บนั ทึกการฝึ กประสบการณ์ในสถานศึกษา
การพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งตงั้ ให้ดาํ รงตาํ แหน่ง
รองผอู้ าํ นวยการสถานศึกษาประจาํ ปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
สงั กดั สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ของ
นายกิตติศกั ด์ิ ห่วงมิตร
กลมุ่ ท่ี ๒ เลขท่ี ๔
สถานท่ีฝึ กประสบการณ์ วิทยาลยั เทคนิคมาบตาพดุ
ระหวา่ งวนั ที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ถงึ วนั ที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕
วทิ ยาลัยเทคนคิ มาบตาพุด(ระยอง)
ประเด็นท่ี ๑ กลยุทธในการขับเคลอื่ น FUTURE SKILL ของสถานศึกษา
๑. เพอ่ื พัฒนาศักยภาพบคุ ลากรระดับชา่ งเทคนคิ ของอตุ สาหกรรมป�โตรเลียมและป�โตรเคมี ให้
สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการการเรียนรู้เฉพาะทาง ระดบั คุณภาพ ดีเลิศ ซง่ึ มีการ
พัฒนาหลกั สูตรฐานสมรรถนะ การพฒั นาสมรรถนะครผู สู้ อน การยกระดับคณุ ภาพการเรียนรู้ การพฒั นา
นวตั กรรมการบรหิ าร การสร้างความร่วมมือภาคีเครือข่าย
๒. เพื่อพัฒนาวิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุดให้เป�นวิทยาลัยต้นแบบในการผลิตกำลังคนระดับช่าง
เทคนคิ สนองความตอ้ งการของอุตสาหกรรมป�โตรเลยี มและป�โตรเคมี และเป�นตน้ แบบการเรยี นการสอนใน
ระดับอาชีวศึกษาพัฒนากำลังคน (Center of Vocational Manpower Networking Management :
CVM อีกทั้งวิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุดได้ผ่านการรับรองเป�นองค์กรที่มีหน้าที่รับรองสมรรถนะของบุคคล
ตามมาตราฐานอาชีพ ในสาขาวิชาชพี อตุ สาหกรรมป�โตรเลียมและป�โตรเคมี
๓. เพ่ือนำวธิ กี ารเรยี นรเู้ พื่อสรา้ งสรรค์ดว้ ยป�ญญา(Constructionism)มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนา
ผู้เรียนทีทักษะการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21 ความเป�นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) สาขาป�
โตรเคมี และได้ผ่านการรับรองเป�นองค์กรที่มีหน้าที่รับรองสมรรถนะของบุคคลตามมาตราฐานอาชีพ ใน
สาขาวิชาชีพอตุ สาหกรรมปโ� ตรเลยี มและปโ� ตรเคมี
ประเดน็ ที่ ๒ การสรา้ งความเข้มแข็งของระบบความร่วมกบั สถานประกอบการ
วิทยาลยั เทคนิคมาบตาพุด เปน� สถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาในกำกับของรฐั เปน� วทิ ยาลยั ท่ีเด่นด้านการ
จัดการศึกษาด้วยกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยป�ญญา (Constructionism) และมีชื่อเสียงมา
ยาวนาน ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา สถานศึกษาแห่งนี้ได้รับการบริหารและพัฒนาวิทยาลัยในด้านตา่ งๆจน
เปน� ท่ี ยอมรับจากสังคม ชุมชน สถานประกอบการและบุคคลภายนอก เราม่งุ เนน้ ในการพัฒนากระบวนการ
