ใบนําเสนองาน
การศึกษาค้นคว้าเรียนรู้เพื่อพฒั นาตนเอง
แบบสรุปองค์ความรู้การศึกษาค้นคว้าเรียนรู้เพ่ือพฒั นาตนเอง
วทิ ยากรพีเ่ ลยี้ ง.....................ผอ. จุรี ทพั วงษ์...................................................................................................
ชื่อ-สกุล.................นายกติ ตศิ ักด์ิ ห่วงมติ ร............................ กลุ่มท.ี่ ........๒.............เลขที่.............๔..............
สมรรถนะหลกั ท่ี 1 การดํารงตนของรองผู้อํานวยการสถานศึกษาอาชวี ศึกษายุคชวี ิตวิถี
อนาคต (New Normal) ใชห้ ลกั การพฒั นากรอบความคดิ แบบ 4.0 เน้นการตดั สนิ ใจและการโน้มนาวจูง
ใจคนด้วยการสงั เกตเน้นการตดั สนิ ใจและการโน้มน้าวจูงใจคนด้วยการสงั เกต การหมนั่ เสรมิ สร้างความ
มนั่ ใจในศกั ยภาพขององคก์ ร เสรมิ สรา้ งสมรรถนะ ทจ่ี ะนําไปสู่ความสําเรจ็ ขององคก์ ร การปรบั ปรงุ คุณภาพ
ผลติ ภาพและการทํางานเป็นทมี เพ่อื ปรบั ไปสู่การเป็น Learning Organization ช้ใี หเ้ หน็ ถงึ การทํางาน
เชงิ รุก เน้นศลิ ปะการเลอื กสรรคนใหม่และใชค้ นเก่าใหไ้ ด้ผลงานใหไ้ ด้มากทส่ี ุด โดยมหี ลกั ธรรมสําหรบั ยดึ
เหน่ียวจติ ใจ โดยมกี รอบแนวคดิ ในการพฒั นาสู่ความสําเร็จ ซ่ึงกรอบแนวคดิ นัน้ มี 2 ประเภท ทงั้
กรอบแนวคิดแบบตายตัว (Fixed mindset) และกรอบแนวคิดแบบพัฒนาได้ (Growth mindset) ซ่ึง
หลกั การบรหิ ารนัน้ เราจะใชห้ ลกั Growth mindset เพอ่ื ใหท้ ุกคนมกี ารการพฒั นาใหเ้ กดิ ทกั ษะในการ
ทาํ งาน ไดผ้ ลงานทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลทม่ี คี ณุ ภาพ จะเหน็ ว่าในยุค The Next Normal สง่
เทรนด์ “ความปกติถดั ไป” หลังโควิด 19 นัน้ ส่งผลให้เห็นว่าเราไม่จําเป็นต้องออกไปนอกสถานท่ี
เช่นเดยี วกบั การทํางานท่ใี ช้รูปแบบ WFH ทใ่ี ช้บา้ นเป็นมากกว่าท่อี ยู่อาศยั เป็นได้ทงั้ สถานท่ที ํางาน
หอ้ งประชุม หรอื แมแ้ ต่การสงั่ อาหาร การ Shopping หรอื แมแ้ ต่เก่ยี วกบั เร่อื งของการเงนิ ทุกอย่างเป็น
ระบบ online ฉะนนั้ จะเหน็ ไดว้ ่ากรอบแนวคดิ แบบเปิดกวา้ ง (Growth Mindset) ซง่ึ เป็นการพฒั นากรอบ
แนวคดิ แบบพฒั นาไม่ใช่ตายตวั ทศิ ทางเศรษฐกจิ ตามวถิ ี Next Normal การระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โค
โรนา 2019 (โควิด 19) ท่ีทวั่ โลกกําลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน ก่อให้เกิดผลกระทบ รอบด้านทงั้
การเมอื งเศรษฐกจิ และวถิ กี ารดาํ รงชวี ติ ของคนในสงั คมทเ่ี ปลย่ี นไปอย่างมากไม่ว่าจะเป็นการยกระดบั
ชวี อนามยั และความปลอดภัยของบุคคล และการพ่งึ พาเทคโนโลยดี ิจิทลั ในการดําเนินชีวติ ท่ีมากข้นึ
อย่างไรก็ดกี ารดําเนินชวี ติ ของคนในสงั คมโลกหลงั วกิ ฤตครงั้ น้ีจะเปลย่ี นไปในทศิ ทางใด บรรทดั ฐานจะ
ตา่ งไปจากวถิ คี วามปกตใิ หม่มากน้อยเพยี งใด การคาดการณ์ก้าวตอ่ ไปของวถิ คี วามปกตใิ หมห่ รอื Next
Normal น้ีจะช่วยสะทอ้ นถงึ สถานการณ์ทางเศรษฐกจิ และสงั คมทเ่ี ปลย่ี นไป ซง่ึ สง่ ผลตอ่ การประกอบธุรกจิ
ของผู้ประกอบการและโอกาสทางธุรกจิ ท่จี ะเกดิ ข้นึ อกี ทงั้ จะเป็นแนวทาง การจดั ทํานโยบายเพ่อื ส่งเสรมิ
และสนบั สนุนผปู้ ระกอบการทภ่ี าครฐั จะต้องจบั ทศิ ทางเพอ่ื รบั มอื กบั บรษิ ทั ทป่ี รบั เปลย่ี นไป ธุรกจิ ทม่ี คี วาม
เตบิ โตเรว็ และแนวคดิ Next Normal เกดิ ขน้ึ ครงั้ แรกในปี 2552 ในช่วงวกิ ฤตการณ์การเงนิ
(Financial crisis) ของสหรฐั อเมรกิ า โดยบรษิ ทั McKinsey & Company และได้กลบั มาเป็นทร่ี ู้จกั อย่าง
แพร่หลายอกี ครงั้ หลงั การระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (โควดิ 19) ในปี2563 โดยไดใ้ หค้ าํ จํากดั
ความของ Next Normal ว่าหมายถึง “ความปกติใหม่ (New Normal) ท่ีธุรกิจต้องปรบั ตวั ในยุคหลังการ
ระบาดของเชอ้ื ไวรสั โควดิ 19 ใน 5 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1) การแกไ้ ขปัญหา เฉพาะหน้า (Resolve) 2) การปรบั
ธุรกิจให้มีความยืดหยุ่นทนั ต่อสถานการณ์(Resilience) 3) การกลับไปดําเนินธุรกิจตามปกติอีกครัง้
