The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการใช้งาน Google Apps
ที่มาจาก http://www.surin3.go.th/data/data_101101.pdf

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by areeya.072542, 2021-03-31 04:23:05

คู่มือการใช้งาน Google Apps

คู่มือการใช้งาน Google Apps
ที่มาจาก http://www.surin3.go.th/data/data_101101.pdf

Keywords: Google Apps

คู่มือการใช้งาน Google Apps for Education เบื้องต้น
Introduction to Google Apps for Education Manual

งานระบบคอมพวิ เตอร์และบริการ
ศนู ยเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลยั แม่โจ้

คู่มือนเี้ ปน็ ส่วนหนึง่ ของงานระบบคอมพิวเตอรแ์ ละบรกิ าร

คำนำ

Google Apps for Education คือ แอปพลิเคชันที่ถูกพัฒนาขึ้นมาโดย Google เพื่อให้บริการทางด้าน
การบริหารจัดการภายในองค์กรการศึกษา เป็นการให้บริการ “ฟรี” ไม่เสียเงิน ทางศูนย์เทคโนโลยี
สารสนเทศ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จึงได้จัดการฝึกอบรมการใช้งาน Google Apps for Education เบื้องต้น
เพื่อให้บคุ ลากรและนักศึกษาสามารถใช้งาน และนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นการทางานหรอื ชีวติ ประจาวันได้

หวงั วา่ คู่มอื นี้จะเปน็ ประโยชน์ให้แก่บุคลากรและนักศกึ ษาไม่มากก็น้อย หากมีข้อผิดพลาดประการ
ใด ผเู้ ขียนขออภยั มา ณ ที่น้ีดว้ ย

งานระบบคอมพิวเตอร์และบริการ
ศนู ย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

สำรบัญ

เรือ่ ง หนา้
Google Apps for Education คืออะไร 1

การลงชื่อเข้าสู่ระบบ 5
Google Mail 7
Google Calendar 21
Google Drive 38
Google Documents 54
Google Plus 88
Google Hangout 98
Google Sites 109

Google Apps for Education 1

Google Apps for Education คอื อะไร?
หลายท่านคงจะรู้จกั และเคยใช้งาน Google Apps กันแล้ว ซึ่งบริการ Google Apps นเี้ ป็นทีน่ ิยมมาก

ในระดับองค์กร และล่าสุด Google ประเทศไทย ได้เร่มิ ให้บริการ Google Apps สาหรับการศกึ ษาแล้วมชี ื่อ
ว่า Google Apps for Education หรอื Google Apps สาหรับการศกึ ษา

Google Apps for Education เป็นชดุ เคร่อื งมอื สาหรับการทางานร่วมกนั ผา่ น Google Apps เชน่
Mail, Calendar, Docs, Drive, Site ฯลฯ เพื่อการสอ่ื สารกัน เหมาะสาหรับอาจารย์ นักศกึ ษา เจ้าหน้าที่
ของมหาวิทยาลยั

Google Apps for Education 2

โดย Google ได้จดั เตรียมแอปพลิเคช่นั ต่างๆ ไว้สาหรับรองรบั การทางาน ดงั น้ี

 Gmail
 Hangouts (Google Talk)
 Google Calendar
 Google Documents
 Google Site เปน็ ต้น

จุดเด่นของ Google Apps

 พืน้ ที่เก็บ e-mail มากถึง 25 GB สามารถเก็บ e-mail ท้ังหมดไว้โดยไม่ต้องสารองข้อมูลแบบ
offline

 ความสามารถใหม่ๆที่ชว่ ยใหจ้ ดั การ e-mail ได้อย่างสะดวก เช่น ป้ายกากับs, conversation,
search operation

 เข้าใช้งานได้ จากอปุ กรณ์ต่างๆทั้ง Notebook, โทรศพั ท์ มอื ถือ หรอื Tablet ทกุ ที่ และทุกเวลา
 ใช้งานได้ท้ัง PC, Mac หรอื Linux
 กรณีทีเ่ กิดความเสียหายกบั เครือ่ ง computer ที่ใชง้ านอยู่ ข้อมลู ท้ังหมดของคุณจะยงั คงอยู่อย่าง

ปลอดภยั และ เรยี กใช้งานจากเครื่องอื่นๆได้ทนั ที
 จัดตารางนัดหมายขององค์กร(หรอื กลุ่ม)ได้ด้วย Calendar ที่ทกุ คนในองค์กร(หรือกลุ่ม) ใชง้ าน

ร่วมกัน
 ใช้งาน document, spreadsheet ร่วมกนั โดยที่ทุกคนในกลุ่มสามารถเข้าใช้งานและแก้ไขได้พร้อม