เรียนรู้ด้าน อาชีวศึกษา การจัดการเรียนการสอน พัฒนาบุคลากร การบริการวิชาการแก่สังคม ทํานุบํารุง
ศิลปวัฒนธรรม ผ่านองค์ความรู้และศาสตร์ต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพจากคณะผู้บริหาร ครูและบุคลากร
ทางการศึกษา สูผ่ ้เู รยี น และชุมชนส่งทอดกันต่อไปอย่างไมม่ ีที่สิน้ สุดเพื่อให้ทันต่อยุคในศตวรรษที่ 21 และ
นอกจากการผลิตและพัฒนา กําลังคนด้านอาชีวศึกษาแล้ว วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุดยังส่งเสริมเรื่อง
งานวิจัยและสร้างผลงานนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ เพื่อเป�นต้นแบบในการพัฒนาอุตสาหกรรมและ
ประเทศชาติต่อไปในอนาคตเพ่อื รองรับเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวนั ออก (EEC)
วิทยาลยั เทคนคิ มาบตาพุด ทำการจดั การเรียนการสอนในหลักสตู รอาชวี ศึกษาตรงตามบริบทของ
สถานศึกษา เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการ ของผู้เรียน และตลาดแรงงานและแผนการพัฒนาระเบียง
เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก โดยเป�ดสอนระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จำนวน 6 สาขาวิชา และ
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) จำนวน 7 สาขาวิชา ซึ่งผู้สำเรจ็ การศึกษาจากวิทยาลัยเทคนิค
มาบตาพดุ จะมคี ณุ ลักษณะท่พี ึงประสงค์ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน
วธิ ีดำเนินการสร้างความเชือ่ ม่นั ใหก้ บั ผู้มสี ่วนเกี่ยวข้องและสถานประกอบการ โดยการจัดการเรียน
การสอน ร่วมกบั สถานประกอบการ ซึ่งมรี ูปแบบการพัฒนาทักษะดา้ นอาชีพ เน้นการสรา้ งความร่วมมือกับ
ภาคเอกชนที่อยู่ ในอุตสาหกรรมหลักของจังหวัดระยองและจังหวัดใกล้เคียง เพื่อสร้างการเชื่อมโยง
หลักสูตรต้านอาชีวศึกษากับ ภาคอุตสาหกรรม ทำให้การพัฒนาทักษะของนักเรียนสายอาชีวศึกษาตอบ
โจทย์และตรงกับความตอ้ งการของภาค อุตสาหกรรมอย่างแท้จริง นอกจากนี้การพัฒนาทกั ษะด้านเทคนิค
และอาชีพ ยังจะสนับสนุนเรื่องการฝ�กงานของ นักเรียน นักศึกษา เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้จาก
ประสบการณ์จรงิ และเพ่ือสร้างโอกาสดา้ นอาชีพใหแ้ ก่ผเู้ รียน
วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด ได้จัดทำโครงการพัฒนาช่างเทคนิควิศวกรรมเคมี โดยร่วมกับสถาน
ประกอบการกลุ่มอุตสาหกรรมป�โตรเคมี และสถาบันป�โตรเลียมแห่งประเทศไทย เพื่อพัฒนาศักยภาพใน
การเรียนรู้พัฒนาทักษะและกำลังคนให้ตรงกับความต้องการของกลุ่มอุตสาหกรรมป�โตรเคมี ปรากฎว่า
ผู้เรียนทุกคนมีการพัฒนาความรู้และทกั ษะเป�นท่ีพอใจของบรษิ ัทต้นสงั กัด จึงทำให้กลุ่มอุตสาหกรรมปโ� ตร
เคมีสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยมีความยินดีที่จะสนับสนุนโครงการอย่างเต็มที่ จึงได้ดำเนินการจัด
