจัดการฐานข้อมลู (DBMS) จะสามารถใส่กฎเกณฑ์เพ่ือควบคุมความผดิ พลาดที่อาจเกิดขน้ึ ได้ เชน่
การปอ้ นข้อมูลทีผ่ ิดพลาด การคำนวณค่าที่ให้ค่าความถูกต้องแมน่ ยำ ฯลฯ
1.6.5 สามารถกำหนดระบบความปลอดภยั ของข้อมูลได้
การป้องกนั ไมใ่ หผ้ ู้ใชท้ ่ีไม่มสี ทิ ธ์มิ าใช้ หรือมาเห็นข้อมูลบางอยา่ งในระบบ ผูบ้ ริหารฐานข้อมลู จะสามารถ
กำหนดระดับการเรยี นใช้ข้อมูลของผู้ใช้แตล่ ะคนไดต้ ามความเหมาะสม ทั้งน้เี นื่องจากผใู้ ช้แตล่ ะคนจะสามารถมอง
ขอ้ มูลในฐานข้อมูล ท่ตี ่างกันตามสทิ ธท์ิ ี่ตนเองไดร้ บั ในการเข้าถึงฐานข้อมูล
1.6.6 สามารถกำหนดความเปน็ มาตรฐานเดียวกนั ของข้อมูลได้
การเกบ็ ข้อมลู รว่ มกนั ได้ในฐานขอ้ มูล จะทำให้สามารถกำหนดมาตรฐานของข้อมูลได้ รวมทง้ั มาตรฐานตา่ ง
ๆ ในการจดั เกบ็ ข้อมลู ให้เป็นไปในลักษณะเดยี วกนั ได้ เช่น การกำหนดรปู แบบการเขยี นวนั ท่ใี นลกั ษณะ วัน/เดือน/
ปี หรือ ป/ี เดอื น/วนั กส็ ามารถกำหนดได้ ทง้ั น้ีจะมผี ้ทู ่ี คอยบรหิ ารฐานข้อมูลทเ่ี ราเรียกว่า ผู้บรหิ ารฐานข้อมูล
(Database Administrator : DBA) เป็นผกู้ ำหนดมาตรฐานต่าง ๆ เหลา่ น้ี
1.6.7 เกดิ ความเป็นอสิ ระของข้อมูล
นางศรีวรรณ ชูมี แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ
รหสั วิชา 30204 – 2002 วิชาระบบจดั การฐานข้อมูล 32
โดยปกตโิ ปรแกรมที่เขียนข้นึ ใชง้ านจะมีความสัมพันธ์กบั รายละเอยี ดหรอื โครงสร้างของแฟ้มข้อมลู ที่
ต้องการใช้ ดงั นน้ั หากมีการเปล่ียนแปลงโครงสรา้ งขอ้ มลู ในแฟม้ ข้อมูลใดเกดิ ขึน้ ก็ต้องแกไ้ ขโปรแกรมทุกโปรแกรม
ทีเ่ ก่ียวข้องกบั การเรียกขอ้ มลู จากแฟ้มข้อมลู ดงั กล่าวด้วย ถงึ แม้วา่ โปรแกรมเหลา่ นน้ั อาจจะเป็นเพียงเรยี กใช้
แฟม้ ขอ้ มลู ดังกล่าว เพื่อดขู ้อมูลบางอยา่ งที่มิได้มีการปรับโครงสร้างก็ตาม ในระบบฐานข้อมูลจะมตี ัวจดั การ
ฐานขอ้ มูลทำหน้าทเี่ ปน็ ตัวเชื่อมโยงกับฐานขอ้ มูล โปรแกรมตา่ ง ๆ อาจไมจ่ ำเป็นต้องมโี ครงสรา้ งขอ้ มูลทุกครงั้
ดังนัน้ การแก้ไขข้อมลู บางครั้งจงึ อาจกระทำเฉพาะกับโปรแกรมท่เี รยี กใช้ขอ้ มูลที่เรียกใชข้ อ้ มลู ท่ีเปล่ยี นแปลง
เท่านัน้ ส่วนโปรแกรมทไี่ ม่ได้เรียกใช้ข้อมลู ดังกล่าว กจ็ ะเป็นอิสระจากการเปลี่ยนแปลงท่ีกลา่ วมา
1.7 รปู แบบของระบบฐานขอ้ มลู
มอี ยู่ดว้ ยกนั 3 รูปแบบ คอื
1.7.1 ฐานข้อมลู เชงิ สัมพนั ธ์ (Relational Database)