(Return) 4) การคดิ ใหม่ (Reimagination) และ 5) การปฏริ ปู เพอ่ื กา้ วสอู่ นาคตทด่ี กี วา่ (Reform)
การดํารงตนของรองผู้อํานวยการสถานศึกษาอาชีวศึกษายุคชวี ติ วถิ ีอนาคต (Next Normal) ท่ี
แสดงพฤติกรรมท่ีบ่งบอกถึงความเป็นผู้มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพในการ
ปฏบิ ตั งิ านหน้าทร่ี องผอู้ ํานวยการสถานศกึ ษาการปฏบิ ตั ติ อ่ ผบู้ งั คบั บญั ชาผรู้ ว่ มงาน และผเู้ กย่ี วขอ้ ง นําไปสู่
การทํางานร่วมกันอย่างมีประสิทธิผล ภายใต้ระเบียบ ข้อบังคับว่าด้วยเร่ืองต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็ น
พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บขา้ ราการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2557 พระราชบญั ญตั ขิ อ้ มูลข่าวสาร
ของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ พระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยการกระทาํ ผดิ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์ (ฉบบั ท่ี 2)
พ.ศ. 2560 พระราชบญั ญตั มิ าตรฐานทางจรยิ ธรรม พ.ศ. 2562 พระราชบญั ญตั วิ ธิ ปี ฏบิ ตั ริ าชการทาง
ปกครอง พ.ศ. 2539 ประมวลจรยิ ธรรมขา้ ราชการครู บุคลากรทางการศกึ ษาตามมาตร ๖ แห่งมาตรฐาน
ทางจรยิ ธรรม พ.ศ. 2562 ในการบรหิ ารจดั การจะตอ้ งยดึ ถอื หรอื ปฏบิ ตั ติ ามจรรยาบรรณ ของวชิ าชพี ตาม
กฎหมายหรอื ขอ้ บงั คบั อ่นื ใดท่กี ําหนดไว้โดยเฉพาะ นอกจากจะต้องรกั ษาจรยิ ธรรมตามท่ี บญั ญตั ิไว้ใน
ประมวลจรยิ ธรรมขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาน้ีแลว้ จะต้องยดึ มนั่ ในจรรยาบรรณ ของวชิ าชพี
นนั้ ดว้ ย อกี ทงั้ ยงั ไม่ละเมดิ สทิ ธสิ ว่ นบคุ คล เคารพสทิ ธซิ ง่ึ กนั และกนั เพราะถา้ หากมกี ารละเมดิ สทิ ธกิ นั ไม่ว่า
จะเป็นในเร่อื งของการเก่ยี วกบั การเผยแพร่ไม่ว่าจะเป็นในทาง Facebook , line หรอื ไม่ว่าจะเป็นช่องทาง
อ่นื ถอื ว่ามคี วามผดิ เรอ่ื งของการละเมดิ เก่ยี วกบั การกระทาํ ความผดิ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์ จะวา่ ดว้ ยเรอ่ื งของ
กฎ ก.ค.ศ. ว่าดว้ ยอํานาจการลงโทษ ภาคทณั ฑ์ ตดั เงนิ เดอื นหรอื ลดเงนิ เดอื น พ.ศ. 2561 องคก์ ารจะ
ประสบความสําเรจ็ ได้ต้องเกดิ จากบุคลากรและทมี งานทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ คุณลกั ษณะท่มี ตี ่อความสําเรจ็ ดงั
กล่าวคอื “ภาวะความเป็นผูน้ ํา” ในตวั บุคลากรและ “การทาํ งานเป็นทีม” ร่วมกนั ของหน่วยงานในองคก์ ร
ถ้าบุคลากรทุกระดบั ขององคก์ รมภี าวะความเป็นผูน้ ําในตวั เองสูง พรอ้ มกบั เขา้ ใจบทบาทของตนเองในการ
ทํางานเป็นทมี จะส่งผลให้องค์กรมคี วามแขง็ แกร่งและเป็นองค์กรท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ ดงั นัน้ องค์กรควรให้
ความสาํ คญั กบั การพฒั นาคุณลกั ษณะดงั กล่าวคนสว่ นใหญ่มคี วามเช่อื ทไ่ี ม่ถูกต้องเกย่ี วกบั การพฒั นาภาวะ
ความเป็นผู้นํา เช่น การจะเป็นผูน้ ําไดต้ ้องมตี ําแหน่งเขา้ มาเก่ยี วขอ้ ง, ถ้าเราไม่ต้องการเป็นผู้นํา เรากไ็ ม่
ตอ้ งพฒั นาภาวะความเป็นผูน้ ํา เป็นต้น จากความเช่อื ทผ่ี ดิ ดงั กล่าว ส่งผลใหค้ นส่วนใหญ่ขาดโอกาสในการ
พฒั นาภาวะความเป็นผนู้ ําของตนเองอย่างสน้ิ เชงิ ดงั นนั้ ในเบอ้ื งตน้ เราควรปรบั แนวคดิ ใหถ้ กู ตอ้ งตอ่
“การพฒั นาภาวะความเป็นผูน้ ํา” (Leadership Mindset) เพราะแนวคดิ ทถ่ี ูกตอ้ งส่งผลต่อการเปลย่ี นแปลง
พฤตกิ รรมของตนเองและสามารถสรา้ งผลงานท่เี ป็นประโยชน์ต่อองคก์ รได้ แนวคดิ ทถ่ี ูกต้อง การนําผู้อ่นื
เป็นเร่อื งยาก แต่การนําตนเองเป็นเรอ่ื งยากยงิ่ กวา่
“ผ้นู ํา 360 องศา” (The 360 Degree Leader) หมายถงึ บุคลากรภายในองค์กรมคี วามปรารถนาพฒั นา
ศกั ยภาพตนเองให้ดขี ้นึ อย่างต่อเน่ือง (Potential) โดยไม่ยดึ ติดว่าตนเองมตี ําแหน่งอะไร และอาศยั การ
เรียนรู้พฤติกรรมท่ีดีของผู้นํา พร้อมกับมีความตัง้ ใจเปล่ียนแปลงตนเองไปสู่พฤติกรรมท่ีดี โดยมี
วตั ถุประสงคเ์ พอ่ื โน้มน้าวคนรอบขา้ งในทุกระดบั ใหม้ คี วามเชอ่ื มนั่ ยอมรบั และใหค้ วามร่วมมอื อย่างเตม็ ใจ