ประชุมร่วมภาครัฐและเอกชนเพื่อพัฒนาสมรรถนะช่างเทคนิคเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ
อุตสาหกรรม โดยสำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้จัดพิธีลงนามขอ้ ตกลงความร่วมมือโครงการ
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม ระหว่างสำนักคณะกรรมการ
การอาชวี ะศึกษาและกลมุ่ อุตสาหกรรมปโ� ตรเคมี สภาอตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทย โดยมมี ลู นธิ ิศกึ ษาพัฒน์
สถาบันป�โตรเลียมแห่งประเทศไทยและกระทรวงศึกษาท่ีการรว่ มเป�นสักขีพยานและมีสถานประกอบการที่
ให้การสนับสนุนงบประมาณเพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนในแต่ละป� ตามระยะเวลาลงนามความ
ร่วมมือ อีกทั้งการจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบกระบวนการเรียนรู้ตามทฤษฎีการเรียนรู้แบบ
สร้างสรรค์ดว้ ยป�ญญา (Constructionism) ซึ่งเป�นทฤษฎีการเรียนรู้ที่อาศัยเครือ่ งมือช่วยให้เกิดการเรยี นรู้
เช่น Micro Wolds , LEGO- Logo ,GoGo board การเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ด้วยป�ญญาอาจจะเป�นการ
สร้างองค์ความรู้ให้เกิดกับนักศึกษาแต่ละคนซึ่งอาจจะไม่เหมือนกันแต่ไม่ใช่การเรียนรู้โดยลำพัง เป�นการ
เรยี นรูแ้ บบกลุม่ การทำงานเปน� กลุ่มสร้างวฒั นธรรมความสมั พนั ธท์ ี่ดีในองคก์ ร สรา้ งความสามคั คีในหมู่คณะ
เปน� อกี แนวทางการเรียนรู้หนึ่งท่ีจะทำให้นักศึกษาแตล่ ะคนเก็บเก่ียวความรู้ทง้ั จากการปฏิบัติจริงจากเพื่อน
ร่วมกลมุ่ จากเพือ่ นตา่ งกลุ่ม อกี ท้งั ยงั เป�นการกระตุ้นให้นักศึกษาเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมให้สามารถ
ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ยอมรับฟ�งความคิดเห็นของผู้อื่นมีภาวการณ์เป�นผู้นำและเพื่อให้นักศึกษาได้แสดง
ความรู้ความสามารถออกมาให้เกดิ เป�นผลงาน ส่งิ ประดษิ ฐ์ตามความคิดสร้างสรรค์และนำไปใช้ในการเรียน
การปฏิบัตงิ านจริงได้จนนำไปสู่การแขง่ ขันระดับเอเชีย ป�จจุบันโครงการพัฒนาช่างเทคนิควิศวกรรมเคมี มี
การพัฒนาคุณภาพอยู่ตลอดเวลา มีผู้คนรู้จักอย่างแพร่หลาย ทำให้มีผู้เข้ามาเยี่ยมชมโครงการฯ อย่าง
ตอ่ เน่ือง
ประเด็นที่ ๓ ระบบการบรหิ ารจดั การสู่คุณภาพ
สถานศึกษามีครูที่มีคุณวุฒิการศึกษาและมีจำนวนตามเกณฑ์ที่กำหนด ได้รับการพัฒนาอย่างเป�น
ระบบตอ่ เน่อื งเพ่ือเป�นผู้พร้อมทง้ั ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรมและความเข้มแข็งทางวิชาการและวชิ าชีพ จัดการ
เรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป�นสำคัญ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนทั้งวัยเรียนและวัยทำงาน ตาม
หลักสูตร มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา ตามระเบียบหรือข้อบังคับเกี่ยวกับการจัด
การศกึ ษาและการประเมินผลการเรียนของแต่ละหลักสูตร ส่งเสรมิ สนบั สนุน กำกับ ดูแลให้ครจู ดั การเรียน