เป็นการเกบ็ ข้อมลู ในรปู แบบที่เปน็ ตาราง (Table) หรือเรียกว่า รีเลชัน (Relation) มีลักษณะเป็น 2 มิติ คือ
เป็นแถว (Row) เป็นคอลัมน์ (Column) การเชือ่ มโยงข้อมลู ระหว่างตารางจะเชอื่ งโยงโดยใชแ้ อททริบิวต์
(Attribute) หรือคอลมั น์ท่เี หมอื นกนั ท้ังสองตารางเป็นตัวเช่ือมโยงขอ้ มลู ตัวอย่าง เช่น ตารางนกั ศึกษาถา้ ต้องการ
ทราบวา่ นักศึกษา รหัส 10001 ลงทะเบียนวชิ าอะไร กห่ี นว่ ยกติ กส็ ามารถนำรหสั วชิ าในตารางนกั ศกึ ษาไป
ตรวจสอบกบั รหสั วชิ า ซ่งึ เป็นคยี ห์ ลักในตารางหลักสตู ร เพอ่ื นำช่ือวชิ าและจำนวนหนว่ ยกิตมาใช้ดงั ตาราง
ตารางนกั ศึกษา
รหสั นกั ศกึ ษา ชอื่ -สกลุ แผนกวชิ า รหสั วชิ า
10001 สมปอง มาดี คอมพิวเตอร์ 001
10002 สมศรี ดีงาม การตลาด 002
10003 สมชาย กล้าหาญ บัญชี 003
ตารางหลกั สตู ร
รหสั วชิ า ชอ่ื วชิ า หนว่ ยกติ
001 คอมพิวเตอร์เบอ้ื งตน้ 3
002 การขายเบื้องตน้ 2
003 พิมพ์ดดี ไทย 2
ตารางที่ 1.7 ตารางฐานขอ้ มูลเชิงสมั พนั ธ์
1.7.2 ฐานขอ้ มลู แบบเครือขา่ ย (Network Database)
ฐานข้อมลู แบบเครอื ข่าย จะเปน็ การรวมระเบียนตา่ ง ๆและความสัมพันธร์ ะหวา่ ง
นางศรีวรรณ ชมู ี แผนกวิชาคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ
รหัสวิชา 30204 – 2002 วิชาระบบจัดการฐานข้อมูล 33
ระเบียนแตจ่ ะตา่ งกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คือ ในฐานข้อมูลเชิงสมั พนั ธจ์ ะแฝงความสัมพันธเ์ อาไว้ โดยมรี ะเบยี นท่ี
มคี วามสมั พนั ธก์ ัน จะต้องมีคา่ ของข้อมลู ในแอททริบิวต์หนึง่ เหมอื นกนั แต่ในฐานขอ้ มูลแบบเครอื ขา่ ย จะแสดง
ความสมั พนั ธ์อย่างชัดเจน โดยแสดงไวใ้ นโครงสร้างตัวอย่างเชน่
คอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ การบญั ชี
ระบบจัดการฐานขอ้ มูล การวเิ คราะห์และออกแบบ การบญั ชเี บอ้ื งต้น
สมปอง มาดี สมศรี ดีงาม สมชาย กลา้ หาญ
รูปที่ 1.4 ฐานขอ้ มลู แบบเครอื ข่าย
จะเห็นไดว้ า่ กรอบสี่เหล่ยี มแสดงถงึ ชนดิ ของระเบียนในฐานข้อมลู โดยเส้นทางการ
แสดงความสมั พนั ธ์ระหวา่ งข้อมูล เป็นการแสดงความสมั พนั ธ์แบบกลมุ่ ต่อกลุ่ม (many to many) จากรูป พบวา่
ในแตล่ ะสาขามหี ลักสูตรมากกวา่ 1 รายวิชา และในแตล่ ะวิชาพบวา่ มีนักศึกษาลงทะเบียนเรยี นมากกวา่ 1 คน และ
นกั ศึกษา 1 คนก็สามารถลงทะเบยี นได้มากกวา่ 1 วชิ า