อนั นําไปสู่การสร้างผลการปฏบิ ตั งิ านท่ดี ขี ้นึ ร่วมกนั (Team Performance)“ผู้นํา 360 องศา” (The Leader
360 Degree) คอื การพฒั นาตนเองใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพรอบดา้ นดว้ ยหลกั การและวธิ ปี ฏบิ ตั ขิ องผนู้ ํา 360 องศา
เพ่อื ใหต้ นเองมคี วามสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของบุคคลแตล่ ะระดบั โดยทวั่ ไปแลว้ เราสามารถแบ่งระดบั
การเป็นผู้นําเพ่อื นําคนแต่ละระดบั ของการพฒั นาผู้นํา 360 องศา ดงั น้ีหลกั การและวธิ ปี ฏิบตั ใิ นการเป็น
ผู้นํา นําคนระดบั บน (หวั หน้า)หลกั การและวธิ ีปฏิบตั ิในการเป็นผู้นํา นําคนระดบั กลาง (เพ่อื นร่วมงาน)
หลกั การและวธิ ปี ฏบิ ตั ใิ นการเป็นผูน้ ํา นําคนระดบั ล่าง (ลูกน้อง) เพ่อื ใหผ้ ูเ้ รยี นมคี วามเช่อื ท่ถี ูกต้องต่อการ
พฒั นาภาวะความเป็นผู้นํา (Leadership Mindset) เกิดแรงบนั ดาลใจในการพฒั นาภาวะความเป็นผู้นํา
เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นเหน็ ประโยชน์ของการเป็นผูน้ ํา 360 องศา และไดร้ บั ความน่าเช่อื ถอื ในฐานะผู้นํา ซง่ึ เกดิ จาก
การปฏบิ ตั ติ นกบั บุคคลระดบั ต่างๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสมเพ่อื ใหผ้ ูเ้ รยี นมหี ลกั การและวธิ ปี ฏบิ ตั ติ นเองทถ่ี ูกตอ้ ง
ของการเป็นผูน้ ํา 360 องศา และ Module - 1 พน้ื ฐานของการพฒั นาภาวะความเป็นผนู้ ํา 360 องศา สาํ รวจ
แนวความคดิ และความเช่อื เก่ยี วกบั ผู้นําความเช่อื ทผ่ี ดิ ของการพฒั นาภาวะความเป็นผูน้ ํา แนวคดิ ของการ
พัฒนาภาวะความเป็นผู้นํา (Leadership Mindset) ความหมายของผู้นํา 360 องศา (The Leader 360
Degree) Module - 2 กระบวนการพฒั นาภาวะความเป็นผนู้ ํา 360 องศา กบั ดกั ทางความคดิ เชงิ ลบของผูน้ ํา
360 องศา Workshop I: สํารวจกบั ดกั ทางความคดิ ของตนเองเรยี นรู้ธรรมชาติของการพฒั นาภาวะความ
เป็นผู้นําModule - 3 แนวทางการพฒั นาภาวะความเป็นผู้นํา 360 องศาความสามารถในการนําตนเอง
(Leading yourself) ขอ้ คดิ 5 ประการของการสรา้ งความเช่อื มนั่ ตวั อย่างเรยี นรูข้ องความสามารถในการนํา
ตนเอง การเป็นผู้นํา…นําคนระดบั บนหลกั การ “การเป็ นผ้นู ํา…นําคนระดบั บน” วธิ ปี ฏบิ ตั ติ นเองเพ่อื
เป็นผูน้ ํา...นําคนระดบั บน Workshop II: การพฒั นาการเป็นผู้นํา…นําคนระดบั บน โดยยดึ หลกั การของใน
หลวงรชั กาลท่ี 9 ทรงเป็นพระมหากษตั รยิ ์ เป็นแบบอย่างในการท่ีจะบรหิ ารงาน ท่ีพระองค์จะทรงด้วย
ทศพธิ ราชธรรมแลว้ ทรงยงั เป็นพระราชาทเ่ี ป็นแบบอย่างในการดาํ เนินชวี ติ และการทาํ งานแกพ่ สกนิกรของ
พระองค์ และนานาประเทศอกี ดว้ ย ผูค้ นต่างประจกั ษ์ถงึ พระอจั ฉรยิ ภาพของพระองค์ และมคี วามสํานึกใน
พระมหากรุณาธคิ ุณเป็นลน้ พน้ อนั หาทส่ี ุดมไิ ด้ ซ่งึ แนวคดิ หรอื หลกั การทรงงานของในหลวงรชั กาลที่ 9 มี
ความน่าสนใจ ทส่ี มควรนํามาประยุกต์ใชก้ บั ชวี ติ การทํางานเป็นอย่างยง่ิ และอาศยั หลกั การปฏบิ ตั ติ ามรอย
เบ้อื งพระยุคลบาท นําหลกั การทรงงานของพระองค์ไปปรบั ใช้ให้เกิดประโยชน์มากท่สี ุด โดยมหี ลกั การ
บรหิ ารภายใต้พระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษา ของในหลวงรชั กาลที่ 10 โดยมหี ลกั การศกึ ษาตอ้ งมุ่งสรา้ ง
พน้ื ฐานใหแ้ ก่ผูเ้ รยี น 4 ดา้ น 1. มที ศั นคตทิ ถ่ี ูกตอ้ งต่อบา้ นเมอื ง 2. มพี น้ื ฐานชวี ติ ทม่ี นั่ คง – มคี ุณธรรม 3. มี
งานทาํ – มอี าชพี 4. เป็นพลเมอื งทด่ี ี มที ศั นคตทิ ถ่ี ูกตอ้ งตอ่ บา้ นเมอื ง ความรคู้ วามเขา้ ใจตอ่ ชาตบิ า้ นเมอื ง
ยดึ มนั่ ในศาสนา มนั่ คงในสถาบนั กษตั รยิ ์ มคี วามเออ้ื อาทรตอ่ ครอบครวั และ ชมุ ชนของตน มพี น้ื ฐานชวี ติ
ทม่ี นั่ คง – มคี ณุ ธรรม ปฏเิ สธสง่ิ ทผ่ี ดิ สงิ่ ทช่ี วั่ ตลอดจนเป็นพลเมอื งทด่ี ี
ใบนําเสนอผงั มโนทศั น์ (Mind Map)
การศึกษาค้นคว้าเรียนรู้เพ่ือพฒั นาตนเอง
วทิ ยากรพ่ีเลยี้ ง............ผอ. จุรี ทัพวงษ์............................................................................................................