การสอนรายวิชาให้ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ มีการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรให้เป�นหลักสูตรฐาน
สมรรถนะ อย่างเปน� ระบบ จำนวน 13 สาขาวชิ า จากท้งั หมด 13 สาขาวิชา คิดเป�นร้อยละ 100
วิทยาลยั เทคนิคมาบตาพดุ มกี ารสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้ครูผู้สอนจดั ทำแผนการจัดการเรียนรู้
สู่ การปฏิบัติที่เน้น ผู้เรียนเป�นสำคัญ และนําไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีคุณภาพ เพื่อพัฒนา
ผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ และทักษะที่จําเป�นในศตวรรษที่ 21 ด้านเทคนิค วิธีการสอนที่หลากหลาย มีการ
วัดผล ประเมินผลตามสภาพจริง มกี ารใชส้ อื่ นวตั กรรม เทคโนโลยที างการศึกษา แหลง่ เรยี นรู้ และทำวิจัย
เพื่อคุณภาพการจัดการเรียนรู้และแก้ป�ญหาการจัดการเรียนรู้ ครูผู้สอนสามารถบริหารจัดการชัน้ เรียนโดย
จัดทำข้อมูลผู้เรียนเป�นรายบุคคลมีข้อมูล สารสนเทศ หรือเอกสารประจำชั้นเรียน และรายวิชา ใช้เทคนิค
บริหารจัดการช้นั เรยี นให้มีบรรยากาศทเ่ี อ้ือต่อการเรียนรู้ เป�นผ้เู สริมแรงใหผ้ ้เู รยี นมีความมงุ่ มัน่ ตง้ั ใจในการ
เรียน ดูแลช่วยเหลือผูเ้ รยี นรายบุคคล ทั้งด้านการเรียน และอื่น ๆ ครูผู้สอนร้อยละ 100 จัดทำแผนพัฒนา
ตนเองและวิชาชีพและเข้าร่วมกระบวนการพัฒนาวิชาชีพ ได้รับการพัฒนาตามแผนพัฒนาตนเอง และ
กระบวนการพัฒนาวิชาชีพ มีการนําผลการพัฒนางานเอามา ใช้ในการจัดการเรียนการสอน มีผลงานการ
พฒั นาตนเอง และพัฒนาวชิ าชพี ได้รับการยอมรบั หรอื เผยแพร่
มีอาคาร สถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ แหล่งการเรียนรู้ และ สิ่งอานวยความสะดวกในการ
ให้บรกิ ารผู้เรียนเพยี งพอต่อความต้องการ และมีการพัฒนาดูแลสภาพแวดล้อม ภมู ิทศั น์ของสถานศึกษาให้
เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ มีระบบไฟฟ้า ประปา คมนาคม ระบบสื่อสาร ระบบรักษาความ ปลอดภัยที่มี
ประสทิ ธิภาพ มีระบบอนิ เตอรเ์ น็ต ความเรว็ สูง เพือ่ การใชง้ านสารสนเทศภายในสถานศกึ ษา
จัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ได้ตามมาตรฐานที่สานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กำหนด สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการ อาชีวศึกษาทั้งในและ
ต่างประเทศ ในด้านครพู เิ ศษ ภมู ิป�ญญาท้องถน่ิ ผเู้ ช่ยี วชาญ ผูท้ รงคณุ วฒุ ิ สถานประกอบการ
ประเดน็ ที่ 4 การขับเคล่ือนระบบงานวิชาการใหศ้ ึกษาบริบทของสถานศึกษาท้ัง 4 ประเด็น โดย
วเิ คราะหข์ อ้ มลู โดยใช้กระบวนการ PDCA
๑. การสร้างความร่วมมอื อยา่ งเปน� ระบบ
โครงการ V-ChEPC เป�นโครงการยกระดับคุณภาพการผลิตช่างเทคนิคอย่างเป�นทางการโดยมี