กนั
 ใช้งาน IM ได้ท้ัง text, voice หรอื video จากหน้าใช้งาน e-mail

Google Apps for Education 3

โดยทว่ั ไปในบญั ชี Gmail ปกติจะได้รบั นามสกุล @gmail.com ต่อท้าย แตถ่ ้าเป็น Google Apps
for Education เราสามารถปรบั แต่งปญั ชใี ห้เข้ากบั องค์กรณ์ สาหรับมหาวิทยาลยั แม่โจ้ ทุกคนจะได้
นามสกุลเป็น @gmaejo.mju.ac.th

โดย Google Apps for Education ได้มสี ่วนสาคัญในการเปลีย่ นแปลงโฉมองค์กรในด้านนวัตกรรม
การศกึ ษา และการตดิ ต่อส่ือสารในสถาบันการศกึ ษาต่างๆ ทาให้ครตู ิดตามนกั เรียนอยู่ใกล้ชิดมากขึ้น ได้
เรียนรู้ตามหลกั สตู ร ช่วยลดค่าใช้จ่ายของสถาบนั การศกึ ษาด้วยความเปน็ ระบบคลาวด์

Google Apps for Education 4

รูจ้ กั คลาวดค์ อมพิวติง้ (Cloud Computing)
หากพูดถึงว่า คลาวด์คอมพิวติง้ (Cloud Computing) คอื อะไร? หลายคนอาจจะนึกถึงแคบ่ ริการ

พืน้ ที่ฝากไฟล์บนอินเทอร์เน็ต อย่าง iCloud บน iPhone, iPad หรอื Google Drive บน Android หรอื
OneDrive บนมอื ถือ Windows Phone ซึง่ สิง่ เหล่านคี้ ือบริการ Cloud Storage อันเป็นบริการ Cloud ประเภท
หน่งึ เท่านน้ั แตอ่ นั ทีจ่ รงิ แล้ว บริการ Cloud Computing มีความหมายกว้างขวางกว่าน้ันมาก

Cloud computing คือบริการที่ครอบคลุมถึงการให้ใชก้ าลังประมวลผล หน่วยจัดเกบ็ ข้อมูล และ
ระบบออนไลน์ต่างๆจากผใู้ หบ้ ริการ เพือ่ ลดความยุ่งยากในการตดิ ตั้ง ดูแลระบบ ช่วยประหยดั เวลา และลด
ต้นทนุ ในการสร้างระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายเอง ซึ่งก็มีทั้งแบบบริการฟรีและแบบเกบ็ เงิน
หรอื พูดใหง้ ่าย Cloud Computing คือการทีเ่ ราใช้ซอฟต์แวร์, ระบบ, และทรพั ยากรของเครือ่ งคอมพิวเตอร์
ของผู้ให้บริการ ผา่ นอินเทอร์เน็ต โดยสามารถเลือกกาลงั การประมวลผล เลือกจานวนทรพั ยากร ได้ตาม
ความตอ้ งการในการใชง้ าน และให้เราสามารถเข้าถึงขอ้ มูลบน Cloud จากทีไ่ หนก็ได้ "Anywhere!
Anytime!" คือทุกที่ทกุ เวลา ไม่วา่ คณุ จะอยู่ตรงไหนก็ตาม ขอแค่มี Internet กบั Computer คณุ กท็ างานได้
แบบ 24/7 (24 ชั่วโมง 7วัน)

จากภาพด้านบนนี้ จะเห็นว่าด้านในของกรอบทีเ่ ปน็ ก้อนเมฆกค็ ือทรัพยากรของผใู้ ห้บริการที่มที ้ัง
Hardware และ Software (ซึ่งกท็ างานบน Hardware ของผู้ให้บริการเช่นกนั ) ผใู้ ช้บริการเพียงแค่ต่อเชื่อมเข้า
ไปใช้ผ่าน Network ด้วยเวบ็ บราวเซอร์ หรอื Client แอพพลิเคช่นั บนอปุ กรณ์ต่างๆของตน เชน่ มอื ถือ,
Tablet, Notebook, หรอื Chromebook เปน็ ต้น

Google Apps for Education 5

การลงชื่อเข้าส่รู ะบบ
หลังจากที่ได้ Account จาก Admin ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้แลว้ ท่านสามารถเช้าใช้งานได้จาก

หนา้ www.google.co.th
1. เปิดเวบ็ เบราว์เซอร์ Google Chrome พิมพ์ URL ไปที่ www.google.co.th คลิกลงช่อื เข้าสู่ระบบ

2. หากเคยลงชื่อเข้าใช้งานมาก่อนแล้วสามารถคลิกเลือกบัญชีได้เลย แต่ถ้ายังไม่เคยลงชื่อเข้าใช้งาน
ให้คลิกที่ เพิ่มบัญชี