ช่ือ-สกลุ ....................นายกติ ติศักด์ิ ห่วงมิตร........................ กลุ่มท.ี่ ..............๒.................เลขท่ี.........๔........
ใบนาํ เสนองาน
การศึกษาค้นคว้าเรียนรู้เพ่ือพฒั นาตนเอง
แบบสรุปองค์ความรู้การศึกษาค้นคว้าเรียนรู้เพ่ือพฒั นาตนเอง
วทิ ยากรพีเ่ ลยี้ ง.....................ผอ. จรุ ี ทัพวงษ์...................................................................................................
ช่ือ-สกลุ .................นายกติ ตศิ ักด์ิ ห่วงมิตร............................ กลุ่มท.่ี ........๒.............เลขท่ี.............๔..............
สมรรถนะหลกั ที่ 2 ภาวะผูน้ ําทางวชิ าการและวชิ าชพี อาชวี ศกึ ษา การบรหิ ารการเปล่ยี นแปลง
ด้านวิชาการและวิชาชีพอาชีวศึกษา สามารถเป็นผู้นาการบริหารการเปล่ียนแปลง (Change
Management) สอดคลอ้ งกบั การบรหิ ารและจดั การอาชวี ศกึ ษาในสภาวะปกตใิ หม่ (New Normal) สู่
ยุคชวี ติ วถิ อี นาคต (Next Normal) เป็นนกั คดิ นกั ประสานงานนักพฒั นาท่ที นั โลกทนั เทคโนโลยใี หม่ มกี ล
ยทุ ธแ์ ละเทคนคิ วธิ กี ารในการสรา้ งกระบวนการบรหิ ารการเปลย่ี นแปลงและสามารถขบั เคล่อื นภารกจิ ใหเ้ ป็น
องคก์ รการเปลย่ี นแปลงทม่ี คี ุณภาพ การพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจดั การ ภาครฐั (Public Sector
Management Quality Award : PMQA) เป็ นกรอบการบริหารจัดการองค์การ ภาพรวมในทุกมิติ เพ่ือ
ยกระดบั คุณภาพการบรหิ าร จดั การให้เทียบเท่า มาตรฐานสากล โดยมุ่งเน้นให้หน่วยงานราชการปรบั ปรุง
องคก์ ารอย่างรอบดา้ นและ อย่างต่อเน่ืองครอบคลุมทงั้ 7 ดา้ น คอื (1) การนําองคก์ าร เป็นการประเมนิ
การดาํ เนินการของผบู้ รหิ ารในเร่อื งวสิ ยั ทศั น์ เป้าประสงค์ ค่านิยม ความคาดหวงั ในผลการดาํ เนินการ การ
ให้ความสําคญั กบั ผูร้ บั บรกิ ารและผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสยี การกระจายอํานาจการตดั สนิ ใจ การสร้างนวตั กรรม
และการเรยี นรู้ในส่วนราชการ การกํากบั ดูแลตนเองท่ดี ี และดําเนินการเก่ยี วกบั ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม
และชุมชน (2) การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์เป็ นการประเมินวิธีการกําหนด และถ่ายทอดประเด็น
ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชงิ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์หลกั และแผนปฏิบตั ริ าชการ เพ่อื นําไปปฏิบตั แิ ละ
วดั ผลความก้าวหน้าของการดําเนินการ (3) การให้ความสําคญั กับผู้รบั บรกิ ารและผู้มีส่วนได้ส่วน
เสยี เป็นการประเมนิ การกําหนดความต้องการ ความคาดหวงั และความนิยมชมชอบ การสร้าง
ความสมั พนั ธ์ การกําหนดปัจจยั สําคญั ท่ีทําให้ผู้รบั บรกิ าร และผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียมคี วามพงึ
พอใจ (4) การวดั การวเิ คราะห์ และการจดั การความรู้ เป็นการประเมนิ การเลอื ก รวบรวม วเิ คราะห์
จดั การ และปรบั ปรุงขอ้ มูลและสารสนเทศ และการจดั การความรู้ เพ่อื ให้เกดิ ประโยชน์ในการปรบั ปรุงผล
การดําเนินการขององคก์ าร (5) การมุ่งเน้นทรพั ยากรบุคคลเป็นการประเมนิ ระบบงาน ระบบการเรยี นรู้
การสรา้ งความผาสุกและแรงจูงใจของบุคลากร เพอ่ื ใหบ้ ุคลากรพฒั นาตนเองและใชศ้ กั ยภาพอย่างเตม็ ท่ี
ตามทศิ ทางองคก์ าร (6) การจดั การกระบวนการ เป็นการประเมนิ การจดั การกระบวนการ การ
ให้บรกิ าร และกระบวนการอ่นื ท่ชี ่วยสร้างคุณค่าแก่ผู้รบั บรกิ ารและผูม้ สี ่วนไดส้ ่วนเสยี และกระบวนการ
สนับสนุน เพ่อื ใหบ้ รรลุพนั ธกจิ ขององคก์ าร (7) ผลลพั ธ์การดาํ เนินการ เป็นการประเมนิ ผลการดาํ เนินการ
และแนวโน้มของส่วนราชการในมติ ดิ ้านประสทิ ธผิ ล มติ ดิ า้ นคุณภาพการให้บรกิ าร มติ ดิ า้ นประสทิ ธภิ าพ
และมติ ดิ ้านการพฒั นาองคก์ ารการประเมนิ องคก์ ารตามเกณฑ์ PMQA ใช้แนวทางการบรหิ ารจดั การแบบ
ADLI ซ่ึงเปรยี บเสมอื นการตรวจสุขภาพองค์การ ท่จี ะ ทําให้ทราบจุดแขง็ และโอกาสในการปรบั ปรุง และ นํา
โอกาสในการปรบั ปรุงท่พี บไปวางแผนพฒั นาองค์การให้มปี ระสทิ ธภิ าพ โดยเลอื กเคร่อื งมอื ทางการบริหารท่ี
เหมาะสมมาดาํ เนินการต่อไป ทงั้ น้ี เพอ่ื ใหก้ ารดาํ เนินการพฒั นาองคก์ ารในเรอ่ื งต่างๆ เป็นไปอย่างเป็นระบบ
และต่อเน่ือง ซ่ึงจะทําให้ส่วนราชการมรี ะดบั การบรหิ ารจดั การทไ่ี ด้มาตรฐานเทยี บเท่าสากลแนวทางการ
ดาํ เนนิ งาน สาํ หรบั การดาํ เนินการขนั้ ต่อไปเมอ่ื สว่ นราชการดําเนินการพฒั นาองคก์ ารครบทุกหมวด และ
ผ่านการรบั รองเกณฑค์ ุณภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั ระดบั พน้ื ฐาน
( Certify Fundamental; FL) แล้ว ยกระดบั คุณภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั ตามเกณฑ์คุณภาพการ