ข้อตกลงความร่วมมือระหว่างกลุ่มอุตสาหกรรมป�โตรเคมี สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย มูลนิธิศึกษา
พัฒน์ สถาบันป�โตรเลียมแห่งประเทศไทย และสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา รวมทั้งภาคี
เครือข่ายด้านวิชาการ คือ มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ทง้ั นส้ี ถานประกอบการที่เขา้ ร่วมโครงการ 6 แห่ง
๒. การปรับหลกั สูตรและระบบการฝก� งาน
หลักสูตรของโครงการใช้โครงสร้างหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ของสำนักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป�นการเปรียบเทียบหลักสูตร ปวส. ปกติ และ หลักสูตร ปวส. โครงการ
V-ChEPC แสดงใหเ้ ห็นว่าจำนวนหน่วยการเรยี นของหมวดวิชาสามัญ หมวดวิชาชพี และหมวดวชิ าเลอื กเสรี
มีจำนวนเท่ากัน คือ 21 หน่วยกิต 72 หน่วยกิต และ 6 หน่วยกิต ตามลำดับ แตกต่างกันเฉพาะการฝ�กงาน
โดยโครงการ V-ChEPC มีการฝ�กงานทุกภาคเรียนและกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เพิ่มจาก 120 ชั่วโมง เป�น
248 ชั่วโมง หรือเพิ่มอัตราร้อยละ 107 ซึ่งเน้นการสร้างเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ การแก้ป�ญหา และ
ลักษณะนิสัยทีพ่ ึงประสงค์ อนั เปน� สิง่ ที่สถานประกอบการต้องการจากชา่ งเทคนคิ
๓. การจดั การเรยี นรู้เพ่อื การสร้างสรรคด์ ว้ ยปญ� ญา (Constructionism)
การจัดแผนการเรียนรู้ตามโครงการนี้ มุ่งเน้นการผลิตช่างเทคนิคที่มีทักษะความรู้ ความสามารถ
ทางเทคนิค พร้อมทักษะการคิดวิเคราะห์และการแก้ป�ญหา โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการ
เรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยป�ญญา (Constructionism) ซึ่งได้รับการสนับสนุนวิทยากรและองค์ความรู้จาก
มลู นิธศิ ึกษาพฒั น์ ใหค้ วามสำคัญการพัฒนาการเรียนรดู้ ้วยกิจกรรมต่างๆ เชน่
• การเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติงานจริง (Learning by Doing) โดยการประยุกต์องค์ความรู้ตา่ งๆ
สู่การปฏิบตั ิท่ถี กู ตอ้ งตามขน้ั ตอนอย่างมีประสทิ ธภิ าพ
• การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Show & Share) เมื่อผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง
แลว้ สามารถนำเสนอเพือ่ รับฟ�งความคดิ เห็นและสามารถนำความรูข้ องผู้อน่ื มาต่อยอดความรู้ของตนเอง
• การเรียนรู้จากการทำโครงงาน (Project Based Learning) เพื่อฝก� การแสวงหาความรู้ การ
แลกเปลย่ี นเรียนรู้ และการทำงานเปน� ทีม
๔. ประโยชน์ต่อผูเ้ รียน สถานศกึ ษา ชมุ ขน สถานประกอบการและสงั คม
- วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด ได้ดำเนินการพัฒนาช่างเทคนิควิศวกรรมป�โตรเคมี ป�จจุบัน
โครงการ V-ChEPC ดำเนินการอยู่ระยะท่ี5 (2563-2565) ซึ่งการดำเนินการในระยะที่1 (2551-2553)
ระยะที่2 (2554-2556) ระยะท่ี3 (2557-2559) ระยะที่4 (2560-2562) และระยะที่ 5 (2563-2565)
