แนวทางปฏบิ ัติ
และมาตรการรักษาความปลอดภยั ของสถานศกึ ษา
โรงเรยี นวดั นิลเพชร
อาเภอบางเลน จงั หวัดนครปฐม
สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานครปฐม เขต 2
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
หน้า |2
ส่วนท่ี 1
บทนำ
หน้า |3
1. ความสำคัญจำเปน็ การดำเนินงานความปลอดภยั สถานศึกษา
ยทุ ธศาสตรช์ าติ ด้านที่ 1 การจดั การศกึ ษาเพ่ือความม่นั คงของสังคมและประเทศชาติ มีวตั ถุประสงค์
หลักในการเสรมิ สร้างความม่ันคงในชวี ิตของคนทุกชว่ งวยั จากภยั คกุ คามในรปู แบบใหม่ อาทิ อาชญากรรม
และความรุนแรงในรปู แบบต่าง ๆ ยาเสพตดิ ภยั พิบัตจิ ากธรรมชาติ ภัยจากโรคอุบัตใิ หม่ และภยั จากไซเบอร์
เปน็ ต้น แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ (พ.ศ.2560-2579) จึงได้ตระหนักถงึ การเปลีย่ นแปลงทางการศึกษาท่ีเกิดจาก
ความกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาการและเทคโนโลยีของโลกยคุ ศตวรรษท่ี 21 เป็นพลวัตทกี ่อให้เกิดความท้าทายในด้าน
การเปลย่ี นแปลงของบริบทเศรษฐกจิ และสงั คมโลก อันเนื่องจากการปฏิวัตดิ ิจิทลั (Digital Revolution)
ประเทศเข้าสูส่ งั คมสงู วยั อยา่ งสมบูรณ์ในอนาคตอันใกล้ การติดกบั ดกั ประเทศทม่ี รี ายได้ปานกลาง ทัศนคติ
ความเชือ่ ค่านยิ ม วัฒนธรรม และพฤตกิ รรมของประซากรทีป่ รบั เปลยี่ นไปตามกระแสโลกาภวิ ตั น์เปน็ ผลให้
เกิดการเร่งแกไ้ ขปัญหา ท้งั ยังเกดิ ภยั คุกคามตอ่ ความมั่นคงรูปแบบใหมท่ ี่สง่ ผลกระทบต่อประชาชนและ
ประเทศชาติมคี วามชับซ้อนและรนุ แรงมากข้ึน ซ่งึ ภยั ในแตล่ ะดา้ นลว้ นมีความสำคัญตอ่ การพัฒนาประเทศ
กอปรกับนโยบาย Quick Win 7 วาระเรง่ ดว่ น ข้อที่ 1 ความปลอดภัยของผ้เู รียน กระทรวงศกึ ษาธิการ
มองเห็นภัยท่เี กิดแก่นักเรยี นครู และบุคลากรทางการศึกษา ที่เกิดขึ้นซำ้ และส่งผลกระทบตอ่ สภาพรา่ งกายและ
จติ ใจในหลายปีทีผ่ ่านมา เชน่ ภยั จากการคกุ คามทางเพศ ภยั จากการกลน่ั แกล้งรังแก (Bully) รวมถึงภยั ท่ีเกดิ
จากโรคอุบตั ิใหม่ ไดแ้ ก่ การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เป็นผลให้เป็น
อปุ สรรคตอ่ การเรียนรูแ้ ละสวัสดภิ าพชวี ิตของนกั เรียน ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา
นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ม่งุ ม่ันในการพฒั นาการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐานใหเ้ ปน็
"การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานวิถใี หม่ วิถคี ุณภาพ" มุ่งเนน้ ความปลอดภัยในสถานศึกษา ส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา
ทีม่ ีคณุ ภาพอย่างเท่าเทียมและบริหารจัดการศึกษาอย่างมปี ระสิทธิภาพ โดยมงุ่ เน้นพฒั นาระบบและกลไก
ในการดูแลความปลอดภัยใหแ้ กผ่ ู้เรียน ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา และสถานศกึ ษา จากภัยพบิ ัติและภัย
คุกคามทกุ รปู แบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดลอ้ มท่ีเอือ้ ต่อการมีสขุ ภาวะทดี่ ี สามารถปรับตวั ตอ่ โรคอุบตั ใิ หม่
และอุบัติซำ้ สง่ เสรมิ ความปลอดภยั สรา้ งความมน่ั ใจให้สงั คม เพ่อื คุ้มครองความปลอดภัยแกน่ ักเรยี น ครู และ
บคุ ลากรทางการศกึ ษาสงั กดั กระทรวงศึกษาธิการ เพอ่ื ใหก้ ารป้องกนั ดูแล ช่วยเหลอื หรือเยยี่ วยา และแก้ไข
ปัญหามีความเปน็ เกภาพ มขี อ้ มูลสารสนเทศท่ี เป็นระบบ สามารถแกไ้ ขปญั หาและบริหารจัดการความเส่ยี งได้
อยา่ งยัง่ ยืนดว้ ยการบริหารจัดการตามมาตรการ 3 ไดแ้ ก่ ปอ้ งกนั ปลูกฝัง และปราบปราม ใหเ้ กดิ ความ
ปลอดภยั ให้มากท่ีสุด และไม่ใหเ้ กดิ เหตุการณ์น้นั ซำ้ อีก เพอื่ สรา้ งความมัน่ ใจ และความเชอ่ื ม่ันใหแ้ ก่นกั เรยี น
ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาผปู้ กครอง และประชาชนท่วั ไป ในการที่จะได้เรยี นรู้อย่างมีคุณภาพ และเกดิ
ความปลอดภยั อย่างม่นั คงและย่ังยืน เพ่อื ให้แนวทางการปฏิบัติสอดคล้องและเป็นระบบ โรงเรยี นจงึ ได้จดั ทำ
คูม่ อื การดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศึกษาเพ่ือเปน็ แนวทางในการสร้างความปลอดภัยในเกิดแกน่ ักเรียน
เปน็ สำคญั เพราะความปลอดภยั เปน็ ปจั จัยทีส่ ง่ ผลกระทบโดยตรงต่อคณุ ภาพและการเรยี นรขู้ องผ้เู รียน
หน้า |4
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพอ่ื สรา้ งความรคู้ วามเข้าใจแกค่ รู บุคลากร นักเรียน ในการดำเนินงานความปลอดภยั
สถานศกึ ษา
2.2 เพื่อสร้างความเขม้ แขง็ การดำเนินงานความปลอดภยั สถานศกึ ษา
2.3 เพื่อดำเนนิ งานความปลอดภยั สถานศึกษาอย่างเป็นระบบ
2.4 เพื่อรายงานการดำเนนิ การด้านความปลอดภัยตอ่ หน่วยงานต้นสังกัด
3. เปา้ หมาย
3.1 สถานศกึ ษามีแผนความปลอดภัยตามบรบิ ทของสถานศึกษา
3.2 สถานศกึ ษามกี ารปฏบิ ัติที่เป็นเลิศ ในการเสริมสรา้ งความปลอดภัยสถานศึกษาเพื่อการพัฒนา
อย่างย่งั ยนื
3.3 นักเรยี น ครูและบุคลากรทางการศึกษาไดร้ บั ความคุ้มครองดูแลให้มีความปลอดภยั
3.4 สถานศึกษากับ หน่วยงานตน้ สังกดั หน่วยงานท่เี กี่ยวข้อง และภาคเี ครือข่ายมสี ว่ นร่วมในการ
ดำเนินงานด้านความปลอดภัยสถานศึกษา
4. ตัวขี้วัดความสำเร็จ
4.1 สถานศกึ ษามีแผนความปลอดภยั ตามบริบทของสถานศกึ ษา
4.2 ร้อยละ 80 ของสถานศึกษามีการปฏิบตั ทิ ่ีเป็นเลิศ ในการเสรมิ สร้างความปลอดภยั สถานศึกษา
เพือ่ การพัฒนา
4.3 นักเรยี น ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาทกุ คนได้รับความคมุ้ ครองดูแลให้มคี วามปลอดภัย
4.5 รอ้ ยละความรว่ มมอื ระหว่างสถานศกึ ษากับหน่วยงานต้นสงั กดั หนว่ ยงานท่เี กีย่ วข้อง และภาคี
เครือขา่ ย มีส่วนรว่ มในการดำเนนิ งานด้านความปลอดภัยสถานศึกษาอยา่ งยงั่ ยนื
หน้า |5
สว่ นท่ี 2
องคค์ วามรดู้ ้านความปลอดภยั
หน้า |6
การศึกษามคี วามสำคัญต่อการพฒั นาประเทศ ในฐานะท่ีเป็นกระบวนการหนง่ึ ทมี่ บี ทบาทโดยตรงตอ่
การพัฒนาทรพั ยากรมนุษยใ์ หม้ ีคณุ ภาพสอดคล้องกับความตอ้ งการและทศิ ทางของประเทศ การศกึ ษาจึง
หมายถึงการพฒั นาบุคคลให้มีความเจรญิ งอกงามทกุ ด้าน ทั้งร่างกาย สตปิ ญั ญา อารมณ์ และสงั คม การสรา้ ง
ความปลอดภัยให้แกน่ ักเรยี นเป็นส่ิงสำคญั เพราะความปลอดภยั เป็นปจั จยั ที่ส่งผลกระทบโดยตรงตอ่ คุณภาพ
การเรียนรขู้ องนกั เรียน การพฒั นาทรพั ยากรบุคคลให้ประสบผลสำเร็จตามเปา้ ประสงคข์ ้ึนอยกู่ ับความสขุ และ
การมีชวี ิตที่ปลอดภัยท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา สามารถปอ้ งกนั หรือไดร้ บั การปอ้ งกนั ตนเองจาก
ปจั จัยเส่ียงทอี่ าจเกิดข้ึนได้ มีความรู้ ความเขา้ ใจ จติ สำนกึ และเจตคตทิ ี่ดี และมีทักษะในการปอ้ งกนั ภัย
สามารถหรอื ได้รับการแกไ้ ขปัญหา ชว่ ยเหลือ เยียวยา ฟืน้ ฟู และดำเนนิ การตามขน้ั ตอนของกฎหมาย
1. นโยบายดา้ นความปลอดภัย
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 256. - 2564 ไดก้ ำหนดแนวทางการบริหาร
จดั การเพือ่ ลดความเส่ียงดา้ นภยั พบิ ัตเิ พ่ือใหเ้ กิดความเสยี หายน้อยท่ีสุดและนำไปสกู่ ารพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื
มีรายละเอยี ดดังนี้
1. บรู ณาการการลดความเสย่ี งจากภัยพิบตั ิเขา้ สู่กระบวนการวางแผน ทงั้ ระดับชาติ ระดับชุมชน
ท้องถน่ิ และสาขาการผลิตต่าง ๆ พัฒนาองค์ความรู้ สนับสนนุ การประเมนิ และจดั ทำแผนทคี่ วามเส่ียงจากภัย
พิบัติในพื้นทีแ่ ละภาคการผลติ ท่มี ีลำดบั ความสำคัญสงู
2. เสริมสรา้ งขดี ความสามารถในการเตรียมความพรอ้ มและการรับมอื ภยั พิบตั ิ สนับสนนุ การจัดทำ
แผนรับมอื ภัยพิบตั ใิ นระดบั พนื้ ท่ี สง่ เสริมแนวทางการจดั การภัยพิบัตโิ ดยมีชมุ ชนเปน็ ศูนยก์ ลาง สง่ เสรมิ
ภาคเอกชนในการจัดทำแผนบริหารความต่อเน่ืองของธุรกิจ สร้างจติ สำนึกความปลอดภัยสาธารณะ ส่งเสรมิ
บทบาทของภาคเอกชนและชุมชนทอ้ งถนิ่ ในการรว่ มกนั ดำเนินการปอ้ งกนั และลดความเสีย่ งจากภัยพบิ ัติ
3. พฒั นาระบบการจัดการภยั พิบัติในภาวะฉุกเฉิน พฒั นาระบบกรเตือนภยั ใหม้ ีความแมน่ ยำนา่ เชอื่ ถอื
และมีประสิทธภิ าพ ส่งเสริมกลไกการเข้าถึงขอ้ มูลขา่ วสารผา่ นเทคโนโลยสี มยั ใหม่ พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้
เป็นมาตรฐานเดียวกนั และสามารถเช่อื มโยง แลกเปลย่ี นข้อมลู ระหวา่ งหนว่ ยงานทั้งในและตา่ งประเทศได้
พฒั นากลไกบรู ณาการความร่วมมือทกุ ภาคส่วนเพอื่ เพ่มิ ศักยภาพการจัดการภัยพบิ ัตใิ นภาวะฉุกเฉิน
4.พฒั นาระบบการฟื้นฟูบรู ณะหลงั การเกดิ ภยั ให้สามารถตอบสนองตอ่ ความต้องการของผ้ปู ระสบภัย
ได้อย่างท่วั ถึงและเป็นธรรม ยกระดบั มาตรฐานการตรวจสอบความปลอดภัยภายหลังการเกิดภยั พบิ ัติ และ
ปรบั ปรุงมาตรฐานความปลอดภัยของสิ่งก่อสร้างและโครงสรา้ งพ้นื ฐาน รวมถึงพฒั นามาตรฐานความปลอดภัย
ของโครงสรา้ งแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 - 2579 ได้กำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาการศึกษาภายใต้