บรหิ ารจดั การภาครฐั ระดบั ก้าวหน้า (Progressive Level : PL) และเม่อื ส่วนราชการสามารถดําเนินการ
ผา่ นเกณฑฯ์ ระดบั กา้ วหน้า และพฒั นา องคก์ ารอย่างต่อเน่ืองเพอ่ื มุ่ง สคู่ วามเป็นเลศิ และยกระดบั มาตรฐาน
ใหเ้ ทยี บเท่าสากลตามเกณฑค์ ุณภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั ต่อไป สง่ เสรมิ ใหข้ า้ ราชการพฒั นาตนเอง มี
ความคดิ รเิ รมิ่ และเรยี นรอู้ ย่างตอ่ เน่อื ง การพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั
(Public Sector Management Quality Award :PMQA) PMQA เป็นเคร่อื งมอื การพฒั นาองคก์ ารตาม
ยุทธศาสตรห์ ลกั ในการยกระดบั คุณภาพ ระบบราชการไทยให้มศี กั ยภาพและขดี ความสามารถเทียบเท่า
ระดบั สากล การนําเคร่อื งมอื น้ีไปดาํ เนินการส่วนราชการจะมกี ารพฒั นาอย่างต่อเน่ือง ตามเป้าประสงค์
ของแผนยุทธศาสตร์การพฒั นาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551 - พ.ศ. 2555) ท่ีต้องการให้ส่วน
ราชการมกี ารปรบั ปรุงตนเองอย่างรอบด้านและต่อเน่ือง มขี ีดสมรรถนะสูง มีวิสยั ทศั น์และความ
รบั ผดิ ชอบต่อสงั คมใหค้ วามสาํ คญั กบั ประชาชนผูร้ บั บรกิ ารและผูม้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ปรบั ปรุงกระบวนการ
ทํางานใหม้ คี วามคล่องตวั และมปี ระสทิ ธภิ าพเพ่อื ส่งมอบบรกิ ารท่ดี ใี หก้ บั ประชาชนส่งเสรมิ ให้ขา้ ราชการ
พฒั นาตนเอง มคี วามคดิ รเิ รมิ่ และเรยี นรอู้ ย่างตอ่ เน่อื งวางแผนและตดั สนิ ใจอยา่ งมเี หตุผลโดยอาศยั ขอ้ มูล
สารสนเทศ และทํางานโดยมุ่งเน้นผลสมั ฤทธิต์ ามกรอบแนวคดิ การพฒั นาและวงจรคุณภาพการบรกิ าร
ภาครฐั เป็นการมงุ่ เน้นใหห้ น่วยงานภาครฐั ปรบั ปรุงองคก์ าร โดยการวดั ความสาํ เรจ็ ของการดาํ เนินการ
เพอ่ื ผ่านเกณฑค์ ุณภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั ระดบั พน้ื ฐานเป็นสําคญั โดยไดด้ าํ เนินกจิ กรรมการสง่ เสรมิ
และการตดิ ตามประเมนิ ผลสว่ นราชการทงั้ ในระดบั กรม จงั หวดั และสถาบนั อุดมศกึ ษา เพอ่ื ใหส้ ามารถพฒั นา
ยกระดบั คุณภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั เพ่อื จดั ทํายุทธศาสตร์ใหส้ ามารถสนองตอบต่อความต้องการ
ความคาดหวงั การนํายุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบตั ิ มกี ารวดั ทบทวนกํากบั ตดิ ตามงานอย่างเป็นระบบและ
ปรบั ปรุงกระบวนการทํางานให้มีประสิทธิภาพ วางแผนและตดั สินใจอย่างมีเหตุผลโดยอาศัยข้อมูล
สารสนเทศ ทกั ษะความเขา้ ใจ และใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั หรอื Digital literacy เป็นเคร่อื งมอื และทกั ษะใน
การนําอุปกรณ์ และเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ท่ีมอี ยู่ในปัจจุบนั อาทิ คอมพวิ เตอร์ โทรศพั ท์ แทปเลต โปรแกรม
คอมพวิ เตอร์ และสอ่ื ออนไลน์ มาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์สูงสุด ในการสอ่ื สาร การปฏบิ ตั งิ าน และการทาํ งาน
รว่ มกนั หรอื ใชเ้ พอ่ื พฒั นากระบวนการทํางาน หรอื ระบบงานในองคก์ รใหม้ คี วามทนั สมยั และมปี ระสทิ ธภิ าพ
เพ่อื ใหเ้ กดิ ทกั ษะครอบคลุมความสามารถทงั้ 4 มติ ิ ไม่ว่าจะเป็นการใช้ (Use), เขา้ ใจ (Understand),
การสรา้ ง (create) และเขา้ ถงึ (Access) เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
ประโยชน์สาํ หรบั ขา้ ราชการ
• ทาํ งานไดร้ วดเรว็ ลดขอ้ ผดิ พลาดและมคี วามมนั่ ใจในการทาํ งานมากขน้ึ
• มคี วามภาคภูมใิ จในผลงานทส่ี ามารถสรา้ งสรรคไ์ ดเ้ อง
• สามารถแกไ้ ขปัญหาทเ่ี กดิ ขน้ึ ในการทาํ งานไดม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ
• สามารถระบุทางเลอื กและตดั สนิ ใจไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ
• สามารถบรหิ ารจดั การงานและเวลาไดด้ มี ากขน้ึ และช่วยสรา้ งสมดลุ ในชวี ติ และการทาํ งาน
• มเี ครอ่ื งมอื ชว่ ยในการเรยี นรแู้ ละเตบิ โตอยา่ งเหมาะสม
ประโยชน์สาํ หรบั สว่ นราชการและหน่วยงานของรฐั
• หน่วยงานไดร้ บั การยอมรบั วา่ มคี วามทนั สมยั เปิดกวา้ ง และเป็นทย่ี อมรบั ซง่ึ จะชว่ ยดงึ ดดู และรกั ษา
• คนร่นุ ใหมท่ ม่ี ศี กั ยภาพสงู มาทาํ งานกบั องคก์ รดว้ ย
• หน่วยงานไดร้ บั ความเช่อื มนั่ และไวว้ างใจจากประชาชนและผรู้ บั บรกิ ารมากขน้ึ
• คนในองคก์ รสามารถใชศ้ กั ยภาพในการทาํ งานทม่ี มี ลู คา่ สงู (High Value Job) มากขน้ึ
• กระบวนการทาํ งานและการสอ่ื สารขององคก์ ร กระชบั ขน้ึ คล่องตวั มากขน้ึ และมปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ
• หน่วยงานสามารถประหยดั ทรพั ยากร (งบประมาณและกาํ ลงั คน) ในการดาํ เนนิ งานไดม้ ากขน้ึ
ใบนาํ เสนอผังมโนทศั น์ (Mind Map)
การศึกษาค้นคว้าเรียนรู้เพื่อพฒั นาตนเอง
วทิ ยากรพ่ีเลยี้ ง...........ผอ. จรุ ี ทพั วงษ์..............................................................................................