Google Apps for Education 6

3. ใส่ชื่อ [email protected] และใส่รหัสผา่ น แล้วคลิกลงชือ่ เขา้ ใช้

4. สังเกตที่มมุ ขวาบนของเบราว์เซอร์ Google Chrome ถ้าหากขึ้นชือ่ บัญชีของเราแสดงว่าได้ทาการลง
ชือ่ เขา้ ใช้งานเรียบร้อยแลว้

Google Apps for Education 7

Google Mail

Google Mail หรือ Gmail คือ บริการฟรี e-mail ที่ทางานบนระบบ Search Engine ซึ่งมีหน้าตาไม่
แตกต่างจากรูปแบบของ Google เท่าไหร่ คือไม่มีลูกเล่น ดูเรียบง่ายแต่เน้นที่ความรวดเร็วในการเข้าถึง
เป็นหลกั มรี ะบบการจัดเกบ็ ที่ดี มีระบบค้นหาตามหวั เร่ืองจดหมาย ส่งไฟล์ประกอบงา่ ย และใช้งานงา่ ย

Google Apps for Education 8

1. การเข้าใชง้ าน Google Mail
หลังจากที่ได้ลงชือ่ เขา้ สู่ระบบแล้ว เมือ่ ตอ้ งการเขา้ ใช้งานในส่วนของ Google Mail ให้ดสู ัญลักษณ์
ใคลิกแล้วเลือก Gmail ดงั รูป

2. ส่วนต่างๆของ Google Mail
ส่วนตา่ งๆของ Google Mail จะประกอบไปด้วย 6 ส่วนหลักๆ ดังน้ี

Google Apps for Education 9

1. แสดงเจ้าของบัญชีที่กาลังลงชื่อใช้งานอยู่ และ Link สาหรับเข้าใช้งานเคร่ืองมือต่างๆ เช่น Search,
Google Drive, Calendar , Google +, YouTube เป็นต้น

2. ช่องสาหรบั ใส่ keyword เพือ่ ใช้ในการค้นหา
3. การตง้ั ค่าต่างๆของการใชง้ าน Google Mail
4. Navigation Pane ส่วนถดั มาเปน็ ส่วนที่ใชแ้ สดงจดหมายประเภทต่างๆ เชน่ กล่องจดหมาย, ติดดาว,

สาคัญ, จดหมายทีส่ ง่ แล้ว,จดหมายร่าง และ ป้ายกากับที่สามารถสร้างเพิม่ ได้
5. Chat Pane แสดงรายชื่อผู้ติดต่อ และสถานะการ online สามารถตั้งสถานะเป็นข้อความส่วนตัวได้

หรอื กดที่ชือ่ เพ่อื เริม่ สนทนาได้ทันที
6. Mail List แสดงรายระเอียดต่างๆของ Message เชน่ Sender, Subject และ date

Google Apps for Education 10

3. การเขียน Mail ใหม่
3.1 ไปทีห่ น้า Mail คลิกที่ “เขียน”

3.2 จะเข้าสู่หน้า Compose mail(เขียน Mail) ดงั ภาพ

3.3 ทีช่ ่อง To(ผรู้ บั )ให้ใส่ email ผทู้ ีต่ อ้ งการจะส่ง หากต้องการสาเนา Message ที่จะส่งให้คลิก
ที่ “สาเนา” แล้วใส่ email ทีต่ อ้ งการ สาเนาไป

3.4 ทีช่ ่อง “เรือ่ ง” ให้ใส่ชอ่ื หวั ข้อหรอื ชื่อเร่อื งทีต่ ้องการส่ง

Google Apps for Education 11

3.5 ทีช่ ่องว่าง ให้ใส่ข้อความหรอื รายละเอียดเพิ่มเติม หรอื จะไม่ใส่กไ็ ด้

3.6 หากต้องการ แนบไฟล์ หรอื รปู ภาพตา่ งๆ ทาได้จากเครื่องมอื ดังรปู
สญั ลกั ษณ์ที่ 1 คือการแนบไฟล์ทีเ่ ป็นเอกสารเชน่ word, excel, power point, PDF เปน็ ต้น
สญั ลักษณ์ที่ 2 คือการแทรกไฟล์โดยใช้ Google Drive
สญั ลักษณ์ที่ 3 คือการแทรกรูปภาพ
สัญลกั ษณ์ที่ 4 คือการแทรกลิงค์
สญั ลกั ษณ์ที่ 5 คือการแทรกไอค่อนสอ่ื อารมณ์
สัญลกั ษณ์ที่ 6 คือการแทรกข้อความเชญิ

3.7 หลงั จากทาการแนบไฟล์หรือรูปภาพแล้ว ให้คลิก Send(ส่งจดหมาย) เปน็ อันเสรจ็ สิน้