6 ยุทธศาสตร์หลักท่ีสอดคล้องกับยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) เพ่อื ให้
แผนการศกึ ษาแห่งชาตบิ รรลเุ ป้าหมายตามจุดม่งุ หมายวิสัยทัศน์ และแนวคิดการจดั การการศึกษา
โดยไดก้ ำหนดใน ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การจัดการศกึ ษาเพอ่ื ความมน่ั คงของสงั คมและประเทศชาติ ปจั จบุ ันภยั
คกุ คามต่อความมนั่ คงรปู แบบใหมท่ ่สี ่งผลกระทบตอ่ ประชาชนและประเทศชาติมีความชับซ้อนและรุนแรงมาก
ขนึ้ อาทิ ความรุนแรงในรูปแบบต่าง ๆ ยาเสพติด ภยั พิบตั จิ ากธรรมชาติ ภัยจากโรคอบุ ัตใิ หม่ ภัยจากไซเบอร์
หน้า |7
เป็นต้นความมนั่ คงของชาตจิ งึ มิได้ครอบคลมุ เฉพาะมติ ิด้านการทหารหรอื อำนาจอธปิ ไตยเท่านัน้ แต่ยัง
ครอบคลมุ มิตติ า่ ง ๆ ทง้ั เศรษฐกจิ สงั คม วิถีชีวติ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฯลฯ ซึ่งในแตล่ ะมิติลว้ น
มคี วามสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ
การปอ้ งกันภัยคกุ คามเหลา่ น้จี ะตอ้ งพิจารณาในมติ ทิ ม่ี คี วามเชอ่ื มโยงกนั และการดำเนินการเพ่อื วางรากฐาน
และกลไกการสร้างความมน่ั คงเพอ่ื ป้องกนั และปอ้ งปรามภยั เหล่าน้นี ั้นจะตอ้ งเริ่มที่กระบวนการจดั การศกึ ษา
ของประเทศ การดูแลและปอ้ งกันภยั คุกคามในรปู แบบใหม่ ไมว่ า่ จะเปน็ อาชญากรรม ความรนุ แรงในสังคมใน
รูปแบบต่าง ๆ ยาเสพติด ภัยพบิ ัติจากธรรมชาติ ภัยจากโรคอุบตั ิใหม่ ภยั จากไซเบอร์ เพื่อสง่ เสรมิ ให้เกิดความ
ปลอดภยั และความมน่ั คงในชีวติ ลดความเสยี่ งจากภัยคกุ คามต่าง ๆ
ดงั นน้ั การจัดการศกึ ษาท่คี รอบคลมุ ประเด็นหลกั สำคญั ทมี่ ีผลด้านความม่นั คงแก่คนในชาติจะส่งผล
ให้ทุกคนมจี ติ สำนึกความรู้ ความสามารถ ทกั ษะ ความคิด ทศั นคติ ความเชือ่ คา่ นิยม และพฤตกิ รรมท่ี
เหมาะสม รเู้ ท่าทนั การเปล่ยี นแปลงของสงั คมและโลกศตวรรษที่ 21 สามารถดำรงชีวติ อย่ใู นสังคมไดอ้ ยา่ งสันติ
และสงบสขุ อนั จะส่งผลให้สังคมและประเทศเกิดความมน่ั คงธำรงรักษาอธปิ ไตย และผา่ นพ้นจากภัยคกุ คาม
ต่าง ๆ ได้
ความเข้าใจเกย่ี วกับกรอบความปลอดภยั รอบดา้ นในโรงเรยี น (Comprehensive School Safety
Framework : CSSF) ได้ปรากฏอยูใ่ นกรอบการดำเนนิ งานระดับโลก ท้งั ท่เี ปน็ กรอบความคิดรเิ ร่ิม และ
ขอ้ ตกลงหลายฉบบั CSSF ต้ังอยใู่ จกลางของกรอบการดำเนินงานท่ีทบั ซ้อนกนั หลายดา้ น ได้แก่ เป้าหมาย การ
พัฒนาทีย่ ัง่ ยืน (Sustainable Development Goals: SDGs)อนุสัญญาว่าดว้ ยสิทธิคนพกิ าร (Convention
on the Rights of Persons with Disabilities: CRPD) การลดความเส่ยี งจากภัยพิบัติ (Disaster Risk
Reduction : DRR) และSendai Framework for DRR โดยมีหลักการสำคญั คอื การศกึ ษาเป็นสิทธิ
ขั้นพน้ื ฐานของเด็ก ซง่ึ ช่วยให้ประชาคมโลกเกดิ ความชดั เจนถงึ ภยั คุกคามจากภยั ธรรมชาติ ความขดั แยง้
ความรนุ แรงและการพลดั ถิน่
หน้า |8
หน้า |9
สามเสาหลกั ของความปลอดภัยรอบดา้ นในโรงเรยี น
ความปลอดภัยรอบดา้ นในโรงเรียน ซึ่งอยู่ภายใต้นโยบายและการปฏบิ ตั ิด้านการศกึ ษา มีความ
สอดคล้องกบั การบรหิ ารจัดการภยั พิบตั ิ ในระดับสากล ระดับประเทศ ภมู ิภาค จังหวัด และระดบั พ้นื ท่ี รวมทั้ง
ในโรงเรยี น
กรอบแนวคิดความปลอดภยั รอบดา้ นโรงเรยี น ประกอบด้วยสามเสาหลัก (Three Pillars) ไดแ้ ก่
รากฐานของการวางแผนสำหรบั ความปลอดภัยรอบดา้ นในโรงเรยี นคอื การจัดทำการประเมนิ ความ
เสี่ยงแบบภยั หลายชนดิ การวางแผนน้คี วรเป็นส่วนหนงึ่ ของระบบขอ้ มูลการจัดการการศึกษาในระดับประเทศ
ระดบั ภูมภิ าคและในระดับพ้นื ที่ ขอ้ มูลเร่ืองความเส่ยี งจากภัยพบิ ัตเิ ป็นส่วนหนึ่งของการวิเคราะหน์ โยบายของ
ภาคการศึกษาและการจัดการในภาพรวมซ่ึงจะให้ขอ้ มลู เชิงประจกั ษแ์ ละหลักฐานที่สำคัญสำหรบั การวางแผน
และการดำเนินงาน
ความปลอดภยั รอบดา้ นในโรงเรียนและความสอดคลอ้ งกับเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ัง่ ยนื (Sustainable
Development Goals) พ.ศ. 2558 - 2573 และกรอบการดำเนินงานเซนไดเพอ่ื การลดความเสีย่ งจาก
ภยั พิบตั ิ พ.ศ. 2558 – 2573 ผลสัมฤทธ์ขิ องการบูรณาการความปลอดภยั รอบด้านในโรงเรยี นเขา้ ไปในกรอบ
การพฒั นาท่ยี ั่งยนื และนโยบายและการลดความเสี่ยงภัยพบิ ัตเิ ร่อื งการลดความเสีย่ ง ไดแ้ ก่
1) ปรับปรุงการเขา้ ถึงการศึกษาของเดก็ อย่างเท่าเทียม ไมเ่ ลือกปฏิบัติ และปลอดภัย
2) พฒั นาและสร้างความเข้มแข็งให้แก่สถาบนั กสไกและเครอื ข่ายประสานงาน รวมท้ังศักยภาพ
ระดับประเทศ
ห น ้ า | 10
ในการสรา้ งความสามารถในการรู้รบั ปรบั ตัวและฟืน้ คนื กลบั (Resilience) จากภยั และอันตรายที่อาจจะ
เกดิ ขึน้ แก่ภาคการศึกษาทั้งในระดบั นานาชาติ ระดับชาติ ระดับภูมภิ าค และระดบั ทอ้ งถ่ิน
3) บรู ณาการแนวทางการลดความเสยี่ งเขา้ ไปในการดำเนินงานเก่ยี วกบั การเตรียมพร้อมรบั ภยั ฉุกเฉนิ
การตอบสนองและการฟ้ืนฟจู ากภัยพิบัติในภาคการศกึ ษา
4) ติดตามและประเมนิ ผลความก้าวหนา้ ของการดำเนินงานดน้ การลดความเส่ียงภยั พบิ ัติและความ
ขัดแยง้
5) เพ่ิมจำนวนและความสามารถในการเขา้ ถงึ ขอ้ มูลหลกั ฐานท่ีเกยี่ วกับภยั เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับระบบ
เตือนภัยล่วงหน้าสำหรับภยั หลายชนิด (multi-hazard early warning system และขอ้ มูลเกยี่ วกบั ความเสย่ี ง
ภยั พบิ ตั ิ
2. กฎหมายท่เี กยี่ วข้อง
พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546
สาระสำคญั
พระราชบญั ญัติค้มุ ครองเด็ก พ.ศ. 2546 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 120 ตอนที่ 95 ก วนั ท่ี 2
ตุลาคม 2546 มีผลบังคบั ใช้เม่อื วนั ที่ 30 มนี าคม 2547 สาระสำคัญของ พ.ร.บ. ฉบบั น้ี เก่ียวกับเร่อื งสทิ ธิ
เสรีภาพของเด็กและเยาวชนทีต่ อ้ งได้รบั ความค้มุ ครองจากรัฐโดยไม่เลอื กปฏบิ ัติ และคำนึงถึงประโยชนส์ งู สุด
ของเดก็ เปน็ สำคัญ พ.ร.บ. ฉบบั น้ี มีทง้ั หมด 9 หมวด88 มาตราดว้ ยกันแยกเป็น มาตรา 1-6 อธบิ าย
ความหมายเก่ยี วขอ้ งกบั พ.ร.บ. ฉบับนี้
ห น ้ า | 11
ระเบียบ กฎหมายความผดิ เกย่ี วกับเพศ และความผดิ ต่อเสรีภาพ
พรากผู้เยาว์
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 31* บญั ญตั ิวา่ ผู้ใดโดยปราศจากเหตุอันสมควรพรากเดก็ อายุยัง
ไม่เกินสิบห้าปไี ปเสียจากบดิ า มารดา ผปู้ กครอง หรอื ผู้ดแู ล ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 3 ปี ถึง 15 ปี และ
ปรบั ต้งั แต่ 6,000 บาท ถึง 30,000 บาท ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 318 บัญญัตวิ า่ ผ้ใู ดพรากผู้เยาว์
อายกุ ว่าสบิ หา้ ปีแตย่ ังไม่เกนิ สบิ แปดปไี ปเสียจากบิดา มารดา ผ้ปู กครอง หรือผู้ดแู ล โดยผเู้ ยาว์นนั้ ไม่เตม็ ใจไป
ดว้ ย ตอ้ งระวางโทษจำคุกตง้ั แต่ 2 ปีถึง 10 ปี และปรับตงั้ แต่ 4,000 บาท ถงึ 20,0ㆍ0 บาท ความผดิ ฐาน
พรากเดก็ หรือพรากผูเ้ ยาว์ เป็นการพาเด็กหรือผู้เยาวไ์ ป หรอื แยกเดก็ หรือผ้เู ยาว์ออกไปจากความปกครองดแู ล
ของบดิ า มารดา หรอื ผปู้ กครองของเดก็ หรอื ผเู้ ยาว์ หากการพรากเด็กหรือผเู้ ยาว์ไปเพื่อการอนาจาร เชน่ พาไป
กอดจบู ลูบคลำ ผนู้ ัน้ จะต้องได้รับโทษหนักยิ่งข้ึน โดยเฉพาะหากมกี ารรว่ มประเวณหี รือมีเพศสัมพนั ธผ์ นู้ ั้น
จะต้องถูกดำเนนิ คดีข้อหาข่มขืนกระทำชำเราอกี ข้อหาหน่งึ มีโทษหนักมาก แมผ้ เู้ ยาว์นั้นจะยินยอมไปด้วย ผทู้ ี่
พรากกต็ ้องมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 319 ซึง่ บญั ญตั ิว่า ผใู้ ดพรากผู้เยาวอ์ ายุเกินกว่าสิบ
ห้าปีแต่ยังไมเ่ กินสบิ แปดปีไปเสยี จากบิดา มารดา ผปู้ กครอง หรอื ผ้ดู ูแล เพื่อหากำไร หรือเพอื่ การอนาจาร โดย
ผ้เู ยาว์นัน้ เต็มใจไปด้วย ตอ้ งระวางโทษจำคุกต้งั แต่ 2 ปี ถึง 10 ปี และปรับตัง้ แต่ 4,000 บาท ถงึ 20,000 บาท
เชน่
กระทำอนาจาร
ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 278 บญั ญตั วิ า่ ผ้ใู ดกระทำอนาจารแก่บุคคลอายุกวา่ สบิ หา้ ปี โดย
ขเู่ ข็ญด้วยประการใด ใ โดยใช้กำลงั ประทุษรา้ ย โดยบุคคลนั้นอยูใ่ นภาวะทไ่ี มส่ ามารถขดั ขนื ได้ หรือโดยทำให้
บุคคลนัน้ เขา้ ใจผิดวา่ ตนเป็นบุคคลอ่นื ต้องระวางโทษจำคุกไมเ่ กนิ 10 ปี หรอื ปรับไม่เกนิ 60,000 บาท หรือทง้ั
จำท้งั ปรับ ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 279 บญั ญัตวิ ่า ผู้ใดกระทำอนาจารแกเ่ ดก็ อายไุ มเ่ กินสิบห้าปี
โดยเดก็ น้นั จะยินยอมหรอื ไมก่ ็ตาม ต้องระวางโทษจำคุกไมเ่ กิน 10 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทง้ั จำ
ทงั้ ปรับ ความผิดฐานกระทำอนาจารเป็นการกระทำท่ีนา่ อับอายนา่ บดั สี ลามก เชน่ กอด จูบ ลูบคลำ หรอื จับ
อวยั วะเพศหญิง หนา้ อก รวมถงึ การจบั เนือ้ ต้องตวั หญิงก็ตาม กถ็ อื วา่ เปน็ ความผดิ ข้อห้ากระทำอนาจาร แม้วา่
เดก็ ท่ีถกู กระทำจะยนิ ยอมใหก้ ระทำการดงั กลา่ วก็ยังมคี วามผดิ หากเด็กน้ันอายไุ ม่เกินสิบห้าปี เชน่
ห น ้ า | 12
ข่มขนื กระทำชำเรา