1.7.3 ฐานขอ้ มลู แบบลำดับชั้น (Hierarchical Database)
เปน็ โครงสรา้ งทจ่ี ัดเก็บขอ้ มูลในลักษณะความสัมพนั ธแ์ บบ Parent-Child Relationship Type หรือเป็น
โครงสรา้ งรปู แบบตน้ ไม้ (Tree) ข้อมลู ทีจ่ ดั เก็บในทีน่ ี้ คอื ระเบียน (Record) ซึง่ ประกอบด้วยคา่ ของเขตข้อมลู
(Field) ของเอนทิตหี้ น่ึงๆ
ฐานข้อมลู แบบลำดบั ชั้นน้คี ลา้ ยคลึงกบั ฐานขอ้ มูลแบบเครอื ข่าย ตา่ งกนั ทฐ่ี านข้อมลู แบบลำดับชั้น มีกฎเพมิ่
ข้ึนมาหนง่ึ ประการ คือ ในแต่ละกรอบจะมลี ูกศรวง่ิ เข้าหาไมเ่ กนิ 1 หวั ลูกศร
รปู ท่ี 1.5 ฐานข้อมลู แบบ รหัสแผนก แผนก ที่ต้ัง ลำดบั ชั้น
ช่ือแผนก
นกั ศกึ ษา ทอ่ี ยู่ รหสั วชิ า หลักสตู ร หน่วยกติ
รหัสนักศกึ ษา ชอื่ นักศกึ ษา ชื่อวิชา
จากรูปท่ี 1.5 ระเบียบ 3 ระเบยี น คือ แผนก นักเรียน และหลักสตู ร ความสมั พนั ธ์แบบ PCR
นางศรีวรรณ ชมู ี แผนกวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
รหัสวิชา 30204 – 2002 วิชาระบบจดั การฐานข้อมูล 34
2 ประเภท คอื ความสัมพันธข์ องข้อมูลแผนกกับนักศึกษา และความสัมพันธ์ของขอ้ มลู แผนกกบั หลักสตู ร โดยมี
แผนกเป็นระเบยี นประเภทพ่อ-แม่ สว่ นนักศึกษา และหลักสตู รเป็นระเบยี นประเภทลูก ความสัมพนั ธ์ของทง้ั 2
ประเภทแบบหน่งึ ต่อกลุ่ม (1:n)
สรุปคุณสมบัติของฐานขอ้ มูลแบบลำดบั ช้นั ได้ดังนี้
หากระเบียนใดเป็นประเภทพอ่ -แม่ (Parent Record Type) แล้วจะมีคุณสมบัตเิ ปน็ ประเภทลูก (Child
Record Type) ไม่ได้
1. ทุกระเบียนยกเว้นระเบยี นที่เปน็ พ่อ-แม่ สามารถมีความสมั พันธก์ บั ระเบียนที่เปน็ ประเภทพ่อ-แม่ได้ 1
ความสัมพนั ธ์
2. ทุกระเบียนสามารถมีคณุ สมบัติเปน็ ระเบยี นประเภทพ่อ-แมไ่ ด้
3. ถา้ ระเบยี นหน่งึ มรี ะเบยี นลูกมากกวา่ หนึ่งระเบยี นแลว้ การลำดบั ความสัมพันธข์ องระเบียนที่เป็นลูกจะ
ลำดบั จากซา้ ยไปขวา
1.8 โปรแกรมทน่ี ยิ มใชใ้ นการจดั การฐานขอ้ มลู
โปรแกรมฐานข้อมูล เปน็ โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ทีช่ ว่ ยจัดการข้อมูลหรือรายการ ต่างๆ ท่ี
อยใู่ นฐานข้อมลู ไม่วา่ จะเป็นการจัดเก็บ การเรียกใช้ การปรับปรุง ขอ้ มูล โปรแกรม
ฐานขอ้ มลู จะชว่ ยใหผ้ ูใ้ ชส้ ามารถคน้ หาข้อมลู ได้อย่างรวดเรว็ ซง่ึ โปรแกรมฐานข้อมูลท่ี
นิยมใช้มอี ยู่ด้วยกนั หลายตัว เชน่ Access, FoxPro, Clipper, dBase, FoxBASE,