Google Apps for Education 12

4. การจดั การ จดหมาย
จดหมายทั้งหมดที่บุคคลอื่นส่งมา จะอยู่ใน Inbox สามารถเปิดดูได้ดว้ ยการคลิกที่จดหมาย

นั้น เพื่อดูรายละเอียดต่างๆของจดหมาย โดยมีส่วนประกอบดังน้ี

4.1 ส่วนสาหรบั จดั การกับ จดหมาย
กลบั ไปทีก่ ล่องจดหมาย
จดั เกบ็ ไว้ในระบบข้อมลู
รายงานจดหมายขยะ//*
จดั เก็บลงถังขยะ
ย้าย จดหมาย
กาหนดป้ายกากับ
เมนเู พิ่มเติม

Google Apps for Education 13

4.2 ส่วนแสดง Subject ของ Message และ ป้ายกากับ ของ Message น้ัน
4.3 ส่วนแสดงรายละเอียดของ Message

4.4 ส่วนจดั การ Message

Google Apps for Education 14

4.5 ส่วนสาหรบั การตอบจดหมาย หรอื ส่งต่อใหผ้ อู้ ื่น

4.6 ส่วนการ Chat
เมือ่ ตอ้ งการ สง่ ข้อความ ไปยังผสู้ ่ง Mail ให้กดปุ่ม Chat เพือ่ ทาการเชิญ และเมือ่ ฝ่ายตรง
ข้ามตอบรบั กส็ ามารถส่งข้อความถึงกนั ได้

5. การจดั การปา้ ยกากับ
5.1 การสรา้ งป้ายกากบั ใหม่

 ให้คลิกปุ่ม กาหนดป้ายกากบั แล้วเลือก Create New

 จากนั้นใส่ช่อื ป้ายกบั ตามทีต่ ้องการ แล้วคลิกสร้าง

Google Apps for Education 15

5.2 การกาหนดป้ายกา กับให้กับ Message
 เราสามารถเลือก ป้ายกากับ ให้กับ Message ที่เราต้องการได้ โดยคลิกที่ปุ่ม
กาหนดป้ายกากับแล้วเลือกป้ายกากบั ทีเ่ ราได้สรา้ งข้ึน

 เม่ือเลือกป้ายกากับเสร็จแล้วจะเห็นได้ว่าป้ายกากับจะแสดงในส่วน Subject ของ
Message น้ัน

5.3 การลบป้ายกากบั ออกจาก Message
 ที่หน้า Mail เม่ือกดเลือก message บริเวณส่วนที่แสดง Subject จะมี ป้ายกากับ ที่
กาหนดไว้กบั message น้ัน สามารถเอาออกได้โดยกดที่ x ด้านท้าย ป้ายกากับ

Google Apps for Education 16

6. การปรับแตง่ คา่ ต่างๆ ในเมล์

คลิกมุมขวาทีร่ ูป เลือก การตั้งค่าต่างๆ(setting) ตามที่ต้องการ

6.1 การเปลี่ยนเปลีย่ นรูปโปรไฟล์ เปลี่ยนภาษา

การเปลีย่ นเปลี่ยนรปู โปรไฟล์ เปลี่ยนภาษา สามารถทาได้จากการกดปุ่ม General

ทาการปรบั ค่าต่างๆ จากนั้นกดบนั ทึกการเปลี่ยนแปลง

ปรบั รูปภาพ

Google Apps for Education 17

6.2 การเพิม่ Email ทใ่ี ชส้ าหรับการติดตอ่

ที่หน้าจอหลักใหค้ ลิกทีป่ ุ่ม เลือก Settings คลิกเลือกหัวข้อ [Forwarding and POP/IMAP]

ตรวจสอบ Status ของ IMAP Access โดยจะต้องเปน็ Enable IMAP

Google Apps for Education 18

จากนั้นเลือกใช้งาน Tabบัญชี
เพิ่มบญั ชีจดหมายทีต่ อ้ งการให้แสดงใน @gMaejo

สามารถเพิ่มได้สงู สุด 5 บญั ชี

Google Apps for Education 19

ทดสอบการทางาน ทาการส่ง Mail เข้าบญั ชที ีไ่ ด้เพิ่มไว้
จะมาปรากฏในบญั ชี Gmaejo ด้วยเช่นกัน

Google Apps for Education 20

ทาให้ไม่พลาดการตดิ ต่อจาก Mail บญั ชเี ดิมๆ เปน็ การงา่ ยทีจ่ ะเปลีย่ นมาใช้บญั ชีของ Google