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 276 บัญญัติวา่ ผู้ใดขม่ ขืนกระทำชำเราหญิงอ่นื ซึ่งมใิ ชภ่ รยิ าของ
ตน โดยขูเ่ ขญ็ ด้วยประการใด ๆ โดยใชก้ ำลงั ประทุษร้าย โดยหญิงอยใู่ นภาวะทีไ่ มส่ ามารถขดั ขืนได้ หรือโดยทำ
ให้หญงิ เข้าใจผิดวา่ ตนเปน็ บุคคลอ่นื ต้องระวางโทษจำคกุ ตั้งแต่ 4 ปี ถงึ 20 ปี และปรบั ตั้งแต่ 8,000 บาท ถึง
40,000 บาท ความผิดฐานข่มขนื กระทำชำเราเป็นการบังคบั ใจ ฝนื ใจหญงิ อืน่ ทมี่ ใิ ช่ภรยิ าของตน โดยหญงิ นน้ั
ไมย่ ินยอม หรือใชก้ ำลงั บังคับจนหญิงนนั้ อยู่ในภาวะท่ีไม่สามารถขัดขนื ได้ จนผกู้ ระทำผิดล่วงเกนิ ทางเพศ หรอื
มีเพศสัมพันธ์กับหญงิ น้ัน หากเป็นการขม่ ขนื กระทำชำเราเด็กหญิงอายุไมเ่ กนิ สิบห้าปี ซงึ่ มใิ ช่ภริยาของตน โดย
เด็กหญิงนัน้ จะยนิ ยอมหรอื ไม่ก็ตาม ผนู้ ัน้ จะต้องได้รับโทษจำคกุ ตั้งแต่ 4 ปี ถึง 20 ปีและปรบั ต้ังแต่ 8,000
บาท ถงึ 40,000 บาท เชน่ นายหมกึ ไดใ้ ชก้ ำลงั ฉุดนางสาวนุน่ อายุ 22 ปี ในขณะทน่ี างสาวนุ่นกำลงั กลับจากท่ี
ทำงาน และนำนางสาวนนุ่ ไปกกั ขงั ไว้พรอ้ มทั้งข่มขืนกระทำชำเราเชน่ นี้ นายหมึกมีความผดิ ขม่ ขืนกระทำชำเรา
และกกั ขังหนว่ งเหน่ยี วรา่ งกายผู้อนื่ ต้องระวางโทษจำคุกตงั้ แต่ 4 ปี ถงึ 20 ปี และปรับต้งั แต่ 8,000 บาท ถงึ
40,000 บาท
ห น ้ า | 13
ระเบียบ กฎหมายความผิดเก่ียวกับยาเสพตดิ ให้โทษ
ยาเสพติดใหโ้ ทษ หมายถงึ สารเคมี หรอื วตั ถุพษิ ชนดิ ใดชนิดหนง่ึ ซง่ึ เมอ่ื เสพเขา้ สู่รา่ งกาย ไม่ว่าจะ
โดยรบั ประทานดม สบู ฉดี หรือดว้ ยประการใดๆ แลว้ ทำให้เกดิ ผลต่อร่างกายและจิตใจในลกั ษณะสำคญั เช่น
ต้องเพ่มิ ขนาดการเสพข้ึนเปน็ ลำดบั มอี าการถอนยาเมอื่ ขาดยา มคี วามตอ้ งการเสพทั้งรา่ งกายและจติ ใจอย่าง
รนุ แรงอยูต่ ลอดเวลา และสขุ ภาพโดยทั่วไปจะทรุดโทรมลง
เสพ หมายถึง การรับยาสพติดให้โทษเข้าสรู่ ่างกาย ไมว่ ่าดว้ ยวิธีใดๆ ยาเสพติดให้โทษ แบ่งออกเปน็ 5
ประเภท คอื
ห น ้ า | 14
ความผิดเกยี่ วกบั เสพยาเสพตดิ ให้โทษ
เสพกัญชา
ตามพระราชบญั ญัติยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 92 บญั ญัติ
วา่ ผใู้ ดเสพยาเสพตดิ ใหโ้ ทษประเภท 5 ต้องระวางโทษจำคุกไมเ่ กนิ 1 ปี หรอื
ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรอื ทง้ั จำทง้ั ปรับ ดังนน้ั ผู้ใดเสพกญั ชาไมว่ ่าด้วย
วธิ กี ารใด ๆเช่น เอากัญชาผสมบหุ รี่แล้วสูบ หรือเสพกญั ชาโดยใช้บอ้ งกัญชาถอื
ว่าผู้น้นั มคี วามผิดฐานเสพยาเสพตดิ ใหโ้ ทษประเภท 5 ซึ่งมีโทษจำคกุ ไมเ่ กิน 1
ปี หรือปรับไมเ่ กนิ 20,000 บาท
เสพยาบา้ หรือเฮโรอนี
ตามพระราชบญั ญตั ยิ าเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 91 บญั ญัติ
ว่าผ้ใู ดเสพยาเสพติดใหโ้ ทษประเภท 1 ตอ้ งระวางโทษจำคกุ ตั้งแต่ 6 เดอื น ถงึ
3 ปีหรือปรบั ตงั้ แต่ 10,000 บาท ถึง 60,000 บาท หรือทัง้ จำท้งั ปรบั ดังน้ัน
ผูใ้ ดเสพยาเสพตดิ ใหโ้ ทษประเภท 3 เช่น ยาบ้า เฮโรอีน ไมว่ ่าโดยวิธกี ารสูดดม
จากการรมควัน หรือฉดี เฮโรอีนเขา้ เส้นเลอื ด สดู ดมเข้าทางจมกู ถอื วา่ ผูน้ ั้นมี
ความผิดฐานเสพยาเสพตดิ ให้โทษประเภท 1 ซึ่งมโี ทษจำคุกหนักกวา่ กญั ชา
เสพสารระเหย
สารระเหย หมายความว่า สารเคมี หรือผลติ ภัณฑ์ท่ีรัฐมนตรปี ระกาศว่า
เปน็ สารระเหย เช่นกาวต่าง ๆ ผตู้ ดิ สารระเหย หมายความวา่ ผซู้ งึ่ ต้องใช้
สารระเหยบำบัดความตอ้ งการของรา่ งกายและจติ ใจเปน็ ประจำความผดิ
ฐานเสพสารระเหยน้ันตามพระราชกำหนดปอ้ งกันการใชส้ ารระเหย พ.ศ.
2533 มาตรา 17 บญั ญตั ิวา่ "หา้ มมิให้ผู้ใดใชส้ ารระเหยบำบดั ความต้องการ
ของร่างกาย หรือจติ ใจ ไม่วา่ โดยวิธีการสดู ดม หรือวธิ อี นื่ ใด หากผู้ใดฝ่าฝนื
มโี ทษ จำคุกไม่กิน 2 ปี หรอื ปรบั ไมเ่ กนิ 21,000 บาท หรอื ท้งั จำทง้ั ปรบั "
ห น ้ า | 15
ความผิดเกีย่ วกบั ครอบครองยาเสพติดใหโ้ ทษ
ความผดิ ฐานครอบครองยาบ้าหรือเฮโรอนี ตาม พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 15
บญั ญตั วิ า่ ห้ามมใิ หผ้ ู้ใดผลติ นำเข้า ส่งออก จำหน่าย หรอื มีไวใ้ นครอบครองซงึ่ ยาเสพติดให้โทษในประเภท 1
ซ่ึงมาตรา 67 บัญญตั วิ า่ ผู้ใดมีไว้ในครอบครองซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 โดยไมไ่ ด้รับอนุญาต ต้อง
ระวางโทษจำคุกต้งั แต่ 1 ปี ถงึ 10 ปี หรอื ปรบั ตั้งแต่20,000 บาท ถงึ 200,000 บาท หรอื ทงั้ จำทั้งปรบั หาก
ผใู้ ดครอบครองยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท 1 ประเภทยาบ้าเกิน 15 เม็ด กฎหมายสันนษิ ฐานไวก้ อ่ นวา่ ผู้น้ันได้
ครอบครองยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท 1 ไวเ้ พ่ือจำหน่าย ซงึ่ มีอตั ราโทษจำคกุ ตั้งแต่ 4 ปี ถงึ ตลอดชวี ติ
ระเบยี บ กฎหมายความผิดเกีย่ วกับการจราจรทางบก และการใชร้ ถ
ผู้ขับขร่ี ถยนตห์ รือรถจกั รยานยนตจ์ ะต้องไดร้ บั อนญุ าตจากเจา้ หนา้ ทนี่ ายทะเบียนเสียก่อน โดย
กล่าวคือ ตอ้ งมใี บอนญุ าตขับรถ หรอื ใบอนุญาตขับขีร่ ถจักรยานยนต์ ซึง่ ออกใหโ้ ดยนายทะเบียน มิฉะน้ันจะมี
ความผิดตามพระราชบัญญัติรถยนต์ พ.ศ.2522 มาตรา 4- ซ่งึ บญั ญตั ิวา่ ผ้ขู ับรถตอ้ งไดร้ บั ใบอนุญาตขบั รถ
และต้องมีใบอนุญาตขับรถ และสำเนาภาพถ่ายใบคมู่ ือจดทะเบยี นรถในขณะขับรถ และมาตรา 34 บัญญตั วิ ่า
ผู้ใดขับรถโดยไมไ่ ด้รบั ใบอนุญาตขับรถต้องระวางโทษจำคกุ ไมเ่ กนิ 1 เดือน หรือปรบั ไมเ่ กนิ 1,0ㆍ0 บาท
หรือทั้งจำท้ังปรับ นอกจากน้ี ขณะขบั รถหรือขบั ข่ีรถจกั รยานยนต์ สภาพรา่ งกายของผู้ขับขี่จะต้องปกติ
สมบรู ณ์ ไมม่ ีอาการหยอ่ นความสามารถในการขบั ข่ี หรืออาการเมาสุรา หรือของเมาอย่างอื่น มฉิ ะนัน้ ผู้
ขบั ข่ีจะต้องมีความผิดตาม พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 160 วรรคสาม ซ่ึงมีโทษจำคุกไมเ่ กนิ 3
เดอื น หรือปรับตั้งแต่ 2,000 บาท ถึง 10,000 บาท หรอื ทัง้ จำทง้ั ปรับ
ห น ้ า | 16
ส่วนท่ี 3
การเสรมิ สรา้ งความปลอดภัยในสถานศกึ ษา
ห น ้ า | 17
1. ขอบขา่ ยความปลอดภยั ของสถานศึกษา
ขอบขา่ ยความปลอดภยั ของสถานศึกษา 4 กลุม่ ภัย ดงั น้ี 1) ภยั ที่เกดิ จากการใช้ความรุนแรงของ
มนษุ ย์ (Violence) 2) ภัยท่ีเกิดจากอุบตั เิ หตุ (Accident 3) ภยั ที่เกดิ จากการถูกละเมดิ สทิ ธิ์ (Right) 4) ภยั ที่
เกดิ จากผลกระทบทางสุขภาวะทางกายและจติ ใจ (Unhealthiness) มอี งค์ประกอบดงั น้ี
ห น ้ า | 18
2. มาตรการความปลอดภัยสถานศึกษา
มาตรการความปลอดภยั ของสถาศึกษาม่งุ เน้นใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ต่อนักเรียน ครู และบุคลากร
ทางการศึกษาอยา่ งยัง่ ยนื โดยเน้นมาตรการทเี่ ขม้ งวดในมาตรการ 3 ป ดงั น้ี
2.1 การปอ้ งกนั หมายถึง การดำเนินการเพ่อื ไมใ่ ห้เกิดปัญหา อุปสรรค หรอื ความไมป่ ลอดภัย ตอ่
นกั เรยี น ครู และบุคลากรทางการศึกษา โดยการสร้างมาตรการป้องกนั จากปัจจยั เส่ียงทอ่ี าจเกิดขึ้นทง้ั ในและ
นอกสถานศกึ ษา ดงั น้ี
1) การประเมินปจั จัยเส่ียงของสถานศกึ ษา
2) การกำหนดพน้ื ท่ีความปลอดภยั
3) การจดั ทำแผนความปลอดภยั สถานศกึ ษา
4) การจัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศของสถานศกึ ษา
5) การจดั โครงสร้างบริหารจัดการความปลอดภยั สถานศกึ ษา
6) การจดั โครงสร้างข้อมลู สารสนเทศความปลอดภยั สถานศกึ ษา
7) การสร้างการมีสว่ นร่วมของสถานศกึ ษาและภาคเี ครือข่าย
8) การจดั ระบบชอ่ งทางการส่อื สารดา้ นความปลอดภัยสถานศกึ ษา
9) การจัดระบบคัดกรองและดแู ลช่วยเหลอื นักเรียน
10) การประเมนิ นกั เรียนรายบุคคล ด้านรา่ งกาย จติ ใจ สงั คม สติปัญญา และความตอ้ งการชว่ ยเหลือ
2.2 การปลูกฝัง หมายถึง การดำเนินการเก่ียวกับการเสรมิ สร้างความรู้ ความเข้าใจ จิตสำนกึ และเจตคติทด่ี ี
และการสร้างเสรมิ ประสบกรณเ์ พอ่ื ให้เกดิ ทกั ษะในการป้องกนั ภัยให้แก่นักเรียน ครู และบุคลากรทางการ
ศกึ ษา ดังนี้
1) การสรา้ งจติ สำนกึ ความตระหนัก การรบั รู้ และความเขา้ ใจดา้ นความปลอดภัยใหก้ ับตนเองและ
ผู้อืน่
2) การจัดกิจกรรมสรา้ งความรู้ความเข้าใจ และพฒั นาองค์ความรู้เกีย่ วกบั ความปลอดภยั ให้แก่
นกั เรยี น ครู
บุคลากรทางการศกึ ษา และผปู้ กครอง
3) การจดั กิจกรรมเสริมสรา้ งทักษะ ประสบการณ์ และสมรรถนะดา้ นความปลอดภัย ให้แกน่ ักเรียน
2.3 การปราบปราม หมายถงึ การดำเนนิ การจดั การแก้ไขปัญหา การชว่ ยเหลือ เยียวยา ฟ้นื ฟู และดำเนินการ
ตามขั้นตอนของกฎหมาย ไดแ้ ก่
1) การจัดการแก้ไขปญั หาความไมป่ ลอดภัยในสถานศกึ ษา
2) การช่วยเหลอื เยียวยา ฟน้ื ฟู จิตใจบุคคลผปู้ ระสบเหตุความไมป่ ลอดภยั
3) การดำเนินการตามข้ันตอนของกฎหมายทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
ห น ้ า | 19
มาตรการ 3 ป
ห น ้ า | 20
3. โครงสรา้ งการบรหิ ารจัดการความปลอดภัยสถานศึกษา
ห น ้ า | 21
4. ขน้ั ตอนการดำเนินงานความปลอดภัยสถานศกึ ษา
การดำเนนิ งานความปลอดภัยของสถานศกึ ษา มขี ั้นตอนดงั น้ี
4.1 การป ระเมนิ สภาพความเสยี่ งดา้ นความปลอดภัยและจัดลำดบั ความเสย่ี ง
4.2 การจดั ทำแผนดำเนินการความปลอดภัย
4.3 การดำเนนิ การตามมาตรการ