ช่ือ-สกลุ ............นายกติ ติศักด์ิ ห่วงมิตร................................. กลุ่มท่ี................๒................เลขท่ี........๔......
ใบนาํ เสนองาน
การศึกษาค้นคว้าเรียนรู้เพ่ือพฒั นาตนเอง
แบบสรุปองค์ความรู้การศึกษาค้นคว้าเรียนรู้เพื่อพฒั นาตนเอง
วทิ ยากรพีเ่ ลยี้ ง........................ผอ. จรุ ี ทพั วงษ์................................................................................................
ชื่อ-สกุล..................นายกติ ตศิ ักด์ิ ห่วงมิตร...................... กลุ่มท่ี ..........๒.........เลขท่ี............๔......................
สมรรถนะหลกั ท่ี 3 การบรหิ ารและการจดั การในสถานศกึ ษา สามารถคดิ วเิ คราะหภ์ ารกจิ ใน
สถานศึกษา บทบาทหน้าท่ีความรบั ผิดชอบในการจัดการบริหารสถานศึกษา รวมทัง้ การนิเทศ การ
ประสานงานการกากบั ติดตาม รวมถึงการพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพอาชีวศึกษาเพ่ือการบรหิ าร
จดั การสถานศกึ ษาสคู่ วามเป็นเลศิ จะเหน็ ไดว้ ่าสถานศกึ ษาเป็นหน่วยงานทม่ี หี น้าทใ่ี นการจดั การศกึ ษา ดงั
จะเหน็ ไดจ้ ากการทพ่ี ระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาสามารถจดั การศกึ ษา ได้ 3 รปู แบบ ไดแ้ ก่ 1. การศกึ ษาใน
ระบบโรงเรยี น 2. การศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น และ 3. การศกึ ษาตามอธั ยาศยั โดยมุ่งเน้นภารกจิ หลกั
ในการปฏริ ปู การเรยี นรเู้ พอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นทกุ คนเป็นมนุษยท์ ส่ี มบูรณ์ มคี วามรคู้ คู่ ุณธรรมและรว่ มกบั ผอู้ น่ื อย่างมี
ความสุข ด้วยเหตุน้ี การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาจึงเป็นเร่อื งท่ีมคี วามจําเป็นและสําคญั มาก เพ่อื ให้
สถานศึกษาสามารถจดั การศึกษาได้สอดคล้องกบั ภารกิจหลกั ตามพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2542 ดว้ ยการพฒั นาคุณภาพของกระบวนการบรหิ ารจดั การและการพฒั นาคุณภาพของผู้เรียน
นอกจากน้ี พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษา พ.ศ. 2542 ยงั กําหนดให้สถานศกึ ษาทุกแห่งต้องมกี ารประกนั
คุณภาพทงั้ ภายในและภายนอก เพ่อื ใหเ้ กดิ คุณภาพของผเู้ รยี นอยู่ตลอดเวลาทไ่ี ดศ้ กึ ษาอยู่ในสถานศกึ ษา
เพ่อื จะไดเ้ ป็นหลกั ประกนั ว่าสถานศกึ ษาจะสามารถจดั การศกึ ษาไดอ้ ย่างมคี ุณภาพเป็นไปไดต้ ามมาตรฐาน
คุณภาพ เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นเป็นคนดี คนเก่งและมคี วามสุข ตลอดจนสามารถสรา้ งสรรคจ์ รรโลงสงั คมใหม้ คี วาม
สงบและมีสนั ติสุข ดงั นัน้ การประกันคุณภาพการศึกษาเพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณภาพจึงเป็นเร่ืองใหม่ท่ีมี
ความสําคญั ทงั้ น้ีเน่ืองจากผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาเป็นผูไ้ ดร้ บั อํานาจตามกฎหมายในการมบี ทบาทหน้าทแ่ี ละ
ความรบั ผดิ ชอบในการบรหิ ารจดั การศกึ ษาใหเ้ ป็นไปตามเจตนารมณ์ของพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ
พ.ศ.2542 ดงั นัน้ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาทุกคนจงึ ควรจะต้องมคี วามรู้ มคี วามเขา้ ใจและสามารถบรหิ ารจดั
การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาการศกึ ษาใหม้ คี ุณภาพ อกี ทงั้ จะต้องพฒั นาตนเองให้ก้าวทนั ต่อการเปลย่ี นแปลงใน
ด้านต่าง ๆ ของโลกในยุคข้อมูลข่าวสารและจะต้องเป็นผู้นําครู บุคลากรในสถานศึกษา รวมทัง้
ผู้เรยี น ผู้ปกครองและประชาชนในชุมชนให้เขา้ ใจและตระหนักในความสําคญั ของการจดั การศกึ ษาเพ่อื
พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา
การจดั การเรยี นการสอนท่เี น้นผู้เรยี นเป็นสําคญั จะสําเร็จได้ก็ด้วยความเอาใจใส่ของผู้บริหาร
สถานศกึ ษาอยา่ งจรงิ จงั โดยตอ้ งเรมิ่ จากการเปลย่ี นแนวคดิ ในการบรหิ รจดั การเพอ่ื ปฏริ ูปการเรยี นรู้ พรอ้ ม
ๆ กบั การใหค้ วามรู้ สรา้ งความเขา้ ใจให้กบั ครูผูส้ อน ทงั้ น้ีเพราะการมเี จตคตทิ ่ดี ตี ่อการจดั การเรยี นการ
สอนทเ่ี น้นความสําคญั ของผเู้ รยี นจะนําไปสกู่ ารพฒั นาคณุ ภาพของผเู้ รยี นได้ โดยทผ่ี บู้ รหิ ารจะตอ้ งเป็นผูล้ ง
มอื ทํา แนะนําครูผูส้ อนโดยสรา้ งความตระหนัก ในความสําคญั ของการปฏริ ูปการเรยี นรู้ร่วมกนั วางแผน