Google Apps for Education 21

Google Calendar

Google Calendar คือ บริการปฏิทินแบบออนไลน์ของ Google ซึ่งทาให้คุณสามารถเก็บข้อมูล
เหตุการณ์ต่างๆ รวมไว้ในที่เดียวกันได้ ไม่ว่าจะเป็นการสร้างกาหนดการนัดหมายและกาหนดเวลา
เหตุการณ์ต่างๆ สามารถส่งข้อความเชิญ สามารถใช้ปฏิทินร่วมกับเพื่อนร่วมงาน และ ค้นหาเหตุการณ์
ต่างๆ ได้

ประโยชน์ของ Google Calendar
 เปน็ ตัวช่วยในการจัดตารางเวลาให้กบั เราได้อย่างสะดวกสบาย สามารถกาหนดกิจกรรมที่จะทาลง

ไปได้ทาให้เราได้เหน็ อย่างชัดเจน เปลีย่ นแปลงข้อมลู ใส่สีสนั ได้ตามใจเราเพื่อบ่งบอกถึงความเปน็
ตัวของคณุ
 เหตกุ ารณใ์ นตาราง เราสามารถกาหนดใหแ้ จ้งเตอื นทางอีเมล์ได้ หรอื ไม่ต้องแจง้ กไ็ ด้
 บริการน้ีสามารถส่งขอ้ ความเชญิ ทีเ่ กีย่ วกบั กิจกรรมของเราได้ทางอเี มล์ และยงั กาหนดล่วงหน้าได้
อีกด้วย
 ใช้ปฏิทินรว่ มกันได้กบั เพือ่ นของเรา และยังกาหนดได้อีกว่าจะให้ใครใช้ได้หรอื ไม่ อีกทั้งแสดงได้อีก
ว่าเรากาลังอยู่ในสถานะใดคล้ายกบั การใชบ้ ริการของ MSN
 สามารถใช้บริการนีไ้ ด้ทกุ ที่ที่มอี ินเตอรเ์ นต็ ทาให้สะดวกต่อการใช้งาน
 สามารถแจง้ เตือนกิจกรรมที่กาลังจะมาถึงได้ทางโทรศัพท์เคลือ่ นที่ ทาให้เรารู้ได้ล่วงหนา้ อย่าง
รวดเรว็ และไม่พลาดกิจกรรมหรือนดั หมายน้ันๆ

Google Apps for Education 22

1. การเขา้ ใชง้ าน ให้คลิกแล้ว
เม่ือต้องการเข้าใช้งานในส่วนของ Google Calendar ให้ดูสัญลักษณ์

เลือก ปฏิทิน ดังรูป

รูปร่างหน้าตาของ Google Calendar

Google Apps for Education 23

2. ส่วนต่างๆของ Google Calendar

สว่ นท่ี 1 : ค้นหาปฏิทิน ค้นหารายการเหตุการณต์ ามทีเ่ ปิดให้ท่านสามารถดูข้อมลู ได้

สว่ นท่ี 2 : สร้าง เพื่อสร้างกาหนดการ

ส่วนท่ี 3 : ปฏิทิน แสดงตวั เลือกวันที่ในรปู แบบปฏิทิน รายเดือน

ส่วนท่ี 4 : รายการปฏิทิน แยกตามเจ้าของปฏิทินแสดงรายชื่อปฏิทินที่มีการใช้ร่วมกัน
สามารถเลือก check ที่ box ด้านหน้า เม่ือต้องการให้แสดงเหตุการณ์ของปฏิทินน้ันๆ ทาให้
สามารถดูปฏิทินหลายๆ อันในเวลาเดียวกันได้ ซึ่งช่วยให้สามารถทราบได้ว่าเหตุการณ์ใดทีท่ ับ
ซ้อนกันอยู่หรอื ไม่ทาให้ง่ายในการทากาหนดการต่างๆ นอกจากนีย้ งั สามารถต้ังสีของปฏิทินได้
เพื่อให้งา่ ยในการดูขอ้ มูลด้วย

ส่วนท่ี 5 : วัน สัปดาห์ เดือน สี่วันถัดไป แผนงาน คือ ตัวเลือกส่วนแสดงเหตุการณ์ต่างๆ
สามารถเลือกดูตาม วัน สปั ดาห์ เดือน แบบกาหนดเอง หรอื ดเู ป็นรายการได้

ส่วนท่ี 6 : การตั้งค่า เพื่อเข้าไปต้ังค่ารูปแบบของปฏิทิน

สว่ นท่ี 7 : ตารางกิจกรรม เปน็ การแสดงรายละเอียดต่างๆของกิจกรรมที่เราได้สรา้ งเอาไว้

Google Apps for Education 24

3. การสรา้ งกิจกรรม
คลิกปุ่มมุมบนซ้ายที่คาว่า “Create” แล้วจะมีหน้าต่างการสร้างกิจกรรม โดยมีให้กรอก