4.4 การดำเนนิ การตามขอบข่ายความปลอดภัย
4.5 การกำกับ ตดิ ตาม และประเมินผล
มาตรการความปลอดภัย สถานศึกษา ใช้หลกั 3 ป ไดแ้ ก่ การปอ้ งกนั ปลูกฝัง และปราบปราม โดยมี
รายละเอียดแนวทางการปฏบิ ัติและตัวช้ีวดั ดังน้ี
1. การป้องกัน
ตาราง 1 การดำเนินการตามมาตรการการปอ้ งกันเพือ่ ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ในสถานศกึ ษาบุคคล
การปอ้ งกัน แนวทางการปฏิบัติ ตัวชีว้ ัด
1) กำหนดพ้นื ทีค่ วามปลอดภัย
1.1 ประชุม ชีแ้ จง วางแผน การดำเนินงาน - สถานศึกษาทุกแหง่ มกี ารกำหนด
2) จัดทำแผนความปลอดภัย
ปลอดภยั ดา้ นความปลอดภัยสถานศึกษารว่ มกับ พ้ืนที่ การควบคุมความปลอดภยั
บุคลากร ภาคเี ครอื ขา่ ย และหน่วยงาน และ ปา้ ยสัญลักษณ์และอปุ กรณค์ วบคุม
องค์กรผู้มีส่วนเกีย่ วขอ้ ง ความปลอดภัยส่วนบุคคุล
1.2 กำหนดพน้ื ที่ควบคุมความปลอดภยั
รวมถึงป้ายสญั ลักษณ์ และอปุ กรณค์ วบคุม
ความปลอดภัยสว่ นบคุ คล
1.3 จดั ทำปา้ ยสญั ลกั ษณ์แสดงความเสยี่ ง
ในพน้ื ทีท่ ี่มีความเสยี่ ง
1.4 จัดทำระบบข้อมลู สารสนเทศดา้ น
ความปลอดภยั ของสถานศึกษา
2.1 แต่งตั้งคณะกรรมการความปลอดภัย - สถานศกึ ษาทุกแหง่ มีแผนความ
สถานศกึ ษา โดยการมสี ่วนรว่ มจากภาคี สถานศึกษาทคี่ รอบคลมุ ทุกมิติ
เครือข่ายและผมู้ ีสว่ นเกีย่ วขอ้ ง
2.2 เสนอแผนความปลอดภยั ของสถาน
ศึกษาตอ่ คณะกรรมการสถานศึกษา
ข้นั พืน้ ฐาน
2.3 กำหนดระยะเวลาการดำเนนิ งานและ
ห น ้ า | 22
การปอ้ งกนั แนวทางการปฏิบัติ ตวั ช้ีวดั
ผรู้ ับผิดชอบงาน
3) การจดั สภาพแวดลอ้ มและ 2.4 กำหนดนโยบายความปลอดภยั ของ - สถานศึกษาทกุ แห่งจัด
บรรยากาศของสถานศกึ ษา สถานศกึ ษา สภาพแวดลอ้ มและบรรยากาศทม่ี ี
2.5 เผยแพร่ ประชาสมั พันธน์ โยบาย ความปลอดภยั ต่อ
4) การจัดโครงสรา้ งบรหิ าร และแผนความปลอดภัยสถานศกึ ษา และหอ้ งอื่นๆ ใหม้ ีความปลอดภัย
จัดการความปลอดภยั 3.1 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพภูมิทศั น์ นักเรยี น ครู และบุคลากรทางการ
สถานศกึ ษา ห้องเรยี น หอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ห้องน้ำ หอ้ ง ศึกษา
พเิ ศษ - สถานศกึ ษาทุกแห่งจัดระบบ
5)การจัดทำข้อมูลสารสนเทศ 3.2 จดั ทำแหล่งเรยี นรเู้ พอ่ื เสริมสร้าง โครงสรา้ งในการบรหิ ารจดั การ
ความปลอดภัยสถานศึกษา ความปลอดภัยในสถานศึกษาทหี่ ลากหลาย ความปลอดภัยสถานศกึ ษา
4.1 สำรวจและประเมินสภาพความเสยี่ ง - สถานศกึ ษาทกุ แห่งมรี ะบบขอ้ มูล
ด้านความปลอดภยั สถานศึกษา ในการ สารสนเทศความปลอดภยั
บรหิ ารจดั การความปลอดภยั สถาน สถานศกึ ษา
4.2 สถานศึกษาจดั ทำโครงสรา้ งบริหาร
จดั การความปลอดภัยสถานศกึ ษา
4.3 กำหนดบทบาทหน้าท่ี ภาระงานของ
คณะกรรมการ
4.4 จดั ทำปฏทิ นิ การปฏิบัตงิ านของคณะ
กรรมการความปลอดภัยสถานศกึ ษา
4.5 ประสานความร่วมมือของคณะ
กรรมการ ภาคเี ครอื ขา่ ย และหน่วย
งานต้นสงั กัด
5.1 แต่งตัง้ คณะทำงานเพ่อื จัดทำระบบ
ข้อมลู สารสนเทศความปลอดภัยของสถาน
สารสนเทศความปลอดภยั สถานศึกษา
ศกึ ษา
5.2 จดั หาเคร่อื งมือ วสั ดุ อปุ กรณ์ในการ
เก็บรวบรวมข้อมลู สารสนเทศ
5.3 เก็บรวบรวมขอ้ มูลอย่างครบถ้วนรอบ
ด้าน
ห น ้ า | 23
การปอ้ งกัน แนวทางการปฏบิ ตั ิ ตวั ชว้ี ดั
5.4 วเิ คราะหข์ อ้ มลู จดั ระบบหมวดหมู่
6) การสร้างการมสี ว่ นร่วมของ สารสนเทศ - สถานศกึ ษาและภาคีเครอื ข่าย
สถานศึกษาทกุ แหง่ มีเครือข่าย 5.5 จัดทำรายงานระบบข้อมลู สารสนเทศ ความรว่ มมือความปลอดภัย อยา่ ง
และจัดเก็บอย่างเป็นระบบ นอ้ ย 1
7)การจัดระบบช่องทางการ 6.1 ประสานความรว่ มมอื ในการสรา้ ง
สอ่ื สารด้านความปลอดภยั ของ เครอื ข่ายการมสี ว่ นรว่ มในพนื้ ท่ีและ ภาค - สถานศกึ ษาทกุ แหง่ มีชอ่ งทางการ
สถานศึกษา ส่วนตา่ งๆ เครอื ข่าย สือ่ สารอยา่ งนอ้ ย 3 ช่องทาง
6.2 มีการประชมุ วางแผนเพ่อื เสรมิ สร้าง
ความปลอดภยั สถานศกึ ษารว่ มกัน
6.3 มีกิจกรรมการดำเนนิ งานในการเสรมิ
สรา้ งความปลอดภัยสถานศกึ ษา
6.4 มีการประเมนิ ผลร่วมกัน
6.5 มีการเผยแพร่ ประชาสัมพันธค์ วาม
ร่วมมอื
6.6 มีการยกยอ่ งชมเชยเครอื ข่ายภาคี
ความรว่ มมอื
7.1 แตง่ ตง้ั คณะทำงานด้านการสือ่ สาร
ประชาสัมพันธอ์ งค์กร
7.2 กำหนดรูปแบบการสื่อสาร
ประชาสัมพนั ธ์ทค่ี รอบคลมุ ทั้ง 3 ชอ่ งทาง
ประกอบดว้ ย
1) On Ground ไดแ้ ก่ การจัดปา้ ย
นทิ รรศการ จัดทำเอกสารประชาสมั พันธ์
การจัดกิจกรรมรณรงค์ในวนั สำคญั ตา่ งๆ
2) On Line ไดแ้ ก่ การเผยแพร่
ประชาสัมพนั ธท์ างส่อื สงั คมออนไลน์ใน
รูปแบบต่างๆ เช่น Facebook, Line เป็น
ต้น
3) On Air ได้แก่ การประชาสัมพันธ์
ผ่านระบบเสียงตามสาย ทั้งในสถานศกึ ษา
และชมุ ชน
ห น ้ า | 24
การป้องกนั แนวทางการปฏิบตั ิ ตัวชี้วัด
8) การจดั ระบบดูแลชว่ ยเหลอื
นักเรยี น 7.3 ปรบั รูปแบบระบบชอ่ งทางการส่อื สาร
9) การประเมินนักเรียน ด้านความปลอดภยั ของสถานศึกษาให้
รายบุคคล ด้านรา่ งกาย จิตใจ
สงั คม สติปญั ญา และความ สอดคล้องกบั บรบิ ทและสภาพการณ์ของ
ต้องการ
สถานศกึ ษา
2. การปลูกฝงั
8.1 แตง่ ตงั้ คณะกรรมการระบบดูแลช่วย - สถานศึกษาทุกแหง่ มรี ะบบดแู ล
นักเรยี น เหลือนกั เรียนระดับสถานศกึ ษา ชว่ ยเหลือนกั เรยี น
8.2 คดั กรองนักเรียนแยกเปน็ กลมุ่ ได้
อยา่ งชดั เจน ประกอบดว้ ย กลุ่มปกติ
กลมุ่ เสย่ี ง และกลมุ่ มปี ัญหา
8.3 เก็บข้อมูลนักเรยี นรายบคุ คลด้วย
เคร่อื งมอื และวธิ ีการทเี่ หมาะสม เช่น
การเยี่ยมบ้านนักเรยี น การสอบถาม
การสัมภาษณ์ เปน็ ต้น
8.4 จัดกจิ กรรมสำหรับเด็กกลมุ่ ต่างๆ
ไดอ้ ย่างเหมาะสม ดงั นี้
- กลมุ่ ปกติ จดั กิจกรรมส่งเสริม
ความสามารถตามปกติ
- กลมุ่ เสย่ี ง จดั กิจกรรมปอ้ งกันปัญหา
- กลุ่มมปี ัญหา จัดกจิ กรรมแกป้ ัญหา
และระบบสง่ ตอ่
8.5 สรปุ รายงานผลการดำเนนิ งาน
ระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น
9.1 มอบหมายให้ครปู ระจำช้ัน/ครทู ่ปี รึกษา - นักเรียนทุกคนไดร้ บั การประเมนิ
มีหน้าท่ใี นการประเมนิ นกั เรียนรายบคุ คล อย่างรอบดา้ น
9.2 จดั ทำเครอ่ื งมอื วัดและประเมิน
นกั เรยี นรายบุคคลท่ีครอบคลมุ ทุกดา้ น
9.3 ครปู ระจำชนั้ /ครทู ีป่ รึกษา ดำเนินการ
ประเมินนักเรยี นรายบคุ คล
9.4 จดั ทำระบบขอ้ มลู สารสนเทศ
รายงานผลการประเมนิ นักเรยี นรายบคุ คล
ห น ้ า | 25
ตาราง 2 การดำเนนิ การตามมาตรการการปลกู ฝงั เพือ่ ใหเ้ กิดความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา
การปลูกฝงั แนวทางการปฏบิ ัติ ตัวชวี้ ัด
1) การสร้างจิตสำนึก ความ
ตระหนกั การรบั รู้ สถานศึกษา 1.1 สำรวจขอ้ มูลดา้ นความปลอดภัย -สถานศึกษาทุกแหง่ มีหลกั สตู ร
ปลอดภยั ให้แกต่ นเองผ้อู ่ืนและ
สังคม สถานศกึ ษา ความปลอดภยั สถานศึกษา
2) การจดั กิจกรรมสร้างความรู้ 1.2 จัดลำดบั ความรนุ แรง เรง่ ด่วนของ
ความเข้าใจพฒั นาองค์ความรู้
เกย่ี วกบั ความปลอดภัยให้แก่ ความปลอดภยั สถานศกึ ษา
นักเรียน ครู บุคลากรทางการ
ศกึ ษา และผ้ปู กครอง 1.3 ปรับปรงุ พัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา
โดยเพิม่ เน้ือหาดา้ นความปลอดภัย
สถานศกึ ษาท่สี อดคลอ้ งกับความรนุ แรง
เร่งด่วน
1.4 จัดทำคู่มอื /แนวทางว่าด้วย
ความปลอดภัยในสถานศึกษา
1.5 จัดอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารดา้ นความ
ปลอดภยั ของสถานศึกษา ใหแ้ ก่ ครู
บุคลากร ทางการศกึ ษา และนกั เรยี น
1.6 จดั ทำศูนย์บริการสอ่ื ด้านความ
ปลอดภยั ในสถานศกึ ษา เพ่ือการศึกษา
คน้ ควา้ เพ่ิมเตมิ
2.1 ประชุมครู และบุคลากรทางการศกึ ษา -สถานศึกษาทกุ แหง่ มกี ารจัด
เพอื่ ชแี้ จงแนวทางเก่ียวกับความปลอดภัย กิจกรรมเสรมิ สรา้ งความรู้ ความ
ในสถานศกึ ษา เขา้ ใจด้านความปลอดภัย
2.2 จัดกิจกรรมเสริมหลกั สตู รโดยบรู ณาการ สถานศึกษาใหน้ ักเรียน ครู
เน้อื หาความปลอดภัยสถานศึกษาในศกึ ษา บุคลากรทางการศึกษา และ
รายวชิ าตา่ ง ๆ ผ้ปู กครอง
2.3 การจดั ทำสื่อประชาสมั พันธร์ ูปแบบ
ต่างๆ เพอื่ ให้ความรูแ้ ก่ผูป้ กครองและชุมชน
2.4 จัดกิจกรรมเสรมิ สรา้ งความรู้ความ
เข้าใจเร่อื งความปลอดภยั สถานศกึ ษาผ่าน
กจิ กรรมClassroom meeting ระหว่าง
สถานศกึ ษากบั ผู้ปกครอง
ห น ้ า | 26
การปลูกฝัง แนวทางการปฏบิ ตั ิ ตวั ชี้วดั
3) การจัดกจิ กรรมเสรมิ สร้าง 3.1 จัดกิจกรรมเสริมทกั ษะประสบการณ์ - สถานศกึ ษาทกุ แหง่ มกี ิจกรรม
ทักษะ ประสบการณแ์ ละ ทเ่ี น้นการลงมือปฏบิ ตั ิท่ีเชอ่ื มโยงกับ เสรมิ ทักษะ ประสบการณ์
สมรรถนะด้านความ การดำเนินชวี ติ ประจำวนั ใหแ้ ก่ เชน่ และสมรรถนะด้านความปลอดภัย
ปลอดภยั ให้แกน่ ักเรยี น การปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้ แก่ นักเรียน ครู ให้แก่นักเรยี น
และบุคลากรทางการศึกษา
3.2 กจิ กรรมจดั กิจกรรมสอดแทรกด้าน
ความปลอดภัยสถานศึกษาในกจิ กรรมวัน
สำคญั ต่าง ๆ
3.3 สรรหาตน้ แบบผู้จดั กจิ กรรม และการ
จัดกิจกรรมเสรมิ ทกั ษะท่ีเปน็ เลศิ
3. การปราบปราม
ตาราง 3 การดำเนินการตามมาตรการการปราบปรามเพ่ือให้เกดิ ความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา
การปราบปราม แนวทางการปฏิบตั ิ ตวั ชวี้ ัด
- สถานศึกษาทุกแห่งมรี ะบบการ
1) การจดั การแก้ไขปัญหา กรณี 11.1 กำหนดแนวทางปฏบิ ัตกิ ารจดั การ แก้ปัญหาดา้ นความปลอดภยั
สถานศกึ ษาอย่างมีประสทิ ธิภาพ
เกิดเหตุความปลอดภัยใน หรือการระงับเหตุ การชว่ ยเหลือเม่ือเกดิ
สถานศกึ ษา เหตใุ นสถานศกึ ษา และสรา้ งการรับรู้
ร่วมกนั ทุกภาคส่วน
1.2 จดั ต้งั คณะทำงานเคลื่อนทเี่ ร็ว
(Roving Team) ท่ีสามารถเขา้ ระงับเหตุ
ไดอ้ ย่างทนั เหตกุ ารณ์
1.3 เตรยี มบคุ ลากร และเครอ่ื งมอื วสั ดุ
อุปกรณ์ ทพี่ ร้อมรบั สถานการณ์
1.4 ติดต้งั ระบบเตือนภัย เช่น กลอ้ ง
วงจรปิด สามารถตรวจสอบขอ้ เท็จจริงได้
1.5. ซ้อมระงับเหตุอย่างตอ่ เนอ่ื ง เช่น
การดับเพลงิ การซ้อมหนีไฟ
การปฐมพยาบาลเบ้อื งต้น เป็นตน้
1.6. ประสานงานเครอื ขา่ ยการมสี ว่ นรว่ ม
เพ่อื ให้ความชว่ ยเหลอื ไดท้ ันเหตกุ ารณ์
ห น ้ า | 27
การปราบปราม แนวทางการปฏบิ ัติ ตัวชีว้ ดั
2) การช่วยเหลือ เยียวยา ฟ้นื ฟู 1.7 สง่ ตอ่ ผ้ปู ระสบเหตุเพอ่ื ใหไ้ ดร้ ับ - สถานศึกษาทุกแห่งมรี ะบบการ
จิตใจบุคคลผู้ประสบเหตุความ การช่วยเหลือท่มี ีประสิทธภิ าพ ช่วยเหลือ เยยี วยา ฟน้ื ฟู จติ ใจ
ไมป่ ลอดภยั 1.8 กำกับ ตดิ ตาม ประเมินผล ผปู้ ระสบเหตุความไม่ปลอดภัย
และรายงาน
3) ดำเนนิ การตามขนั้ ตอนของ 2.1 จัดทำขอ้ มลู บุคคลและหนว่ ยงาน - ผูป้ ระสบเหตทุ กุ คนไดร้ บั การ
กฎหมาย ในพื้นท่ตี ้งั ของสถานศึกษาที่สามารถ คุ้มครองตามที่กฎหมายกำหนด
ตดิ ต่อ ประสานงานและให้การชว่ ยเหลอื
เยียวยา ฟ้ืนฟู จิตใจไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว
ทนั ท่วงที
2.2 จดั ต้งั ศูนย์ชว่ ยเหลือเยยี วยา ฟื้นฟู
และใหค้ ำปรึกษา โดยการมีสว่ นร่วม
ของเครอื ข่ายตา่ งๆ
2.3 กำหนดหลักเกณฑแ์ ละวิธกี าร
ชว่ ยเหลือท่ีเหมาะสม
2.4 ประสานเครอื ข่ายการมสี ่วนรว่ ม
หน่วยงาน องค์กร เพอื่ ใหก้ ารช่วยเหลอื
เยยี วยา ฟน้ื ฟู
2.5 จัดระบบประกนั ภยั รายบุคคลหรอื
รายกลุม่ ท่ีสามารถใหก้ ารค้มุ ครองสำหรับ
ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาและนกั เรยี น
2.6 สรา้ งขวญั กำลังใจ โดยการติดตาม
เย่ยี มเยอื นอย่างสมำ่ เสมอ
3.1 แตง่ ตั้งคณะกรรมการดำเนินการดา้ น
กฎหมาย
ใหผ้ ู้ประสบเหตุได้รบั ความ
คุ้มครองตามที่กฎหมายกำหนด
3.2 รายงานเหตุการณ์ต่อผู้บงั คับบญั ชา
หน่วยงานต้นสงั กัด
3.3 ดำเนนิ คดี จำแนกประเภทของเหตุ
ทเ่ี กดิ ติดตอ่ ประสานงานผปู้ กครอง
เพ่ือดำเนินการหรอื ดำเนนิ การแทนผู้
ห น ้ า | 28
การปราบปราม แนวทางการปฏบิ ตั ิ ตวั ช้ีวดั
ปกครอง
3.4 ให้การคุ้มครองนักเรียนให้อยู่
ในความปลอดภัย
แนวทางการปฏบิ ัตขิ อบขา่ ยความปลอดภัยสถานศกึ ษา
ขอบข่ายความปลอดภัยสถานศึกษาจำแนกเปน็ < กลุม่ ภัย โดยมกี ารดำเนนิ งานความปลอดภยั
สถานศึกษาตามมาตรการ 3 ป ไดแ้ ก่ กรป้องกนั การปลูกฝัง และการปราบปราม ซ่งึ ในแต่ละมาตรการมแี นว
ปฏิบัตติ ามรายละเอียด ดงั น้ี
1. ภัยทีเ่ กิดจากการใชค้ วามรนุ แรงของมนษุ ย์ (Violence)
1.1 การลว่ งละเมดิ ทางเพศ
แนวทางการปฏิบตั ิ
การป้องกัน
1) สำรวจนกั เรียนกล่มุ เสีย่ งและพืน้ ทที่ เ่ี ปน็ จุดเสี่ยง
2) เฝา้ ระวงั สังเกตพฤติกรรมนักเรียน และพัฒนาพื้นทีเ่ สีย่ งให้ปลอดภัย
3) สรา้ งเครือขา่ ยเฝา้ ระวังท้ังในสถานศกึ ษาและชุมชน
4) จัดระบบการสอื่ สารเพือ่ รับส่งข้อมลู ด้านพฤติกรรมนกั เรียนทง้ั ในสถานศึกษาและชุมชนการปลกู ฝงั
1) จัดกจิ กรรมส่งเสริมความตระหนักรูแ้ ละเหน็ คุณค่าในตนเอง
2) จัดกจิ กรรมพฒั นาทกั ษะชวี ิต
3) ฝกึ ทกั ษะการปฏิเสธ และการเอาตัวรอดในสถานการณ์ตา่ ง ๆ
การปราบปราม
1) เผยแพร่ประชาสมั พันธ์ช่องทางในการขอความช่วยเหลอื
2) แตง่ ตั้งคณะทำงานให้ความชว่ ยเหลอื เร่งดว่ น ท่สี ามารถใหค้ วามช่วยเหลอื ได้ทนั เหตกุ ารณ์
3) แต่งตง้ั คณะทำงานด้านกฎหมายเพอื่ ให้ความช่วยเหลือ
4) ประสานภาคเี ครือข่ายเพ่ือการส่งต่อทเ่ี หมาะสม
1.2 การทะเลาะวิวาท
แนวทางการปฏบิ ตั ิ
การป้องกนั
1) จดั ทำระเบยี บในการประพฤติปฏิบตั ิตนในสถานศึกษา
2) ประชุมชแ้ี จงทำความเข้าในการปฏบิ ตั ิตนตามระเบยี บ
3) เฝา้ ระวงั สังเกตพฤตกิ รรมท้งั ในระดับชน้ั เรียน สถานศกึ ษา และชมุ ชน
4) สรา้ งเครอื ขา่ ยเฝา้ ระวังในสถานศกึ ษาและชมุ ชน
5) จดั ระบบติดตอ่ สือ่ สารเพือ่ ตดิ ตามพฤติกรรมนกั เรยี นอย่างต่อเน่อื ง
ห น ้ า | 29
การปลกู ฝงั
1) ใหค้ วามร้เู รอื่ งการอยูร่ ว่ มกนั ในสงั คม และผลกระทบที่เกดิ จากการทะเลาะวิวาท
2) จดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การอยู่ร่วมกันในสงั คม
3) จัดเวทีกจิ กรรมใหน้ ักเรยี นไดแ้ สดงออกตามความสามารถอย่างเหมาะสม
การปราบปราม
1) แต่งตั้งคณะทำงานเพือ่ ระงบั เหตทุ งั้ ในสถานศึกษาและชุมชน
2) ประสานเครือขา่ ยการมีสว่ นร่วมเพ่อื ร่วมแกป้ ัญหา
3) ดำเนนิ การตามระเบียบ กฎหมาย โดยเน้นการไกลเ่ กลย่ี ประนีประนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนัก
1.3 การกลั่นแกลง้ รงั แก
แนวทางการปฏบิ ตั ิ
การปอ้ งกนั
1) สำรวจนกั เรยี นกลมุ่ เสย่ี งท้ังกล่มุ ผู้กระทำและผู้ถกู กระทำ
2) จัดทำระเบยี บขอ้ ตกลงร่วมกนั ทง้ั ในระดบั ชนั้ เรยี นและระดับสถานศกึ ษา
3) สร้างเครอื ข่ายเฝ้าระวังทงั้ ในสถานศึกษาและชุมชน
4) จดั ระบบการสอ่ื สารเพื่อติดตามพฤติกรรมนักเรียน
การปลกู ฝงั
1) ใหค้ วามรู้ความเข้าใจหลกั ในการอยรู่ ่วมกนั ในสังคม
2) จดั กจิ กรรมใหน้ กั เรยี นได้ทำร่วมกนั อย่างต่อเนือ่ ง
3) จัดเวทีให้นักเรียนได้แสดงออกตามความสามารถอยา่ งเหมาะสม
การปราบปราม
1) แต่งต้ังคณะทำงานเพ่ือระงับเหตุ ท้งั ในระดบั ชั้นเรยี น สถานศึกษา และชมุ ชน
2) ดำเนินการเอาโทษตามระเบยี บข้อตกลง โดยเน้นการไกลเ่ กล่ียประนปี ระนอม ตามมาตรการจากเบาไปหา
หนกั
3) ตดิ ตาม เย่ียมเยอื น ให้กำลงั ใจผถู้ กู กระทำ และสรา้ งความเขา้ ใจกบั ผูก้ ระทำ
1.4 การชมุ นุมประท้วงและการจลาจล
แนวทางการปฏบิ ัติ
การป้องกัน
1) สำรวจนักเรยี นกลมุ่ เสี่ยง
2) เฝ้าระวัง สังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียน และพัฒนาพื้นที่เสย่ี งใหป้ ลอดภัย
3) สรา้ งเครอื ขา่ ยเฝา้ ระวงั ท้ังในสถานศกึ ษาและในชมุ ชน
4) จัดระบบการสอื่ สารเพอื่ รับส่งข้อมลู ดา้ นพฤตกิ รรมนักเรียนทั้งในสถานศึกษาและชมุ ชน
ห น ้ า | 30
การปลูกฝัง
1) สร้างความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกับระเบยี บ กฎหมาย สทิ ธิและหนา้ ท่ีพลเมือง
2) สร้างองคค์ วามรคู้ วามเข้าใจถึงผลกระทบท่เี กิดจากการชุมนมุ ประทว้ งและการจลาจล
3) จัดกิจกรรมบำเพ็ญสาธารณป ระโยชน์อย่างสม่ำเสมอ
4) จดั กิจกรรมสร้างทัศนคติที่ถูกต้องรว่ มกับผู้ปกครอง ชุมชน ในโอกาสท่ีเหมาะสม
การปราบปราม
1) แต่งต้ังคณะทำงานเพื่อระงบั เหตุทัง้ ในสถานศกึ ษาและชมุ ชน
2) ประสานเครอื ขา่ ยการมีส่วนรว่ มเพื่อรว่ มแก้ปญั หา
3) ดำเนินการตามระเบียบ กฎหมาย โดยเน้นการไกล่เกลีย่ ประนปี ระนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนกั
1.5 การกอ่ วนิ าศกรรม
แนวทางการปฏบิ ตั ิ
การปอ้ งกัน
1) สำรวจนกั เรยี นกลมุ่ เส่ยี ง
2) เฝ้าระวงั สงั เกตพฤติกรรมนกั เรียน
3) สรา้ งเครือข่ายเฝ้าระวังท้งั ในสถานศึกษาและในชุมชน
4) จดั ระบบการสอื่ สารเพ่อื รบั ส่งข้อมลู ด้านพฤติกรรมนกั เรียนทงั้ ในสถานศกึ ษาและชมุ ชน
การปลูกฝัง
1) สร้างความรคู้ วามเขา้ ใจถงึ ผลกระทบท่เี กิดจากการกอ่ วนิ าศกรรม
2) จัดกิจกรรมสรา้ งทัศนคตทิ ี่ถกู ต้องรว่ มกับผปู้ กครอง ชมุ ชน ในโอกาสที่เหมาะสม
3) จดั เวทีใหน้ ักเรียนได้แสดงออกตามความสามารถอยา่ งเหมาะสม
การปราบปราม
1) แตง่ ตั้งคณะทำงานเพ่ือระงับเหตุทั้งในสถานศกึ ษาและชุมชน
2) ประสานเครือข่ายการมีสว่ นร่วม เพอ่ื รว่ มแกป้ ญั หา
3) ดำเนนิ การตามระเบยี บ กฎหมาย โดยเน้นการไกลเ่ กล่ียประนีประนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนัก
1.6 การระเบดิ
แนวทางการปฏิบัติ
การปอ้ งกนั
1) สำรวจนกั เรยี นกลุ่มเสยี่ ง
2 สำรวจขอ้ มูลแหล่งทมี่ าของวตั ถปุ ระกอบระเบดิ
3) สรา้ งเครือขา่ ยเฝา้ ระวงั ท้ังในสถานศกึ ษาและชุมชน
4) จดั ระบบตดิ ตอ่ ส่อื สารเพอ่ื ติดตามพฤติกรรมนักเรียน
ห น ้ า | 31
การปลูกฝงั
1) สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจถึงผลกระทบทเี่ กิดจากการใช้ระเบดิ
2 จัดกิจกรรมสรา้ งทศั นคตทิ ถี่ กู ตอ้ งรว่ มกบั ผ้ปู กครอง ชุมชน ในโอกาสท่ีเหมาะสม
3) จัดเวทีให้นกั เรียนได้แสดงออกออกตามความสามารถอยา่ งเหมาะสม
การปราบปราม
1) แตง่ ตงั้ คณะทำงานเพอื่ ระงับเหตทุ ั้งในสถานศกึ ษาและชมุ ชน
2) ประสานเครอื ข่ายการมีสว่ นร่วม เพือ่ ร่วมแกป้ ญั หา
3) ดำเนนิ การตามระเบียบ กฎหมาย โดยเนน้ การไกลเ่ กลีย่ ประนีประนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนัก
1.7 สารเคมีและวตั ถุอนั ตราย
แนวทางการปฏิบัติ
การปอ้ งกัน
1) จดั ทำมาตรการและแนวปฏิบตั ใิ นการดำเนินการ ลด ละ เลิก การใชส้ ารเคมีและวัตถุอนั ตราย