ปรบั เปลย่ี นการจดั การเรยี นการสอนดว้ ยการทาํ แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาร่วมกนั
กําหนดเป้าหมาย คุณภาพของผเู้ รยี นกําหนดมาตรฐานคณุ ภาพ มกี ารวางแผนบรหิ ารจดั การใหม้ ี
การกําหนดระบบงาน สรา้ งกลไกความรบั ผดิ ชอบทช่ี ดั เจนมกี ารปรกึ ษาหารอื เพ่อื ใหบ้ ุคลากรทุกคนเหน็
พอ้ งตอ้ งกนั แลว้ จงึ มอบหมายงานตามบทบาทหน้าทค่ี วามรบั ผดิ ชอบของแต่ละคน ขณะเดยี วกนั กร็ ่วมกนั
คิดกลวิธหี รือกลยุทธ์ เพ่อื หาทางพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน เพ่ือพฒั นาผู้เรยี น เช่น การสร้าง
เครอื ข่ายความร่วมมอื จากสถานศกึ ษาอ่นื จากผูน้ ําชุมชน ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ จดั การฝึกอบรมเพ่อื พฒั นา
ครูผู้สอนและดําเนินการจดั การเรยี นการสอนท่เี น้นผูเ้ รยี นเป็นสําคญั จดั ระบบการประเมนิ ผลอย่างครบ
วงจร พรอ้ มทงั้ วางแผนการกํากบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการทํางานอย่างสม่ําเสมอ ซง่ึ ถา้ เป็นเช่นน้ี การ
ปฏริ ปู การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเป็นสาํ คญั กย็ อ่ มจะสมั ฤทธผิ์ ล ดงั นนั้ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาจะตอ้ งเป็น
ผู้เรม่ิ และเป็นผู้นําทางวชิ าการอย่างมคี ุณภาพเพ่อื พฒั นาคุณภาพผู้เรยี น การทจ่ี ะเป็นผู้นําท่ีมศี กั ยภาพ
เชน่ น้ีไดผ้ บู้ รหิ ารจะตอ้ งมงุ่ มนั่ ในการพฒั นาตนเอง พฒั นาครแู ละผเู้ รยี นใหไ้ ดพ้ ฒั นาไปตามศกั ยภาพอย่างมี
คุณภาพดว้ ยการเป็นผวู้ างแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาและบรหิ ารสถานศกึ ษาเพ่อื พฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี น
ใหบ้ งั เกดิ ผลสงู สุดแล้วผูบ้ รหิ ารยงั ต้องมบี ทบาทในการนิเทศ กํากบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการจดั การสอน
เพ่อื ใหผ้ ูเ้ รยี นมคี ุณภาพ อกี ดว้ ย ดงั นัน้ ถ้าผูบ้ รหิ ารไม่ตระหนกั ในความสําคญั ของการจดั การเรยี นการสอน
ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสําคญั และละเลย ไม่สนับสนุน ส่งเสริมให้ครูได้จดั การเรียนการสอนให้เป็นไปตาม
วตั ถุประสงคข์ องหลกั สตู ร เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น การปฏริ ปู การเรยี นรกู้ จ็ ะไมบ่ งั เกดิ ผลตามเจตนารมณ์
ของพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
ในการบรหิ ารสถานศกึ ษาเพ่อื พฒั นาคุณภาพการศกึ ษาตามบทบาทของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษานัน้
ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาจะต้องทํางานด้วยจติ ใจท่แี น่วแน่ มนั่ คงโดยฝึกอุดมคตแิ ละไม่ย่อทอ้ ต่ออุปสรรคและ
ปัญหานานัปการ ท่จี ะต้องเผชญิ และต้องหาทางแก้ไขให้สําเร็จ ดงั นัน้ การแสดงบทบาทท่ีเหมาะสมกบั
สถานภาพของผูบ้ รหิ ารและแสดง ใหเ้ หมาะสมกบั ตําแหน่งของผู้นําสูงสุดในสถานศกึ ษาจงึ เป็นสงิ่ จําเป็น
อกี ทงั้ จะตอ้ งเป็นบทบาททค่ี รผู สู้ อน ผเู้ รยี น ผปู้ กครอง ชุมชนและสงั คมคาดหวงั ว่าผบู้ รหิ ารควรจะเป็น ซง่ึ
ได้แก่ ผู้บริหารควรจะเป็นผู้นําทางวิชาการท่ีเข้มแข็ง มีการพฒั นางานวิชาการอย่างเป็นระบบ มี
กระบวนการบรหิ ารจดั การทเ่ี ป็นทย่ี อมรบั พรอ้ ม ๆ กบั การเป็นนกั พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ผมู้ วี สิ ยั ทศั น์
ทก่ี วา้ งไกลและลกึ ซ้งึ ตลอดจนมคี วามรูค้ วามสามารถทจ่ี ะกา้ วใหท้ นั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงตา่ ง ๆ ของชุมชน
ของสงั คมและของโลก ด้วยการพฒั นาสถานศึกษาให้ผู้เรยี นมคี ุณภาพ เพ่อื สร้างสรรค์ศรทั ธา ความ
เช่ือมนั่ ในตัวผู้บริหารให้บงั เกิดแก่ทุกคน นอกจากน้ีบทบาทในฐานะผู้ช่วยเหลือเก้ือกูลผู้ร่วมงานและ
ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา กย็ งั เป็นบทบาททจ่ี าํ เป็นในยุคสมยั ของสงั คมวตั ถุนยิ มซง่ึ ใหค้ วามสําคญั ดา้ นวตั ถุมากกว่า
การเหน็ ความสาํ คญั ของการพฒั นาดา้ นจติ ใจ ผบู้ รหิ ารทม่ี จี ติ ใจทพ่ี รอ้ มจะเป็น “ผ้ใู ห้” ยอ่ มเป็นผทู้ ส่ี มควร
แก่การยกย่อง สรรเสรญิ ประการสําคญั ถ้าผบู้ รหิ ารสามารถใชป้ ัญญาในการกระทาํ ตนใหเ้ ป็นตวั อย่างทด่ี ี