ข้อมูลอยู่ท้ังหมด 7 ส่วนคือ

ส่วนที่ 1 : การกลบั ไปยังหนา้ ปฏิทิน, การบันทึกกิจกรรม และการยกเลิกการสร้างกิจกรรม
ส่วนที่ 2 : ชือ่ กิจกรรม
ส่วนที่ 3 : การกาหนดวนั ที่และเวลาของกิจกรรม
ส่วนที่ 4 : รายละเอียดของกิจกรรม เชน่ สถานที,่ การเพิ่มผู้เข้าร่วม, เลือกรายการปฏิทิน,

ใส่รายละเอียดของปฏิทิน เป็นต้น
ส่วนที่ 5 : การใส่สีของกิจกรรม เพื่อไม่ให้เกิดความสบั สน
ส่วนที่ 6 : การตง้ั ค่าการเตือน
ส่วนที่ 7 : การตง้ั ค่าสถานะ

Google Apps for Education 25

4. การลบและการแก้ไขกิจกรรม
4.1 การลบกิจกรรม
สามารถทาได้โดยคลิกที่กิจกรรมทีเ่ ราสร้างข้นึ มา แล้วคลิก Delete

4.2 การแก้ไข้กิจกรรม
วิธีการจะเหมอื นกบั การลบกิจกรรม เพียงแต่เลอื กเมนู Edit event

จากนั้นให้ทาการแก้ไขกิจกรรม แล้วคลิกSaveเป็นอันเสรจ็ สิน้

Google Apps for Education 26

5. การแชร์กิจกรรมให้ผอู้ ื่น
คลิกทีก่ ิจกรรมทีเ่ ราสร้างข้ึนมา แล้วคลิกเมนู Edit event

Google Apps for Education 27

ดใู นส่วนเมนู “เพิ่มผู้เข้าร่วม” ให้ใส่อีเมล์ลงในช่องจากนั้นกาหนดความสามารถของผเู้ ข้าร่วม
ว่าทาอะไรได้บ้างเช่น แก้ไข, เชิญบุคคลอื่น, ดรู ายชอ่ื ผเู้ ข้าร่วม แล้วคลิกเพิม่

จากน้ันคลิกบนั ทึกกิจกรรม เปน็ อันเสร็จสนิ้

6. การสร้างปฏิทนิ ใหม่
การสรา้ งปฏิทินใหม่นั้นเปน็ การสร้างปฏิทินเพื่อใช้ร่วมกบั บุคคลอืน่ ๆ เชน่ ผรู้ ่วมงาน, เพื่อน

ในกลุ่ม, บุคคลพิเศษ เป็นต้น โดยการสร้างปฏิทินใหม่นี้ทาได้โดยคลิกที่สัญลักษณ์ ที่
ปฏิทินของฉนั แล้วเลือกสร้างปฏิทินใหม่

Google Apps for Education 28

จากน้ันให้กรอกข้อมลู ลงไป ตามตวั อย่าง เสร็จแล้วคลิกสร้างปฏิทิน

ปฏิทินที่เราได้ทาการสร้างก็จะเข้ามาอยู่ในส่วนของ ปฏิทินของฉัน
***หมายเหตุ บุคคลที่เราได้ส่งคาเชิญไปน้ันต้องไปตอบรับทางอีเมล์ก่อนถึงจะสามารถ
มองเหน็ ละแก้ไขกิจกรรมของปฏิทินนั้นๆได้

Google Apps for Education 29

7. รูปแบบของปฏิทนิ
เราสามารถเลือกรูปแบบของปฏิทินได้ โดยการคลิกที่มุมบนขวาของหน้าต่าง โดยมีให้

เลือกทั้งหมด โดยมีให้เลือกท้ังหมด 5 รูปแบบดงั น้ี
แบบวัน

เราจะสามารถดรู ายละเอียดของกิจกรรมในวันนั้นๆได้ โดยรปู แบบนจี้ ะแสดงแบบช่วงเวลา

แบบสปั ดาห์
ในรูปแบบรายสัปดาห์นี้จะแสดงในหนึ่งสัปดาห์ของเรามีกิจกรรมอะไรบ้าง ในวันไหนบ้าง

และจะแสดงเป็นรายเวลาอีกด้วย

Google Apps for Education 30

แบบเดือน
ในรูปแบบนี้จะแสดงตารางกิจกรรมเป็นรายเดือนต้ังแต่วันแรกของเดือนจนถึงวันสุดท้าย

ของเดือน แต่จะบอกแค่ว่ามีกิจกรรมอะไร เวลาเท่าไหร่ แตไ่ ม่ได้แสดงรายละเอียดของกิจกรรม

Google Apps for Education 31

แบบสีว่ ัน
ในรูปแบบนีจ้ ะคล้ายๆกับรูปแบบรายสปั ดาห์ แตร่ ูปแบบนีจ้ ะแสดงแค่สี่วันถดั ไปจากวนั นี้