2 จดั สถานทใี่ นการจดั เก็บสารเคมแี ละวัตถุอันตรายให้มดิ ชดิ
3) สรา้ งเครือข่ายเฝา้ ระวงั การใช้สารเคมแี ละวตั ถอุ ันตรายทัง้ ในสถานศึกษาและชมุ ชน
การปลกู ฝงั
1) สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจถึงผลกระทบทีเ่ กิดจาการใชส้ ารเคมแี ละวตั ถุอนั ตราย
2) จัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใช้ในการดำเนนิ ชีวติ
3) จดั กจิ กรรมใหน้ กั เรียนได้เรียนรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในสถานที่จริงในพื้นที่
การปราบปราม
1) ติดตอ่ ประสานงานเครือขา่ ยการมสี ่วนร่วมเพ่ือร่วมแกป้ ัญหา
2) ดำเนินการตามมาตรการและขอ้ ตกลงทีก่ ำหนดร่วมกัน
1.8 การล่อลวง ลกั พาตัว
แนวทางการปฏิบตั ิ
การป้องกนั
1) สรา้ งเครอื ข่ายเฝ้าระวงั ท้งั ในสถานศึกษาและชุมชน
2) จัดระบบการติดต่อส่อื สารเพือ่ รบั สง่ ขอ้ มลู พฤติกรรมนกั เรียน ผใู้ กล้ชิด และบคุ คลภายนอก
3) จัดทำขอ้ มูลชอ่ งทางขอความช่วยเหลือเผยแพร่ ประชาสมั พนั ธใ์ ห้นักเรยี นและชุมชน
การปลูกฝัง
1) การจัดกิจกรรมส่งเสรมิ ความตระหนักรู้และเหน็ คณุ คา่ ในตนเอง
2) จดั กิจกรรมพฒั นาทักษะชวี ิตอย่างรอบด้าน
3) ฝกึ ทกั ษะการปฏิเสธ และการเอาตัวรอดในสถานการณ์ตา่ ง ๆ
ห น ้ า | 32
การปราบปราม
1) แตง่ ตงั้ คณะทำงานให้ความชว่ ยเหลอื เรง่ ดว่ น ทส่ี ามารถใหค้ วามชว่ ยเหลอื ได้ทนั เหตกุ ารณ์
2) แต่งตัง้ คณะทำงานดา้ นกฎหมายเพอื่ ให้ความช่วยเหลือ
3) ประสานภาคเี ครือขา่ ยเพอ่ื รว่ มแกป้ ญั หา
2. ภยั ที่เกิดจากอุบตั ิเหตุ (Accident)
2.1 ภัยธรรมชาติ
แนวทางการปฏบิ ัติ
การป้องกนั
1) สำรวจข้อมูลความเสีย่ งทเ่ี กดิ จากภยั ธรรมชาติ
2) จัดทำแผนปอ้ งกันภยั ทางธรรมชาติ
3) จัดตรยี มวัสดุ อุปกรณ์ เครอ่ื งมือในการป้องกันภยั ธรรมชาติ
4) ซักซ้อมการเผชญิ เหตภุ ยั ธรรมชาติ
การปลูกฝงั
1) สรา้ งความรู้ความเข้าใจถึงปญั หาและผลกระทบท่เี กดิ จากธรรมชาตริ ูปแบบต่าง ๆ
2) จัดกจิ กรรมฝึกทกั ษะการเผชญิ ปัญหาภัยธรรมชาติ
3) จัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม
การปราบปราม
1) แต่งตัง้ คณะทำงานให้ความชว่ ยเหลอื เร่งดว่ น ทีส่ ามารถให้ความช่วยเหลอื ไดท้ นั เหตุการณ์
2) ตดิ ต่อสอ่ื สารเครอื ขา่ ยการมีส่วนร่วม เพอ่ื รว่ มใหค้ วามช่วยเหลือและแก้ปญั หา
3) ประสานงานหนว่ ยงาน องคก์ ร เพื่อใหค้ วามช่วยเหลอื เยียวยา และฟ้ืนฟจู ิตใจ
2.2 ภัยจากอาคารเรยี น ส่งิ ก่อสร้าง
แนวทางการปฏิบตั ิ
การป้องกัน
1) สำรวจสภาพของอาคารเรียน อาคารประกอบ และสง่ิ กอ่ สรา้ ง
2) ติดป้ายสัญลักษณ์ในอาคาร หรอื พ้ืนที่ทไี่ มแ่ ข็งแรงและมคี วามเสยี่ ง
3) ประชาสมั พันธใ์ ห้นักเรยี นหลีกเล่ยี งการเข้าพ้นื ท่เี สยี่ งอย่างต่อเน่อื ง
การปลูกฝัง
1) สร้างความรู้ความเข้าใจถงึ หลักการสร้างความปลอดภัยในการดำเนินชวี ติ
2) ฝกึ ทกั ษะการสังเกตและหลกี เลย่ี งพ้นื ทเี่ สย่ี ง
3) จดั กิจกรรมฝึกทกั ษะการเอาตัวรอดเม่อื ประสบภยั จากอาคารเรียน และส่งิ ก่อสรา้ ง
ห น ้ า | 33
การปราบปราม
1) สรา้ งเครือขา่ ยการมสี ว่ นร่วมและดำเนนิ การช่วยเหลอื และแก้ปัญหาท่มี ีประสทิ ธิภาพ
2) ประสานงานหนว่ ยงานภาครฐั และเอกชน เพื่อใหค้ วามชว่ ยเหลือ
2.3 ภัยจากยานพาหนะ
แนวทางการปฏบิ ตั ิ
การป้องกนั
1) สำรวจขอ้ มูลยานพาหนะในสถานศึกษา
2) จัดระบบสัญจรในสถานศกึ ษาสำหรับยานพาหนะประเภทตา่ ง ๆ และสำหรบั การเดินเทา้
3) จัดทำแผนใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภยั จากยานพาหนะ
4) จดั เตรยี มวัสดุ อปุ กรณ์ เครื่องมือ เพอ่ื การชว่ ยเหลอื
5) ส่งเสริมสนบั สนนุ การทำประกนั ภยั ประกนั อุบตั ิเหตุ
การปลกู ฝงั
1) จัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องการใชร้ ถใช้ถนนและเครือ่ งหมายจราจร
2 จัดกิจกรรมฝึกทกั ษะการปฐมพยาบาลเบอื้ งต้นเม่ือประสบภัยจากยานพาหนะ
3) จัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การสร้างจิตสำนึกในการปฏิบัตติ ามกฎจราจร
การปราบปราม
1) แต่งตั้งคณะทำงานให้ความช่วยเหลือเร่งด่วน ทส่ี ามารถใหค้ วามช่วยเหลอื ได้ทันเหตุการณ์
2 ติดต่อสือ่ สารเครอื ขา่ ยการมสี ่วนร่วม เพ่ือรว่ มให้ความชว่ ยเหลอื และแก้ปญั หา
3) ประสานงานหนว่ ยงาน องคก์ ร เพือ่ ให้ความชว่ ยเหลอื เยียวยา และฟ้นื ฟจู ิตใจ
2.5 ภัยจากการจดั กจิ กรรม
แนวทางการปฏิบตั ิ
การป้องกัน
1) แต่งตงั้ คณะทำงานประเมินความเสีย่ งในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ
2) จดั แยกกิจกรรมตามระดับความเส่ียง
3) เสนอแนะแนวทางในการปอ้ งกันความเส่ียงในกจิ กรรมต่าง ๆ
การปลกู ฝัง
1) สร้างความร้คู วามเขา้ ใจในการปฏิบัติกิจกรรมตา่ ง ๆ ใหป้ ลอดภยั
2) ฝึกทกั ษะการเลือกปฏิบตั ิกจิ กรรมต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับตนเอง
3) จดั กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะการให้ความชว่ ยเหลอื เมือ่ ประสบภัยจากการปฏบิ ตั ิกิจกรรม
การปราบปราม
1) แต่งตงั้ คณะทำงานให้ความช่วยเหลือเรง่ ด่วน ท่สี ามารถใหค้ วามช่วยเหลอื ได้ทันเหตุการณ์
2 ติดตอ่ ส่อื สารเครอื ขา่ ยการมีสว่ นรว่ ม เพื่อรว่ มใหค้ วามชว่ ยเหลอื และแกป้ ัญหา
ห น ้ า | 34
3) ดำเนินการส่งตอ่ เพอ่ื การช่วยเหลอื ที่มีประสิทธิภาพ
2.5 ภัยจากเครื่องมอื อปุ กรณ์
แนวทางการปฏบิ ตั ิ
การปอ้ งกัน
1) สำรวจขอ้ มูลเครอ่ื งมือ อปุ กรณ์ จัดแยกส่วนท่ชี ำรุดและสว่ นท่ใี ชง้ านได้
2) จดั ทำคมู่ ือการใชเ้ คร่ืองมือ อปุ กรณ์ให้ปลอดภัย
3) ดำเนนิ การซอ่ มแซม บำรงุ รักษาและการจดั เก็บเคร่อื งมือ อปุ กรณ์ ให้เป็นระบบ
การปลกู ฝงั
1) จัดกจิ กรรมสรา้ งความรูค้ วามเข้าใจ หลักการใช้เคร่ืองมือ อปุ กรณ์ ใหป้ ลอดภัย
2 ฝึกทักษะการใช้ การบำรุงรกั ษา การจัดเก็บเครื่องมอื อปุ กรณ์
3) จดั กิจกรรมสรา้ งจิตสำนกึ ในคณุ ค่าของเครื่องมอื อปุ กรณ์
การปราบปราม
1) แตง่ ตั้งคณะทำงานให้ความชว่ ยเหลือเร่งดว่ น ทีส่ ามารถให้ความชว่ ยเหลือไดท้ ันเหตุการณ์
2) ประสานเครีอข่ายความร่วมมอื เพ่อื ใหค้ วามช่วยเหลือ
3) ดำเนนิ การส่งต่อเพ่อื การชว่ ยเหลือทมี่ ีประสทิ ธิภาพ
3. ภัยท่เี กดิ จากการถูกละเมิดสทิ ธิ์ (Right)
3.1 การถูกปล่อยปละ ละเลย ทอดทงิ้
แนวทางการปฏิบัติ
การป้องกนั
1) สร้างเครอื ขา่ ยเฝ้าระวังทงั้ ในสถานศกึ ษาและชุมชน
2) จัดระบบการตดิ ต่อสือ่ สารเพ่ือรบั ส่งขอ้ มูลพฤติกรรมนักเรยี น และผู้ใกล้ชดิ
3) จัดทำขอ้ มลู ชอ่ งทางขอความช่วยเหลอื เผยแพร่ ประชาสมั พนั ธ์ให้นักเรียนและชมุ ชน
การปลูกฝงั
1) จดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ ความตระหนักร้แู ละเห็นคุณคา่ ในตนเอง
2) จัดกิจกรรมพัฒนาทกั ษะชวี ติ อย่างรอบด้าน
3) ฝึกทกั ษะการปฏิเสธการเอาตัวรอด และการขอความชว่ ยเหลือ
การปราบปราม
1) แต่งต้งั คณะทำงานให้ความชว่ ยเหลือเรง่ ดว่ น ท่ีสามารถใหค้ วามช่วยเหลอื ได้ทันเหตุการณ์
2) แตง่ ตั้งคณะทำงานให้ความช่วยเหลอื ดา้ นกฎหมาย
3) ประสานภาคีเครือขา่ ยเพื่อรว่ มแกป้ ัญหา
4) ตดิ ตามเย่ียมเยือนให้กำลงั ใจอย่างสม่ำเสมอ
3.2 การคุกคามทางเพศ
ห น ้ า | 35
แนวทางการปฏิบัติ
การป้องกนั
1) สำรวจนกั เรียนกลุ่มเสีย่ งและพ้ืนที่เป็นจดุ เสย่ี ง
2) เฝ้าระวัง สังเกตพฤติกรรมนักเรียน และพฒั นาพน้ื ที่เสย่ี งให้ปลอดภัย
3) สร้างเครอื ข่ายฝา้ ระวงั ทัง้ ในสถานศกึ ษาและในชุมชน
4) จดั ระบบการส่อื สารเพ่อื รบั ส่งข้อมูลดา้ นพฤตกิ รรมนกั เรียนทงั้ ในสถานศกึ ษาและชมุ ชน
การปลกู ฝงั
1) จดั กจิ กรรมส่งเสรมิ ความตระหนักรูแ้ ละเห็นคุณค่าในตนเอง
2) จัดกจิ กรรมพัฒนาทักษะชีวิตรอบดา้ น
3) ฝกึ ทักษะการปฏิเสธ การเอาตวั รอดในสถานการณต์ ่าง ๆ
การปราบปราม
1) เผยแพรป่ ระชาสมั พันธช์ อ่ งทางในการขอความชว่ ยเหลอื
2) แตง่ ต้ังคณะทำงานให้ความชว่ ยเหลือเร่งดว่ น ทสี่ ามารถให้ความช่วยเหลอื ไดท้ ันเหตุการณ์
3) แต่งต้งั คณะทำงานให้ความช่วยเหลือดา้ นกฎหมาย
4) ประสานภาคเี ครอื ข่ายเพื่อการส่งต่อทีเ่ หมาะสม
5) สร้างขวญั กำลงั ใจโดยการติดตามเยีย่ มเยือนอย่างสม่ำเสมอ
3.3 การไม่ได้รับความเป็นธรรมจากสังคม
แนวทางการปฏิบตั ิ
การป้องกนั
1) สำรวจขอ้ มูลนกั เรียนรายคน
2) วิเคราะหส์ ภาพปัญหาความตอ้ งการ ความขาดแคลน ของนกั เรียนรายคน
3) จัดทำแผนใหค้ วามชว่ ยเหลอื นักเรียนทีต่ ามความขาดแคลน
4 สร้างเครื่อข่ายการมีสว่ นรว่ ม เพื่อประสานความชว่ ยเหลือ
การปลกู ฝงั
1) สรา้ งความร้คู วามเข้าใจถงึ สิทธิ หนา้ ที่ และความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม
2 บรกิ ารใหค้ ำปรึกษาสำหรับนกั เรยี นกลุ่มเสีย่ ง
3) จดั กิจกรรมส่งเสรมิ การสรา้ งจติ สำนกึ ในความเสมอภาค เอือ้ เฟ้อื เผอื่ แผต่ อ่ กัน
การปราบปราม
1) แตง่ ตง้ั คณะทำงานให้ความช่วยเหลอื เรง่ ดว่ น ที่สามารถให้ความชว่ ยเหลือได้ทนั เหตกุ ารณ์
2) ประสานภาคีเครอื ขา่ ยเพ่อื ร่วมแก้ปญั หา
3) ตดิ ตามเยย่ี มเยอื นให้กำลงั ใจอย่างสม่ำเสมอ
ห น ้ า | 36