ในดา้ นการมคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมกจ็ ะยง่ิ ทําใหก้ ารแสดงบทบาทต่าง ๆ สมบูรณ์ยง่ิ ขน้ึ
ส่วนการบรหิ ารจดั การในสถานศกึ ษาทงั้ 4 ด้าน ใช้กรอบการบรหิ ารของสถานศึกษาท่ีเป็นนิติ
บุคคล โดยนําหลกั การวา่ ดว้ ยการบรหิ ารกจิ การบา้ นเมอื งและสงั คมทด่ี ี ซง่ึ เรยี กกนั โดยทวั่ ไปวา่
“ธรรมาภบิ าล” ไดแ้ ก่ หลกั นิตธิ รรม หลกั คุณธรรม หลกั ความโปร่งใส หลกั การมสี ่วนร่วม หลกั ความ
รบั ผดิ ชอบและหลกั ความคุม้ ค่ามาบูรณาการในการบรหิ ารและจดั การศกึ ษา เพ่อื เสรมิ สร้างความเขม้ แขง็
ให้กบั โรงเรยี นในฐานะท่ีเป็นนิติบุคคลด้วย โดยนําหลกั ธรรมาภิบาลดงั กล่าวมาบูรณาการเข้ากับการ
ดําเนินงานด้านต่างๆ ของสถานศึกษา ซ่ึงได้แก่การดําเนินงานด้านวชิ าการ งบประมาณ บรหิ ารงาน
บุคคลและบรหิ ารทวั่ ไป โดยมเี ป้าหมายในการจดั การศกึ ษาคอื ทาํ ใหผ้ เู้ รยี นเป็นคนดี คนเก่ง และมคี วามสขุ
งานวชิ าการเป็นงานหลกั หรอื เป็นภารกจิ หลกั ของสถานศกึ ษาทพ่ี ระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ
พ.ศ.2542 และทแ่ี ก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 มุ่งให้กระจายอํานาจในการบรหิ ารจดั การไปให้
สถานศึกษาให้มากท่ีสุด ด้วยเจตนารมณ์ท่ีจะให้สถานศึกษาดําเนินการได้โดยอิสระคล่องตัว รวดเร็ว
สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผูเ้ รยี น สถานศกึ ษา ชุมชน ทอ้ งถน่ิ และการมสี ่วนร่วมจากผูม้ สี ่วนได้เสยี
ทุกฝ่าย ซ่ึงจะเป็นปัจจยั สําคญั ทําใหส้ ถานศกึ ษามคี วาม เขม้ เขง็ ในการบรหิ ารและการจดั การ สามารถ
พฒั นาหลกั สูตรและกระบวนการเรยี นรู้ตลอดจนการวดั ผลประเมนิ ผล รวมทงั้ การวดั ปัจจยั เก้ือหนุนการ
พฒั นาคุณภาพนกั เรยี น ชุมชน ทอ้ งถน่ิ ไดอ้ ยา่ งมคี ุณภาพและมปี ระสทิ ธภิ าพ
การบรหิ ารงานงบประมาณของสถานศึกษามุ่งเน้นความเป็นอิสระในการบรหิ ารจดั การมีความ
คล่องตวั โปร่งใส ตรวจสอบได้ ยดึ หลกั การบรหิ ารแบบมุ่งเน้นผลสมั ฤทธแิ์ ละบรหิ ารงบประมาณแบบ
มุ่งเน้นผลงาน ใหม้ กี ารจดั หาผลประโยชน์จากทรพั ยส์ นิ ของสถานศกึ ษา รวมทงั้ จดั หารายไดจ้ ากบรกิ ารมา
ใชบ้ รหิ ารจดั การเพอ่ื ประโยชน์ทางการศกึ ษา สง่ ผลใหเ้ กดิ คุณภาพทด่ี ขี น้ึ ต่อผเู้ รยี น
การบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา เป็นภารกิจสําคัญท่ีมุ่งส่งเสริมให้สถานศึกษาสามารถ
ปฏบิ ตั งิ านเพอ่ื ตอบสนองภารกจิ ของสถานศกึ ษา เพอ่ื ดาํ เนินการดา้ นการบรหิ ารงานบคุ คลใหเ้ กดิ ความ
คล่องตวั อสิ ระภายใตก้ ฎหมาย ระเบยี บ เป็นไปตามหลกั ธรรมาภบิ าล ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการ
ศึกษาได้รบั การพฒั นา มคี วามรู้ ความสามารถ มขี วญั กําลงั ใจ ได้รบั การยกย่องเชิดชูเกยี รติ มคี วาม
มนั่ คงและกา้ วหน้าในวชิ าชพี ซง่ึ จะสง่ ผลต่อการพฒั นาคุณภาพการ ศกึ ษาของผเู้ รยี นเป็นสาํ คญั
การบริหารทัว่ ไปเป็ นงานท่ีเก่ียวข้องกับการจัดระบบบริหารองค์กร ให้บริการบริหารงาน
อ่นื ๆ บรรลุผลตามมาตรฐาน คณุ ภาพและเป้าหมายทก่ี ําหนดไว้ โดยมบี ทบาทหลกั ในการประสานสง่ เสรมิ
สนบั สนุนและการอํานวย ความสะดวกต่าง ๆ ในการใหบ้ รกิ ารการศกึ ษาทุกรปู แบบ มุ่งพฒั นาสถานศกึ ษา
ให้ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม ส่งเสริมในการบริหารและการจัดการศึกษาของ
สถานศกึ ษา ตามหลกั การบรหิ ารงานท่มี ุ่งเน้นผลสมั ฤทธิข์ องงานเป็นหลกั โดยเน้นความโปร่งใส ความ
รบั ผดิ ชอบทต่ี รวจสอบได้ ตลอดจนการมสี ่วนร่วมของบุคคล ชุมชนและองค์กรทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง เพอ่ื ใหก้ ารจดั
การศกึ ษามปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล
ใบนําเสนอผงั มโนทัศน์ (Mind Map)
การศึกษาค้นคว้าเรียนรู้เพ่ือพฒั นาตนเอง
วทิ ยากรพีเ่ ลยี้ ง.......ผอ. จรุ ี ทัพวงษ์.................................................................................................................
ชื่อ-สกุล............นายกติ ติศักด์ิ ห่วงมิตร...................................... กลุ่มที่...........๒.........เลขท.ี่ ...........๔............
สมรรถนะหลกั ท่ี ๓ การบริหารและการจัดการในสถานศึกษา