แบบแผนงาน
รูปแบบนีจ้ ะแสดงกิจกรรมทุกอย่าง โดยจะแสดงกิจกรรมทั้งหมดของเดือนและมีคาอธิบาย

รายละเอียดของกิจกรรม แตไ่ ม่ได้อยู่ในรปู แบบตารางเหมอื นรปู แบบก่อนหนา้ นี้

Google Apps for Education 32

8. การเพิ่มปฏิทิน
การเพิ่มปฏิทินอื่นๆเข้ามาในปฏิทินของเรา เพื่อนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน สามารถทา

ได้โดยคลิกที่ สญั ลกั ษณ์ ของเมนูปฏิทินอน่ื ๆ โดยจะมีวธิ การเพิม่ 4 แบบ คือ 1.การเพิม่ ปฏิทิน
ของเพื่อน 2.การเรียกดูปฏิทินที่น่าสนใจ 3.การเพิ่มด้วย URL 4.การนาเข้าปฏิทิน และสุดท้ายคือ
การตงั้ ค่า

การเพิม่ ปฏิทินของเพือ่ น
ทาได้โดยคลิกเมนู “เพิ่มปฏิทินของเพื่อน” จากนั้นจะแสดงหน้าต่างการเพิ่มข้ึนมา ให้กรอก

อีเมล์ของเพื่อนลงไปในช่อง อีเมล์ของทีอ่ ยู่ แล้วคลิกเพิม่ เปน็ อนั เสร็จสิน้

Google Apps for Education 33

การเรียกดปู ฏิทินทน่ี ่าสนใจ
คลิกที่เมนู “เรียกดูปฏิทินที่น่าสนใจ” จากน้ันจะแสดงหน้าต่างเมนูเรียกดูปฏิทินที่น่าสนใจ

ขึน้ มา เชน่ วนั หยุด, กีฬา หากต้องการดูแบบอืน่ ให้คลิกที่เพิ่มเตมิ

เม่ือเจอปฏิทินที่น่าสนใจแล้วต้องการเพิ่มเข้าไปในปฏิทินของเรา เช่น วันหยุดในไทย โดย
ด้านขวาจะมีเมนูแสดงตัวอย่างให้ดกู ่อนตัดสินใจ จากนั้นให้คลิกทีส่ มัคร เป็นอนั เสรจ็ สนิ้
การเพิ่มดว้ ย URL

คลิกที่เมนู “เพิ่มด้วย URL” จากน้ันจะมีเมนูแสดงการเพิ่มปฏิทินด้วย URL ให้กรอกที่อยู่
ของ URL ในรปู แบบของ ical แล้วคลิกเพิม่ ปฏิทิน

Google Apps for Education 34

การนาเข้าปฏิทิน
วิธีการนี้จะเป็นการนาเข้าปฏิทินจากไฟล์ที่อยู่ในเคร่ืองเรา โดยคลิกที่เมนู “นาเข้าปฏิทิน”

แล้วเลือกไฟล์ที่อยู่ในรูปแบบของ ical หรอื ไฟล์นามสกลุ .CSV หากไม่เขา้ ใจคลิกที่ Learn more
จากน้ันเลือกปฏิทินที่ตอ้ งการนาเข้า แล้วคลิกนาเข้า

9. การตง้ั ค่า
เม่ือคลิกที่เมนู “Setting” แล้วจะมีเมนูการต้ังค่าปฏิทินอยู่ 4 แบบคือ 1.ทั่วไป 2.ปฏิทิน 3.

ตั้งค่าอุปกรณ์เคลื่อนที่ และ 4.แล็บ
ทว่ั ไป เป็นการตง้ั ค่าท่ัวไปเชน่ ภาษา, ประเทศ, รูปแบบวันที่ , เวลา ฯลฯ เป็นต้น

Google Apps for Education 35

ปฏิทิน เป็นการต้ังค่าต่างๆของปฏิทิน เช่น การแจ้งเตือนให้ทราบ, การยกเลิกการสมัคร
เปน็ ต้น

ต้ังค่าอุปกรณ์เคลื่อนที่ เป็นการตั้งค่าการแจ้งเตือนบนโทรศัพท์ของเรา เพื่อไม่ให้พลาดกับ
ตารางนดั ต่างๆของงานหรอื ชีวติ ประจาวัน

แล็บ เป็นการเปิดใช้งานฟังก์ชั่นต่างๆ แต่ยังอยู่ในระหว่างการทดสอบ ซึ่งยังไม่พร้อมสาหรับ
การใช้งานสาธารณชน โดยคุณลักษณะเหล่านี้อาจจะ เปลี่ยนแปลง ใช้ไม่ได้ หรือ หายไป เม่ือใดก็
ได้