4. ภัยที่เกดิ จากผลกระทบทางสขุ ภาวะทางกายและจิตใจ (Unhealthiness)
4.1 ภาวะจิตเวช
แนวทางการปฏิบตั ิ
การป้องกัน
1) สำรวจขอ้ มูลนักเรียนกล่มุ เส่ยี ง
2) ตดิ ตอ่ ประสานเครอื ข่ายการมสี ่วนรว่ มเพอ่ื ประเมินภาวะจิต
3) จดั หลักสูตรการเรยี นการสอนพิเศษรายคน
4) สรา้ งเครือขา่ ยเฝ้าระวงั ท้ังในสถานศึกษาและชุมชน
5) จดั ระบบติดตอ่ สื่อสารเพ่อื รบั สง่ ข้อมูลพฤติกรรมอย่างต่อเนอ่ื ง
การปลูกฝัง
1) จดั กิจกรรมส่งเสรมิ การแลกเปลยี่ นเรียนร้รู ่วมกนั ของนกั เรียน
2) จดั เวทีให้นักเรยี นได้แสดงออกตามความสามารถ
3) จัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การตระหนกั รู้และเห็นคุณคา่ ในตนเองและผอู้ ่นื
การปราบปราม
1) แต่งตง้ั คณะทำงานเพือ่ ระงบั เหตทุ ้งั ในสถานศกึ ษาและชมุ ชน
2) ประสานเครอื ข่ายการมีส่วนรว่ ม เพอื่ รว่ มแกป้ ัญหา
3) ดำเนนิ การตามระเบยี บ กฎหมาย โดยเน้นการไกลเ่ กล่ียประนปี ระนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนัก
4) ประสานการสง่ ต่อเพอ่ื ใหค้ วามช่วยเหลอื ทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ
4.2 ตดิ เกม
แนวทางการปฏิบัติ
การป้องกนั
1) สำรวจขอ้ มูลนกั เรยี นกลุม่ เส่ยี ง
2) สำรวจขอ้ มูลพ้นื ท่ีแหลง่ ให้บรกิ ารรา้ นเกม
3) กำหนดข้อตกลงเพ่ือปฏบิ ัตริ ่วมกัน
4) สรา้ งเครือขา่ ยเฝ้าระวังท้ังในสถานศกึ ษาและชุมชน
5) จัดระบบติดต่อส่ือสารเพ่อื รับส่งข้อมูลพฤติกรรมอยา่ งต่อเน่ือง
การปลกู ฝงั
1) สรา้ งความร้คู วามเข้าใจถงึ ผลกระทบท่ีเกดิ จากการตดิ เกม
2) จัดกิจกรรมส่งเสรมิ การการคิด วเิ คราะห์ และใช้เวลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์
3) จดั กิจกรรมเสริมหลกั สตู รท่สี นองต่อความสนใจของนักเรยี นอยา่ งหลากหลาย
ห น ้ า | 37
การปราบปราม
1) แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อระงบั เหตุทัง้ ในสถานศกึ ษาและชมุ ชน
2) ประสานเครือขา่ ยการมีส่วนรว่ ม เพอ่ื ร่วมแกป้ ญั หา
3) ดำเนินการเอาผิดตามข้อตกลงทกี่ ำหนดไว้รว่ มกนั
4) ติดตามเย่ียมเยอื นเพ่อื สรา้ งขวัญกำลังใจ
4.3 ยาเสพตดิ
แนวทางการปฏบิ ัติ
การป้องกนั
1) สำรวจขอ้ มูลนกั เรยี นกลุ่มเส่ยี ง
2) วเิ คราะห์นกั เรยี นรายบคุ คล
3) กำหนดข้อตกลงเพ่ือปฏิบัติรว่ มกนั
4) สร้างเครือขา่ ยเฝา้ ระวังทั้งในสถานศกึ ษาและชุมชน
5) จัดระบบติดต่อสอ่ื สารเพื่อรบั ส่งข้อมูลพฤติกรรมอย่างตอ่ เน่ือง
การปลกู ฝงั
1) สรา้ งความร้คู วามเขา้ ใจถึงโทษภยั และผลกระทบของการตดิ ยาเสพติด
2) จดั กจิ กรรมต่อต้านยาเสพตดิ ในวนั สำคัญต่าง ๆ อยา่ งสมำ่ เสมอ
3) จัดกิจกรรมส่งเสรมิ การการคิด วเิ คราะห์ และใชเ้ วลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์
4) จัดกิจกรรมเสริมหลกั สตู รท่สี นองต่อความสนใจของนักเรยี นอย่างหลากหลาย
การปราบปราม
1) แต่งตงั้ คณะทำงานเพอื่ ระงับเหตุทัง้ ในสถานศกึ ษาและชุมชน
2) ประสานเครอื ข่ายการมีส่วนร่วม เพ่อื ร่วมแกป้ ัญหา
3) ดำเนนิ การตามระเบียบ กฎหมาย โดยเนน้ การไกลเ่ กล่ยี ประนปี ระนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนัก
4) ประสานการสง่ ต่อเพื่อให้ความช่วยเหลือท่มี ีประสิทธิภาพ
4.4 โรคระบาดในมนุษย์
แนวทางการปฏบิ ตั ิ
การป้องกัน
1) สำรวจขอ้ มูลด้านสุขภาพของนักเรียนรายคนและบุคคลใกล้ชดิ
2) จดั ทำแผนในการปอ้ งกนั โรคระบาดในมนษุ ย์
3) บรกิ ารวัสดุ อปุ กรณ์ในการปอ้ งกนั โรคระบาดในมนษุ ย์
4) สรา้ งเครือขา่ ยเฝา้ ระวังทั้งในสถานศกึ ษาและชุมชน
5) จัดระบบติดตอ่ สื่อสารเพอ่ื ตดิ ตามข้อมลู ด้านสขุ ภาพอย่างต่อเน่อื ง
ห น ้ า | 38
การปลกู ฝงั
1) สร้างความร้คู วามเข้าใจเกยี่ วกับโรคระบาดในมนุษย์
2 จัดกิจกรรมฝึกทักษะการปฏบิ ตั ิตน เพอ่ื ความปลอดภัยจากโรคระบาดในมนุษย์
3) จัดกิจกรรมสร้างจติ สำนกึ ในความรับผิดชอบต่อตนเองและสงั คม
การปราบปราม
1) แต่งตงั้ คณะทำงานเพื่อระงบั เหตุทง้ั ในสถานศึกษาและชุมชน
2) ประสานเครือขา่ ยการมีส่วนรว่ ม เพอ่ื รว่ มแกป้ ญั หา
3) ดำเนินการตามมาตรการทีก่ ฎหมายกำหนด
4) ประสานการส่งตอ่ เพอ่ื ใหค้ วามช่วยเหลือที่มปี ระสิทธิภาพ
4.5 ภยั ไซเบอร์
แนวทางการปฏบิ ตั ิ
การป้องกนั
1) สำรวจขอ้ มูลการใช้งานระบบไซเบอร์ของนักเรยี นรายคน
2) กำหนดข้อตกลงเพ่ือปฏบิ ัตริ ว่ มกัน
3) สร้างเครือข่ายเฝา้ ระวงั ทงั้ ในสถานศกึ ษาและชุมชน
4) จัดระบบตดิ ตอ่ สอ่ื สารเพอื่ รบั สง่ ข้อมูลพฤตกิ รรมอยา่ งตอ่ เนื่อง
การปลกู ฝงั
1)สร้างความรคู้ วามเข้าใจถงึ ผลกระทบท่ีเกดิ จากการใชง้ านระบบไซเบอรโ์ ดยขาดวจิ ารณญาณ
2) จัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การการคิด วิเคราะห์ และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
3) จัดกจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู รทีส่ นองตอ่ ความสนใจของนกั เรียนอยา่ งหลากหลาย
การปราบปราม
1) แตง่ ตั้งคณะทำงานเพ่ือระงบั เหตทุ งั้ ในสถานศกึ ษาและชุมชน
2) ประสานเครือขา่ ยการมีส่วนร่วม เพือ่ ร่วมแกป้ ญั หา
3) ดำเนนิ การเอาผิดตามขอ้ ตกลงท่กี ำหนดไวร้ ่วมกัน
4) ติดตามเยย่ี มเยอื นเพ่ือสร้างขวัญกำลังใจ
4.6 การพนัน
แนวทางการปฏิบตั ิ
การป้องกัน
1) สำรวจข้อมูลนักเรยี นกลุม่ เสี่ยง
2) สำรวจพน้ื ท่ที ่ีเปน็ แหลง่ การพนนั
3) กำหนดขอ้ ตกลงเพ่ือปฏิบัติร่วมกนั
4) สรา้ งเครือข่ายเฝา้ ระวังทัง้ ในสถานศกึ ษาและชุมชน
ห น ้ า | 39
5) จัดระบบติดตอ่ สือ่ สารเพือ่ รบั สง่ ข้อมลู พฤติกรรมอยา่ งต่อเนอ่ื ง
การปลกู ฝงั
1) สร้างความรูค้ วามเขา้ ใจถงึ ผลกระทบทเี่ กิดจากการพนนั
2) จดั กิจกรรมส่งเสรมิ การการคิด วเิ คราะห์ และใช้เวลาวา่ งให้เป็นประโยชน์
3) จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรท่ีสนองต่อความสนใจของนักเรยี นอยา่ งหลากหลาย
การปราบปราม
1) แตง่ ตง้ั คณะทำงานเพื่อระงับเหตทุ ง้ั ในสถานศึกษาและชุมชน
2) ประสานเครือข่ายการมีสว่ นรว่ ม เพ่ือรว่ มแกป้ ัญหา
3) ดำเนินการเอาผิดตามข้อตกลงทก่ี ำหนดไวร้ ว่ มกนั
4) ติดตามเยี่ยมเยือนเพื่อสรา้ งขวัญกำลงั ใจ
4.7 มลภาวะเป็นพิษ
แนวทางการปฏบิ ัติ
การปอ้ งกัน
1) สำรวจขอ้ มูลพื้นท่ที ีเ่ กดิ มลภาวะเป็นพษิ ในสถานศึกษาและชุมชน
2) จดั ทำปา้ ยสัญลักษณ์แสดงพื้นทม่ี ลภาวะเป็นพษิ
3) จดั ทำแผนในการแก้ปัญหามลภาวะเปน็ พิษร่วมกัน
4) กำหนขอ้ ตกลงในการปฏบิ ัตริ ่วมกัน
การปลูกฝงั
1) สรา้ งความรู้ความเข้าใจถงึ สาเหตแุ ละผลกระทบทเี่ กดิ จากมลภาวะเปน็ พิษ
2) จัดกจิ กรรมที่ส่งเสริมการแกป้ ญั หาและการลดมลภาวะเป็นพิษ
3) จดั กจิ กรรมส่งเสริมการสร้างจติ สำนึกในการลดมลพิษรว่ มกับชุมชน
การปราบปราม
1) แตง่ ตงั้ คณะทำงานเพ่อื ระงบั เหตทุ ง้ั ในสถานศึกษาและชมุ ชน
2) ประสานเครือขา่ ยการมีส่วนรว่ ม เพือ่ รว่ มแก้ปัญหา
3) ดำเนินการเอาผิดตามขอ้ ตกลงทกี่ ำหนดไว้รว่ มกัน
4) ติดตามเยีย่ มเยอื นเพื่อสร้างขวัญกำลังใจ
4.8 โรคระบาดในสตั ว์
แนวทางการปฏิบตั ิ
การปอ้ งกนั
1) สำรวจข้อมูลสัตว์เล้ยี งของนักเรยี นรายคน
2) จัดทำแผนในการปอ้ งกันโรคระบาดในสัตว์
3) บริการวัสดุ อปุ กรณ์ในการป้องกนั โรคระบาดในสัตว์
ห น ้ า | 40
4) สรา้ งเครอื ขา่ ยเฝ้าระวังทงั้ ในสถานศกึ ษาและชุมชน
5) จัดระบบติดต่อสือ่ สารเพอื่ ตดิ ตามข้อมูลสัตวเ์ ล้ียงอย่างต่อเน่ือง
การปลูกฝงั
1) สร้างความรู้ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั โรคระบาดในสัตว์
2 จดั กจิ กรรมฝึกทักษะการปฏบิ ัติตน เพือ่ ความปลอดภยั จากโรคระบาดในสัตว์
3) จัดกจิ กรรมสรา้ งจติ สำนใึ นความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและสงั คม
การปราบปราม
1) แต่งตัง้ คณะทำงานเพื่อระงับเหตุท้งั ในสถานศึกษาและชุมชน
2) ประสานเครือข่ายการมีส่วนรว่ ม เพื่อรว่ มแกป้ ัญหา
3) ดำเนินการตามมาตรการท่ีกฎหมายกำหนด
4) ประสานการส่งต่อเพ่ือใหค้ วามชว่ ยเหลือที่มปี ระสทิ ธิภาพ
4.9 ภาวะทพุ โภชนาการ
แนวทางการปฏิบัติ
การป้องกัน
1) การสำรวจและจดั กลมุ่ นกั เรยี นกลุ่มเสย่ี งและกลมุ่ ท่มี ีภาวะทุพโภชนาการ
2) เสริมสรา้ งความรว่ มมอื ระหวา่ งโรงเรยี น ครอบครวั ชมุ ชน และผู้มสี ่วนเกี่ยวขอ้ ง
3) จัดทำสื่อประชาสมั พันธใ์ หค้ วามรู้ดา้ นโภชนาการแก่ผปู้ กครอง
4) จดั ทำฐานขอ้ มูลเพอื่ ตรวจสอบพฒั นาการและความกา้ วหน้าในการลดภาวะทพุ โภชนาการ
5) จดั หาอปุ กรณ์กีฬาให้เพียงพอ
6) การดแู ลอาหารกลางวนั อาหารเสริม และอาหารวา่ งที่ถูกตอ้ งตามหลักโภชนาการ
การปลกู ฝัง
1) จดั กิจกรรมให้ความรูด้ ้านโภชนาการแกน่ ักเรียน
2) จดั กิจกรรมออกกำลังกาย และวธิ ีการรักษาสขุ ภาพให้กับนกั เรยี น
3) การบูรณาการความรดู้ า้ นโภชนาการในการจัดการเรียนการสอน
การปราบปราม
1) การเผยแพรป่ ระชาสมั พันธช์ ่องทางในการขอความช่วยเหลอื
2) แต่งต้ังคณะทำงานให้ความช่วยเหลอื เรง่ ดว่ น ทส่ี ามารถให้ความชว่ ยเหลือได้ทันเหตกุ ารณ์
3) แต่งตั้งคณะทำงานกองทนุ อาหารกลางวันสำหรับนักเรียนทม่ี ปี ญั หาดา้ นเศรษฐกจิ
4) ประสานภาคีเครอื ขา่ ยเพือ่ การส่งต่อทเ่ี หมาะสม