ประสบความสำเรจ็ สามารถผลติ นักศึกษาทมี่ ีคุณสมบตั ิตรงตามความต้องการของภาคอุตสาหกรรมได้อย่าง
เปน� ทน่ี ่าพอใจส่งผลใหผ้ ู้ประกอบการยินดีสนับสนุนโครงการอย่างต่อเน่ืองและการสนับสนุนด้านอื่นๆ จาก
สถานประกอบการ เชน่ วิทยากร การฝ�กงาน และ ครูฝ�ก
- มีการบริหารจัดการอย่างเป�นระบบโดยมีภาคอุตสาหกรรมเป�นผู้นำ การเข้าร่วมเป�น
คณะกรรมการบริหารโครงการ และคณะทำงานบริหารโครงการของผู้บริหารระดับสูง ทำให้การบริหาร
จัดการและดำเนินงานโครงการเป�นไปอย่างมีประสิทธิภาพทั้งในด้านการปรับเนื้อหาหลักสูตร การจัด
แผนการเรียนรู้ การวางแผนการฝ�กงาน การจดั วิทยากร ครูฝ�ก/พเ่ี ล้ยี งดูแลนักศกึ ษาระหวา่ งการฝ�กงาน
- ผู้สำเร็จการศึกษาได้รับการยอมรับจากสถานประกอบการในด้านคุณภาพ โดยเฉพาะ
ลักษณะพิเศษที่แตกต่างผู้สำเร็จการศึกษาในระดับเดียวกัน ความเป�นผูม้ ีวนิ ัย ช่างสังเกตุ สนใจการเรยี นรู้
ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ การแกป้ �ญหาทงั้ นี้ ผู้สำเรจ็ การศึกษาจากโครงการทัง้ 9 รุน่ ได้รบั การจา้ งงาน 100%
และไดร้ บั เงนิ เดอื นสงู กวา่ ผสู้ ำเรจ็ การศกึ ษาในระดับเดยี วกนั
- โครงการได้รับการยอมรับเป�นต้นแบบการผลิตกำลังคนระดับช่างเทคนิค ด้วยความ
ร่วมมือกับสถานประกอบการโดยใช้กลไกของรูปแบบการเรียนรู้เพื่อการสร้างสรรค์ด้วยป�ญญา
(Constructionism) เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะพิเศษด้านทักษะการคิดวิเคราะห์ การแก้ป�ญหา และใฝ่
เรียนรู้ โดยสำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษาไดจ้ ัดงบประมาณสนับสนุนการขยายผลไปสู่สถานศึกษา
อาชีวศึกษาในภมู ภิ าคตา่ งๆ ทว่ั ประเทศ
- สถานศึกษามีเครือข่ายที่เข้มแข็ง ทั้งกับสถานประกอบการ สถาบันการศึกษาอื่น และ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ ทำให้เกิดความสะดวกคล่องตัวในการประสานการดำเนินงาน เป�นผลให้
สามารถปรับการดำเนินงานให้สอดรับการทำงานร่วมกับสถานประกอบการได้ระดับหนึ่ง และการผลิตช่าง
เทคนคิ ของสถานศึกษา อันเปน� ผลใหม้ กี ารประสานความร่วมมอื กันในระยะยาวอย่างต่อเนื่อง
- การมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนในโครงการขยายตวั เพิ่มขึ้น สัดส่วนของนกั ศึกษาที่สมัครเข้าใน
โครงการ เป�นคนพืน้ ทีใ่ นจงั หวัดระยองใหค้ วามสนใจมากขึน้
- มีความร่วมมือในระดับนานาชาติร่วมกับสถาบันอาชีวศึกษาในต่างประเทศ เช่น
ประเทศเยอรมนี เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านการพัฒนาหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการ การ
จดั การเรยี นการสอนในรปู แบบของการสร้างสรรคด์ ้วยปญ� ญา (Constructionism)
จดุ เดน่
วทิ ยาลยั เทคนคิ มาบตาพดุ
1. ผู้สำเร็จการศึกษามีความรู้ในสาขาวิชาตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานหรือ
สถานประกอบการ มีผลการประเมินมาตรฐานวิชาชพี ร้อยละ 95.20
2. ผู้เรยี นมที กั ษะและการประยุกตใ์ ช้ โดยการเขา้ แขง่ ขนั ทกั ษะวิชาชีพ และได้เป�นตัวแทน
ระดบั ภาค เข้าร่วมแข่งขนั ระดบั ชาติ
3. สถานศึกษาใช้กระบวนการพัฒนาผู้เรียน ด้วยกิจกรรมองค์การนักวิชาชีพในอนาคต
แห่งประเทศไทย จนได้รบั รางวัลการประเมินองคก์ ารมาตรฐานดีเดน่ ระดบั ภาค 3 ป�ซ้อน
4. ดา้ นหลกั สูตรอาชวี ศึกษา อยใู่ นระดับยอดเยี่ยม (คา่ คะแนน 100)
5. ด้านการจดั การเรยี นการสอนอาชวี ศกึ ษา อยู่ในระดบั ยอดเยย่ี ม (ค่าคะแนน 94.12)
6. ดา้ นการบริหารจดั การ อยู่ในระดบั ยอดเย่ยี ม (คา่ คะแนน 96.92)
7. ด้านการนำนโยบายสู่การปฏบิ ัติ อย่ใู นระดบั ยอดเยย่ี ม (คา่ คะแนน 100)
8. ดา้ นความร่วมมอื ในการสร้างสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ยี ม
(คา่ คะแนน 100)
- มีสถานประกอบการให้ความร่วมมือในการรับนักเรยี น นักศึกษา เข้าฝ�กประสบการณ์ และ
ฝก� อาชพี จำนวน 145 แห่ง โดยมีการมอบทุนการศกึ ษา และรับนกั ศึกษาเข้าฝ�กงานเมอ่ื สำเร็จการศึกษา
- มีสถานประกอบการร่วมในการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ในด้านสาขาเฉพาะ
ทาง และมกี ารระดมทรัพยากรในการจดั การเรยี นการสอน ป�การศกึ ษาละมากกวา่ สิบล้าน
- สถานศึกษาส่งเสริมให้ผู้เรียนมีจิตอาสา โดยให้ดำเนินกิจกรรมจิตอาสา ภายใต้ศูนย์ซ่อม
สร้างเพื่อชุมชน (Fix it Center) แบบถาวร วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด กิจกรรมล้างแอร์ช่วยชาติ และการ
สรา้ งระบบประปาชมุ ชน
9. ด้านนวตั กรรม สง่ิ ประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวจิ ัย อยใู่ นระดบั คณุ ภาพ ยอดเยย่ี ม
(คา่ คะแนน 100)
- สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุน ให้ผู้เรียนทุกคนจัดทำโครงงาน Project Based Learning
ส่งผลใหป้ ก� ารศึกษา 2563 มชี ้ินงานทัง้ หมด 229 ชิ้น
- สถานศกึ ษาส่งเสริม สนบั สนนุ ใหค้ รู และนักเรียน นกั ศกึ ษา ส่งนวัตกรรม สิ่งประดษิ ฐ์ งาน
สรา้ งสรรค์ งานวจิ ัยเขา้ รว่ มประกวด จนไดร้ บั รางวัลชนะเลศิ ระดับ นานาชาติ ชือ่ ผลงาน BIO PLASTIC
ภาคผนวก
วทิ ยาลัยเทคนิคมาบตาพดุ
ปรัชญา อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ ของสถานศึกษา
ปรัชญา : เรียนดี มคี ณุ ธรรม นำวิสัยทศั น์ มุ่งพฒั นา
อตั ลักษณ์ : คิดเป�น แกป้ �ญหาได้ ใฝ่เรยี นรู้
เอกลกั ษณ์ : Project Based Learning
วสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ การพฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษา
วิสยั ทัศน์
เป�นสถานศึกษาตน้ แบบเฉพาะทาง ดา้ นวชิ าชพี ที่ใช้กระบวนการเรยี นร้เู พื่อสร้างสรรค์
ด้วยป�ญญาในการผลติ และพัฒนากำลังคนให้มสี มรรถนะอาชพี ได้มาตรฐานในระดับสากล
แผนภมู ิการบรหิ ารของสถานศกึ ษา