Google Apps for Education 36

Google Apps for Education 37

10. การปรับแต่งปฏิทนิ

เป็นการปรับแตง่ และตง้ั ค่าต่างของปฏิทินที่เราเพิม่ หรือนาเข้า เข้ามา โดยคลิกทีส่ ัญลกั ษณ์
ของปฏิทินนนั้ ๆทีเ่ ราต้องการปรบั แตง่ โดยจะมีเมนูดงั นี้

 แสดงเฉพาะปฏิทินน้ี
 ซ่อนปฏิทินน้ีจากรายการ
 การตง้ั ค่าปฏิทิน
 การแจ้งเตอื นและการแจ้งใหท้ ราบ
 ส่งให้เพื่อน
 การเลือกสี ของปฏิทิน

Google Apps for Education 38

Google Drive

Google Drive คืออะไร

Google Drive เป็นบริการจาก Google ที่ทาให้เราสามารถนาไฟล์ต่าง ๆ ไปฝากไว้กับ Google ผ่าน
พืน้ ที่เกบ็ ข้อมูลระบบคลาวด์และการสารองขอ้ มลู ไฟล์ที่มคี วามปลอดภยั ทาให้เราสามารถใช้ไฟล์เหล่าน้ันที่
ไหนก็ได้ ไม่เพียงแค่ฝากไฟล์ได้เท่าน้ันคุณยังสามารถ สามารถแบ่งปันไฟล์กับคนที่ต้องการ และสามารถ
แก้ไขร่วมกันได้จากอปุ กรณ์หลายประเภท เชน่ อุปกรณ์มอื ถือ อุปกรณ์แทบเลต หรอื คอมพิวเตอร์

สาหรับพื้นที่ ๆ Google ให้เราใช้บริการฟรีน้ันอยู่ที่ 15 GB สาหรับผู้ใช้งานทั่วไป และหากต้องการ
พื้นที่มากขึ้น ก็สามารถซื้อพื้นพี่จัดเก็บข้อมูลเพิ่มได้ ส่วนราคาก็ขึ้นอยู่กับขนาดของพื้นที แต่หากสาหรับ
ผใู้ ช้งานทีเ่ ป็น Google Apps for Education นั้นจะอยู่ที่ 10TB

ข้อดขี อง Google Drive

 เก็บไฟล์ได้ทกุ ประเภท
 ดขู ้อมลู แก้ไขเอกสารได้จากทกุ ที่ ทกุ เวลา
 แชร์ไฟล์,โฟล์เดอร์ เพื่อทางานรว่ มกันได้

ข้อเสียของ Google Drive

 ต้องเช่อื มตอ่ กบั อินเตอรเ์ น็ต

Google Apps for Education 39

1. การเขา้ ใชง้ าน Google Drive
 เปิดโปรแกรมเบราว์เซอร์ข้นึ มาแล้วเข้ามาที่เว็บไซต์ www.google.co.th

 คลิกที่สญั ลกั ษณ์ แล้วคลิก Drive

Google Apps for Education 40

 รูปร่างหน้าตาของ Google Drive

Google Apps for Education 41

2. การติดตง้ั Google Drive บนเคร่อื งคอมพิวเตอร์ แล้วคลิก Download Drive
 หลงั จากที่เข้าใช้งาน Google Drive ได้แล้วให้คลิกสัญลกั ษณ์

 คลิก Download Drive อีกครั้งแล้วเลือก MAC and PC

Google Apps for Education 42

 คลิก Accept and Install

 ระบบจะทาการดาวน์โหลดเองอตั โนมตั ิ เสร็จแล้วคลิกที่ googledrivesync.exe ด้านซ้ายล่าง

Google Apps for Education 43

 คลิก Yes เพื่อทาการตดิ ต้ัง
 คลิกเริม่ ต้นใช้งาน

Google Apps for Education 44

 กรอก username และ password แล้วคลิกลงชื่อเขา้ ใช้

 คลิกถัดไป

Google Apps for Education 45

 คลิกถัดไป

 คลิกถดั ไป

Google Apps for Education 46

 คลิกเสร็จสนิ้

 เมื่อทาการติดตงั้ เสร็จแล้ว Google Drive จะทาการสรา้ ง Shortcut ให้

Google Apps for Education 47

3. การอพั โหลดไฟล์
สาหรับการอัพโหลดไฟล์สามารถทาได้สองช่องทางคือ อัพโหลดผ่านเวบ็ เบราว์เซอร์ และอัพโหลด

ผา่ น Application
3.1 การอพั โหลดผ่านเวบ็ เบราว์เซอร์
 เข้าใช้งาน Google Drive แล้วคลิกขวาเลอื ก Upload files หรอื Upload folder


Click to View FlipBook Version