ห น ้ า | 41
ส่วนที่ 4
การตดิ ต่อส่อื สาร
ห น ้ า | 42
1. ช่องทางการติดตอ่ สอ่ื สาร
1) ระบบ MOE Safety Platform
2) Website Online
3) E-mail
4) Facebook
5) Line
6) จดหมาย
7) โทร 1579 หรอื โทรศูนย์ความปลอดภัย กระทรวงศึกษาธกิ าร
โทร 02 - 628 - 9169 , 02 -628 - 9166 , 02- 628-9182
และ 02 - 628 - 9160
8) ติดตอ่ ดว้ ยตนเอง
ห น ้ า | 43
2. หน่วยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง
สำนกั งานตำรวจแหง่ ชาติ
1. กองบงั คับการปราบปรามการกระทำความผิดเก่ยี วกบั การคา้ มนษุ ย์
กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง ถ.แขวงจอมพล เขตจตุจักร กทม. 10900
โทร. 0 - 2513 -3213 โทรสาร 0 - 2513 - 7117
Website : www.ccsd.go.th
E-mail : [email protected]
2. งานพทิ กั ษ์เดก็ เยาวชน และสตรี
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ถ.พระราม 1 เขตปทมุ วัน กทม. 10330 โทร. 0-2205-3421-3 ตอ่ 26
Website : www.Office.police.go.th
E-mail : [email protected]
3. ศนู ยส์ วสั ดิภาพเด็ก เยาวชน และสตรี
กองบญั ชาการตำรวจนครบาล เลขท่ี 1 ถ.ราชดำเนินนอก แขวงวัดโสมนสั เขตป้อมปราบศัตรูพา่ ย
กทม. 10100 โทร. 0-2281-1449
Website : www.korkorsordor.com
หนว่ ยงานภาคเอกชน
1. มูลนธิ ศิ ูนย์พทิ ักษส์ ิทธิเดก็
979 ซ.จรัญสนิทวงศ์ 12 ถ.จรญั สนทิ วงศ์ แขวงท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ กทม. 10600
โทร. 0-2412-0739, 0-2415-1196 โทรสาร 0-2412-9833
Website : www.thaichildrights.org
E-mail : [email protected]
2. มลู นธิ พิ ัฒนาการคุ้มครองเดก็
Fight Against Child Exploithion Foundation (FACE)
ตู้ ปณ. 178 คลองจ่ัน กทม. 10240
โทร. 0-2509-5782 โทรสาร ㆍ-2519-2794
E-mail : [email protected]
ห น ้ า | 44
3. มลู นิธิเพือ่ นหญิง
386/61-62 ซ.รชั ดาภิเษก 44 (ซอยเฉลมิ สุข) ถ.รัชดาภิเษก แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กทม. 10900
โทร. 0-2513-1001 โทรสาร 0-2513-1929
Website : [email protected]
E-mail : [email protected]
4. องคก์ รพทิ กั ษ์สตรใี นประเทศไทย
328/1 สำนกั กลางนกั เรยี นคริสเตรยี น ถ.พญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400
โทร. 0-2214-5157-8 โทรสาร 0-2513-1929
Website : www.afesip.ord
5. มูลนธิ ศิ ภุ นิมติ รแห่งประเทศไทย
582/18-22 ซ.เอกมยั สุขุมวิท63 แขวงคลองตนั เขตวัฒนา กทม. 10110
โทร. 0-2381-8863-5 ตอ่ 111 โทรสาร 0-2381-5500
Website : www.worldvision.or.th
E-mail : [email protected]
6. เครอื ข่ายส่งเสริมคุณภาพชวี ติ แรงงาน
25/17-18 หม่บู ้านมหาชยั เมืองทอง ถ.สหกรณ์ ต.บางหญา้ แพรก อ.เมอื ง จ.สมทุ รสาคร 74000
โทร. O-3443-4726, 09-0948-4678
7. โครงการบ้านพิทักษ์และคมุ้ ครองสิทธิเด็กชนเผ่าลมุ่ นำ้ โขง
294/1 ม.3 ต.ท่าสุด อ.เมอื ง จ.เชยี งราย 57100 โทร. ㅇ-6185-6603
โทรสาร 0-5378-7328, ㆍ871-9075
Website : www.depde.org
E-mail : [email protected]
8. ศนู ยข์ อ้ มลู คนหาย มูลนธิ กิ ระจกเงา
8/12 ซ.วิภาวดี 44 ถ.วิภาวด-ี รังสิตแขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทร. 0-2941-4194-5 ตอ่ 114 โทรสาร ㆍ-2642-7991-2, 0-2941-4194 ตอ่ 109
Website : www.becktohome.org. www.notforsale.or.th, www.miror.or.th
ห น ้ า | 45
E-mail : [email protected]
9. ศูนยช์ ีวิตใหม่
49/9 ช.3 ต.ท่งุ โฮเต็ล อ.เมอื ง จ.เชียงใหม่ 5000ㆍ
โทร. 0-5ตต5-1312, 08-5326-3010 โทรสาร 0- 5338-0871
Website : www.newlifecenterfoundation.org
E-mail : newlife@pobox,
10. สภาทนายความ
7/ 89 อาคาร 10 ถ.ราชดำเนนิ กลางแขวงบวรนิเวศเขตพระนคร กทม. 10200
โทร. 0-2629-1430
11. หนว่ ยประสานงานเพ่อื ตอ่ ต้านการค้ามนุษย์
ภาคเหนือตอนบน ประเทศไทย ศาลากลางจงั หวัดเชียงใหม่ ช้นั 5 ถ.โชตนา ต.ช้างเผอื ก
อ.เมอื ง จ.ชียงใหม่ 5O300 โทร. 0-5311-2643-4
12. คลนิ กิ นิรนาม สภากาชาดไทย
สภากาชาดไทย กรงุ เทพมหานคร 104 ถ.ราชดำริ แขวงปทมุ วนั เขตปทมุ วนั กทม. 10330
โทร. 02-252-2568 กด 1, 02-256-4107-9 โทรสาร 02-254-7577
13. โครงการส่งเสริมศักยภาพหญิงแรงงานขา้ มชาติ (ซปี อม)
120 ม.15 ต.รอบเวียง อ.เมอื ง จ.เชียงราย 57000
โทร. 0-5375-6411 โทรสาร 0-5375-6411
E-mail : [email protected]
14. บ้านแสงใหม่
258 ม.5 ต.รอบเวยี ง อ.เมือง จ.เชียงราย 57000
โทร. 0-5371-4772 โทรสาร 0-5371-7098
E-mail : [email protected]
ห น ้ า | 46
15. บา้ นเออื้ อารี
343/22 ซ.ข้างธนาคารกสกิ รไทย ถ.พหลโยธนิ สะพานใหม่ แขวงอนเุ สาวรยี ์ เขตบางเขน กทม. 10200
โทร. 0-2972-4992 โทรสาร 0-2972-4993
E-mail : [email protected]
16. มลู นธิ ิเขา้ ถงึ เอดส์
สำนักงานกาญจนบุรี 64/3 ถ.แสงชโู ต ต.ปากแพรก อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 57000
โทร. 0-5371-6212, 0-5371-7897
Website : www.aidaccress.com
E-mail : [email protected]
17. UNIAP โครงการความร่วมมือสหประชาชาติ วา่ ดว้ ยการตอ่ ตา้ นการคา้ มนษุ ย์
ประจำประเทศไทย
อาคารสหประชาชาติ ชัน้ 7 ถ.ราชดำเนินนอก กทม. 10200
โทร. 0-2288-1746 โทรสาร 0-2288-1153
Website : www.no_trafficking.org
E-mail : [email protected]
ห น ้ า | 47
ส่วนท่ี 5
การกำกับติดตามและเมินผล
ห น ้ า | 48
การกำกับ ตดิ ตาม และประเมินผล
สถานศึกษาดำเนินการกำกบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผล การดำเนนิ งานความปลอดภัยของสถานศึกษา
โดยการมีสว่ นร่วมของภาคีเครือขา่ ย ตามแนวดำเนินการ มาตรการ แนวทางปฏบิ ตั ิ โดยยึดตัวชว้ี ัดในการ
ดำเนินการในทุกประเด็น มกี ารจดั ทำเครอ่ื งมือในการกำกบั ติดตาม และประเมนิ ผล ท่ีมีคณุ ภาพและ
ครอบคลุม มีการจัดทำแผนการกำกบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผลกำหนดปฏิทินดำเนนิ การ คัดเลอื กสถานศกึ ษาที่
มีผลการดำเนินการประสบผลสำเร็จเปน็ ทีป่ ระจกั ษ์ ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รติ สรปุ รายงาน และเผยแพร่ผลการ
ดำเนินงานอยา่ งเปน็ ระบบ โดยดำเนนิ การ ดงั น้ี
1) แต่งต้ังคณะกรรมการกำกับ ตดิ ตามและประเมินผลการดำเนินงานความปลอดภยั ของสถานศึกษาโดยการมี
ส่วนร่วมจากทุกภาคสว่ น
2) ศึกษาแนวดำเนินการ มาตรการ แนวทางการปฏบิ ัติ และตัวชวี้ ัดการดำเนินงานความปลอดภัยของ
สถานศกึ ษา
3) จัดทำแผนการกำกบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผล การดำเนินงานความปลอดภยั ของสถานศึกษา
4) กำหนดปฏิทนิ ในการดำเนนิ งานความปลอดภัยของสถานศกึ ษา อยา่ งน้อยภาคเรยี นละ 1 คร้งั
5)จดั ทำเครอื่ งมือในการกำกับ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล การดำเนนิ งานความปลอดภัยของสถนศกึ ษาที่
สอดคลอ้ งกับตวั ชีว้ ัดในการดำเนินงานความปลอดภยั ของสถานศึกษา
6) ดำเนนิ การกำกบั ติดตาม และประเมินผล การดำเนนิ งานความปลอดภัยของสถานศกึ ษา
7) สรุปผลการดำเนินงานความปลอดภยั ของสถานศึกษา ให้ข้อเสนอแนะประเด็นท่ีเป็นจุดเดน่ จุดควรพฒั นา
พร้อมแนวทางในการพฒั นาในปกี ารศึกษาตอ่ ไป
8) คดั เลือกสถานศึกษาทม่ี ีผลการดำเนนิ การประสบผลสำเร็จเป็นที่ประจักษ์
9) ยกยอ่ งเชดิ ชเกยี รติสถานศึกษาทมี่ ผี ลการดำเนนิ การประสบผลสำเร็จเปน็ ที่ประจกั ษ์
10) เผยแพร่ประชาสมั พนั ธผ์ ลการดำเนินงานความปลอดภยั ของสถานศกึ ษาในช่องทางท่ีหลากหลาย
ห น ้ า | 49
เอกสารอา้ งองิ
- คูม่ อื การคมุ้ ครองและช่วยเหลือเด็กนกั เรียนของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษา
ขน้ั พืน้ ฐาน(ฉบับพฒั นา พ.ศ. 2563)
- คู่มือแนวทางปฏบิ ตั ิและมาตรการรักษาความปลอดภยั ของสถานศึกษา ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2556
- คู่มือโครงการเตรียมความพร้อมด้านความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
ในสถานศึกษา
- มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ สำนกั มาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้ สำนักงาน
เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2562
- มาตรฐานโรงเรียนคมุ้ ครองเดก็
- แบบประเมินตนเองตามมาตรฐานโรงเรยี นคุ้มครองเดก็
- คู่มือการรับมอื แผ่นดินไหว
- คู่มือการปฏบิ ัตสิ ำหรับสถานศึกษาในการปอ้ งกนั การแพร่ ระบาดของโรคโควดิ 19 กรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสขุ
- พระราชบญั ญตั ิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554
- กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภยั อาชีวอนามัย
และสภาพแวดลอ้ มในการทำงานเกี่ยวกบั การปอ้ งกันและระงับอัคคภี ัย พ.ศ. 2555
- กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบรหิ าร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามยั
และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกย่ี วกบั สารเคมีอนั ตราย พ.ศ. 2556