Oracle, DB2, SQL เปน็ ตน้ โดยแตล่ ะโปรแกรมจะมีความสามารถต่างกนั บางโปรแกรมใชง้ า่ ยแต่จะจำกดั ขอบเขต
การใชง้ านบางโปรแกรมใช้งานยากกว่าแต่จะมีความสามารถในการทำงานมากกวา่ จึงจะขอกลา่ วถึงโปรแกรม
ฐานข้อมูลบางโปรแกรมทนี่ ิยมใช้กนั ไดแ้ ก่
1.8.1 โปรแกรม dBase
การใชง้ านจะคล้ายกับโปรแกรม FoxPro ขอ้ มลู หรอื รายงานที่อยใู่ นไฟล์บน dBase จะ สามารถสง่ ไป
ประมวลผลในโปรแกรม Word Processor ได้และแมแ้ ต่โปรแกรม Excel ก็สามารถอ่านไฟล์ DBF ทสี่ รา้ งข้ึน โดย
โปรแกรม dBase ได้
1.8.2 โปรแกรม Access
เป็นโปรแกรมทีน่ ิยมใชก้ ันมากในขณะนี้ โดยเฉพาะในระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ สามารถสรา้ ง
แบบฟอร์มที่ต้องการจะเรียกดูข้อมูลในฐานข้อมูล หลงั จากบันทึกข้อมลู ลงในฐานข้อมลู เรียบรอ้ ยแล้ว จะสามารถ
คน้ หาหรอื เรยี กดูข้อมูลจากเขตข้อมลู ใดก็ได้ การแสดงผลกอ็ าจแสดงทางจอภาพ หรือส่งพิมพอ์ อกทางเครื่องพมิ พ์
ได้ นอกจากน้ี Access ยังมีระบบความปลอดภัยของข้อมูล โดยการกำหนดรหสั ผ่านเพอื่ ป้องกันความปลอดภัย
ของขอ้ มลู ในระบบไดด้ ว้ ย
1.8.3 โปรแกรม FoxPro
เป็นโปรแกรมฐานข้อมลู ท่ีมีผู้ใช้งานมากท่สี ุด เนือ่ งจากใชง้ ่ายท้ังวธิ ีการเรียกจาก เมนูของ FoxPro และ
ประยุกตโ์ ปรแกรมข้ึนใช้งาน โปรแกรมที่เขียนดว้ ย FoxPro จะสามารถใช้กับ dBase คำส่งั และฟังกช์ ัน่ ตา่ ง ๆ ใน
dBase จะสามารถ ใชง้ านบน FoxPro ได้นอกจากน้ีใน FoxPro ยังมี เคร่ืองมือชว่ ยในการเขยี นโปรแกรม เชน่ การ
นางศรีวรรณ ชูมี แผนกวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ
รหัสวชิ า 30204 – 2002 วิชาระบบจัดการฐานข้อมูล 35
สร้างรายงาน โปรแกรมท่ีเขียนดว้ ย FoxPro จะสามารถแปรเปน็ ไฟล์ .EXE ไดเ้ ชน่ เดยี วกบั โปรแกรมภาษาอ่ืน ๆ
และสามารถนำไปใช้งานกบั คอมพวิ เตอรเ์ ครื่องอ่นื ๆ ไดโ้ ดยไม่จำเปน็ ต้องมีโครงสรา้ งของ FoxPro อยใู่ นเคร่ืองด้วย
1.8.4 โปรแกรม SQL
เปน็ โปรแกรมฐานข้อมลู ทีม่ โี ครงสร้างของภาษาทีเ่ ข้าใจงา่ ย ไมซ่ บั ซ้อน มีประสทิ ธิภาพในการทำงานสูง
สามารถทำงานท่ีซับซ้อนได้โดยใช้คำสั่งเพยี งไม่กี่คำสัง่ โปรแกรมSQL จึงเหมาะท่จี ะใช้กับระบบฐานข้อมูลเชงิ
สัมพันธ์ และเป็นภาษาหนึ่งที่มผี ู้นยิ มใชก้ นั มาก โดยทัว่ ไปโปรแกรมฐานข้อมลู ของบริษทั ตา่ ง ๆ ทใ่ี ชอ้ ยู่ในปจั จุบัน
เช่น Oracle, DB2 กม็ ักจะมีคำส่งั SQL ท่ตี า่ งจากมาตรฐานไปบา้ งเพือ่ ใหเ้ ป็นจุดเด่น ของแต่ละโปรแกรม
1.8.5 Oracle
ฐานขอ้ มลู Oracle เป็นฐานข้อมลู ท่ีได้รบั ความนยิ มและมกี ารใชง้ านอย่างแพรห่ ลาย เน่อื งจากเป็น
ฐานข้อมูลท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ ในการทำงานสูง เหมาะกับการจัดการเก็บขอ้ มลู ขนาดใหญท่ ่ีต้องการความปลอดภัย
และความมั่นคงในการใชง้ าน การจดั การฐานข้อมูล Oracleให้เปน็ ไปอย่างถูกต้องจะช่วยให้การใชง้ าน ฐานข้อมูล
เปน็ ไปได้งา่ ยและมีประสิทธภิ าพมากย่ิงขึ้น หนา้ ทใี่ นการจดั การฐานข้อมูลเป็นหนา้ ท่หี ลักของผู้ดแู ละระบบ
ฐานข้อมูล หรือ DBA (Database Administrator)
สรุป
หลกั การของระบบฐานข้อมลู เป็นการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ทมี่ ีความสมั พนั ธก์ ันไวอ้ ย่างเปน็ ระบบใน
ที่เดียวกนั ผู้ใช้สามารถเรียกใชข้ อ้ มูลรว่ มกนั ได้ ซ่ึงจะสามารถแกไ้ ขปัญหาในการจดั เก็บขอ้ มลู แบบแฟ้มข้อมลู ได้
ระบบฐานข้อมูลจะประกอบด้วยคำศพั ทใ์ นการอธิบายความหมายและสว่ นประกอบต่างๆของฐานข้อมลู การ
จดั เก็บข้อมลู แบบฐานขอ้ มลู จะมคี วามสัมพันธ์ระหว่างเอนทติ ี้ ซึง่ จะเป็นการลดความซ้ำซอ้ นของข้อมูล ความไม่
ถูกต้องของข้อมูล รวมท้ังขอ้ มลู แตล่ ะประเภทจะมีชนิดและลักษณะของข้อมลู ท่แี ตกต่างกนั ขน้ึ กบั การนำข้อมลู แต่
ละชนิดไปกำหนดให้เขตขอ้ มูล องคป์ ระกอบของฐานข้อมลู ได้แก่ ฮารด์ แวร์ ซอฟตแ์ วร์ ข้อมูล ซ่ึงผใู้ ชห้ ลายคน
สามารถเรยี กใช้หรือดงึ ข้อมลู ชุดเดียวกันได้ ณ เวลาเดยี วกนั หรอื ตา่ งเวลากัน บุคลากร และขน้ั ตอนการปฏบิ ัติงาน
ทัง้ ในสภาวะปกติ และในสภาวะทรี่ ะบบเกดิ ปัญหา การจัดเก็บข้อมูลในรปู แบบฐานขอ้ มูล มีความสำคญั คือ ลด
การเก็บขอ้ มลู ทซี่ ำ้ ซ้อน ทำใหไ้ ม่เปลืองเน้ือท่ใี นการเกบ็ ข้อมูล ขอ้ มลู จงึ มคี วามถกู ต้องเช่ือถือได้ ผใู้ ชส้ ามารถ
เรียกใชข้ ้อมูลร่วมกันได้ การใชร้ ปู แบบของฐานข้อมูลมีความแตกต่างกัน สำหรบั โปรแกรมฐานข้อมลู จะช่วยให้
ผใู้ ช้สามารถค้นหาข้อมูลไดอ้ ย่างรวดเรว็ ซ่ึง โปรแกรมฐานข้อมูลท่ีนิยมใชม้ ีอยู่ด้วยกันหลายตวั เชน่ Access,
FoxPro, Clipper, dBase, FoxBASE, Oracle, DB2, SQL เป็นตน้
นางศรีวรรณ ชูมี แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกจิ