The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mm.meawzaa, 2022-05-25 00:11:56

หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย

หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย

Keywords: ภาษาไทย

43

4. คําวิเศษณ คือ คาํ ท่ใี ชประกอบคํานาม คําสรรพนาม และคํากริยา เพ่ือบอกลักษณะหรือ

รายละเอยี ดของคําน้นั ๆ คําวเิ ศษณส วนมากจะวางอยหู ลังคําทีต่ องการบอกลักษณะหรือรายละเอยี ด

คาํ วิเศษณ ไดแ ก สงู ตาํ่ ดํา ขาว แก รอน เยน็ เลก็ ใหญ ฯลฯ

ตวั อยา ง

เขาใสเสอ้ื สแี ดง

จม๋ิ เรียนหนงั สอื เกง

คนตัวสูงวง่ิ เรว็

5. คาํ บพุ บท คือ คําทแ่ี สดงความสัมพนั ธร ะหวางประโยคหรือคําหนา กับประโยคหรือ

คาํ หลัง

ตวั อยา ง

บอกสถานท่ี ใน นอก บน ใต ลาง ไกล ใกล

นกเกาะอยูบนตนไม

บอกความ แหง ของ

เปน เจา ของ การรถไฟแหง ประเทศไทย

แสดงความเปน

ผูรับหรอื แสดง กบั แก แด ตอ โดย เพือ่ ดวย

สง่ิ ทที่ ํากรยิ า

6. คาํ สนั ธาน คอื คาํ ทใ่ี ชเ ชอื่ มขอ ความหรอื ประโยคใหเปน เรอื่ งเดียวกัน

ตวั อยาง

แต กวา ...ก็ ถึง...ก็

เชอ่ื มความขัดแยงกนั กวาถว่ั จะสุกงากไ็ หม

พไ่ี ปโรงเรียนแตน องอยบู า น

เชอื่ มความท่ี กบั พอ...ก็ ครัน้ ...ก็
คลอยตามกนั พอกบั แมไปเท่ียว
พอฝนหายตกฟา กส็ วา ง

44

เชือ่ มความท่ีเปน เน่ืองจาก จงึ ฉะนั้น เพราะ
เหตเุ ปน ผลกัน เนือ่ งจากฉนั ต่นื สายจงึ ไปทาํ งานไมทนั
สาเหตขุ องวัยรุนติดยาเสพตดิ เพราะครอบครวั แตกราว

7. คําอทุ าน คือ คําที่เปลงออกมา แสดงถงึ อารมณหรือความรูส กึ ของผพู ูด มักอยหู นาประโยค
และใชเคร่อื งหมายอศั เจรีย (! )กาํ กบั หลังคาํ อุทาน
ตัวอยา ง คําอุทาน ไดแ ก โธ! อุย! เอา! อา !

กลุมคําวลี คอื คาํ ทเ่ี รยี งกันต้งั แต 2 คาํ ขึ้นไป สื่อความได แตย ังไมส มบูรณ ไมเปน ประโยค
กลุมคําสามารถทําหนาทเ่ี ปน ประธาน กริยา หรือกรรมของประโยคได

ประโยค คือ ถอยคําท่ีเรียบเรียงขึ้นไดใจความสมบูรณ ใหรูวา ใคร ทําอะไร อยางไร
ในประโยคอยา งนอ ยตอ งประกอบดว ยประธานและกรยิ า
โครงสรางของประโยค

ประโยคจะสมบูรณไ ด จะตองประกอบดว ย 2 สวน คือ สว นทเี่ ปน ภาคประธาน และสว นท่เี ปน
ภาคแสดง

สว นทเี่ ปนภาคประธาน แบงออกเปน ประธาน และสวนขยาย
สว นท่เี ปน การแสดง แบง ออกเปน กรยิ า สว นขยาย กรรม สวนขยาย

ตวั อยา ง

ประโยค ภาคประธาน ภาคแสดง

ประธาน สว นขยาย กริยา สว นขยาย กรรม สวนขยาย

เด็กเดนิ เด็ก - เดิน - - -

พอกนิ ขาว พอ - กิน - ขาว -

พค่ี นโตกนิ ขนม พ่ี คนโต กิน - ขนม -

แมของฉันวง่ิ แม ของฉัน วงิ่ ทกุ เชา - -

ทุกเชา

สนุ ัขตัวใหญ สนุ ัข ตัวใหญ ไล กัด สนุ ัข ตวั เลก็

ไลกัดสนุ ัขตัวเล็ก

นกั เรยี นหญงิ นกั เรยี น หญิง เลน - ดนตรี ไทย

เลนดนตรีไทย

45

การใชป ระโยคในการสอ่ื สาร
ประโยคที่ใชใ นการส่ือสารระหวางผูส ื่อสาร (ผูพ ูด) กับผูร ับสาร (ผูฟ ง, ผูอานและผูดู) เพ่ือใหม ี

ความเขา ใจตรงกันนน้ั จําเปน ตอ งเลอื กใชป ระโยคใหเ หมาะสมกบั การสอื่ สาร ซง่ึ จาํ แนกไดด งั นี้
1. ประโยคบอกเลา เปนประโยคท่ีบอกเร่ืองราวตา งๆใหผ ูอ ่ืนทราบวา ใคร ทําอะไร ที่ไหน

เมอ่ื ใด ทาํ อยา งไร เชน คณุ พอ ชอบเลน ฟุตบอล
2. ประโยคปฏเิ สธ เปน ประโยคทม่ี ีใจความไมต อบรบั มักมีคําวา ไม ไมใ ช ไมได มไิ ด เชน ฉันไม

ชอบเดนิ กลางแดด
3. ประโยคคําถาม เปนประโยคท่ีมีใจความเปน คําถามซ่ึงตองการคําตอบ มักจะมีคําวา ใคร

อะไร เมือ่ ไร เหตใุ ด เทา ไร วางอยูตน ประโยคหรอื ทายประโยค เชน ใครขโมยปากกาไป ปลาชอนตัวน้ีมี
นํา้ หนกั เทา ไร

4. ประโยคแสดงความตอ งการ เปน ประโยคที่มีใจความท่ีแสดงความอยากได อยากมี หรือ
อยากเปน มกั จะมคี าํ วา อยาก ตองการ ปรารถนา เชน นักเรยี นไมอยากไปโรงเรยี น หมอตองการรักษา
คนไขใหหายเร็วๆ

5. ประโยคขอรอ ง เปนประโยคท่มี ีใจความ ชกั ชวน ขอรอ ง มักจะมคี ําวา โปรด วาน กรุณา ชว ย
เชน โปรดใหความชว ยเหลืออีกครง้ั ชว ยยกกลองน้ไี ปดวย

6. ประโยคคําสั่ง เปนประโยคที่มีใจความท่ีบอกใหท ําสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือหามทํา ไมใหทํา เชน
นายสมศกั ดิ์ตองไปจังหวดั ระยอง บคุ คลภายนอกหามเขา เด็กทุกคนอยา เลนเสียงดัง

กจิ กรรม
จงสรางกลุมคําและประโยคที่กาํ หนดใหตอไปน้ี

1. สรา งกลมุ คําหรอื วลีโดยใชคาํ ท่ีกําหนดให
1. เดิน _________________________________________________
2. ชน _________________________________________________
3. แดง _________________________________________________
4. น้าํ _________________________________________________

2. สรา งประโยคโดยใชก ลุมคําจากขอ 1 มาจํานวน 4 ประโยค พรอ มกับระบุดว ยวา เปนประโยค
ประเภทใด

1. _____________________________________________________
2. _____________________________________________________
3. _____________________________________________________
4. _____________________________________________________

46

เร่อื งที่ 3 เครอ่ื งหมายวรรคตอนและอักษรยอ

1. เครื่องหมายวรรคตอน
การใชเคร่ืองหมายในภาษาไทย นอกจากจะเขาใจในเรื่องการเวนวรรคตอนแลว

ยังมเี ครื่องหมายอ่ืน ๆ อกี มาก ท้งั ทใี่ ชแ ละไมค อยไดใช ไดแก

เครื่องหมาย วธิ กี ารใช

1. , จลุ ภาค ใชค่นั ระหวา งคาํ หรอื ค่ันกลมุ คาํ หรือค่นั ช่อื เฉพาะ เชน ด,ี เลว

2. . มหพั ภาค ใชเขยี นจบขอความประโยค และเขียนหลังตัวอักษรยอ
หรือตัวเลขหรอื กาํ กับอกั ษรขอ ยอ ย เชน ม.ี ค. , ด.ช. , 1. นาม,
ก.คน ข. สัตว, 10.50 บาท, 08.20 น.

3. ? ปรัศนี ใชกับขอ ความท่ีเปน คาํ ถาม เชน ปลาตวั นรี้ าคาเทาไร?

4. ! อัศเจรีย ใชกับคําอทุ าน หรอื ขอความท่ีแสดงอารมณตา งๆ เชน อุย
ตายตาย! พุทธโธเ อย! อนจิ จา!

5. ( ) นขลิขิต ใชค ัน่ ขอ ความอธบิ ายหรอื ขยายความขางหนา ใหแ จมแจง
เชน นกมีหูหนมู ปี ก (คางคาว) ธ.ค.(ธันวาคม)

6. ___ สัญประกาศ ใชขดี ใตขอ ความสําคญั หรอื ขอความทใ่ี หผ อู านสงั เกต
เปนพเิ ศษ เชน งานเรมิ่ เวลา 10.00 น.

7. “ ” อัญประกาศ ใชสาํ หรบั เขียนครอ มคาํ หรือขอความ เพ่อื แสดงวา ขอ ความน้นั
เปน คําพูดหรอื เพ่อื เนนความนั้นใหเ ดน ชัดขนึ้ เชน “พูดไป
สองไพเบ้ยี น่งิ เสยี ตาํ ลงึ ทอง”

8. – ยัตภิ ังค ใชเ ขียนระหวางคาํ ที่ เขยี นแยกพยางคก นั เพอื่ ใหร พู ยางค
หนา กบั พยางคห ลังนนั้ ติดกันหรอื เปนคําเดยี วกัน คําท่ีเขียน
แยกนน้ั จะอยูในบรรทัดเดียวกันหรอื ตางบรรทัดกันก็
ได เชน ตวั อยา งคําวา ฎกี า ในกรณีคําอยูในบรรทัดเดียว

47

เครอ่ื งหมาย วิธีการใช

เชน คําวา สปั ดาห อานวา สับ - ดา

9. ..... เสนไขปลาหรือ ใชแ สดงชอ งวาง เพื่อใหเติมคาํ ตอบ หรอื ใชละขอ ความที่
เสนปรุ ไมต อ งการเขยี น เชน ไอ ........า ! หรอื ละขอ ความทย่ี กมา
เพยี งบางสวน หรอื ใชแสดงสวนสมั ผสั ทไี่ มบงั คับของ
คําประพนั ธ

10. ๆ ไมย มก ใชเขยี นเพอ่ื ซํ้าคํา ซํ้าวลี ซ้ําประโยคส้ัน ๆ เชน
ดาํ ๆ แดง ๆ วนั หน่ึง ๆ ทีละนอย ๆ พอมาแลว ๆ

11. ฯลฯ ไปยาลใหญ ใชล ะขอความตอนปลายหรอื ตอนกลาง เชน สัตวพาหนะ ได
(เปยยาลใหญ) แก ชา ง มา วัว ควาย ฯลฯ

12. ฯ ไปยาลนอ ย ใชละบางสว นของคาํ ที่เนน ชอ่ื เฉพาะและรูจ กั กนั ดีแลว
(เปยยาลนอย) เชน อดุ รฯ กรงุ เทพฯ

13. ” บพุ สญั ญา ใชเขียนแทนคาํ ที่ตรงกนั กับคาํ ขา งบน
เชน ซ้อื มา 3 บาท

ขายไป 5”

14. ๏ ฟองมนั ใชเ ขียนขนึ้ ตน บทยอยของคํารอยกรอง
ปจ จุบนั ไมน ยิ มใช

15. มหรรถสญั ญา ขนึ้ บรรทัดใหมใ หตรงยอ หนา แรก
หรือยอ หนา

16. เวน วรรค ใชแยกคําหรือความทไ่ี มต อ เนื่องกัน ซึง่ แบง เปน เวน วรรคใหญ

จะใชกบั ขอ ความที่เปน ประโยคยาวหรอื ประโยคความซอน

และเวนวรรคนอ ยใชกบั ขอ ความทใี่ ชตวั เลขประกอบหนาหลงั

อักษรยอ หรือยศ ตาํ แหนง

48

กจิ กรรม
จงใชเคร่อื งหมายวรรคตอน ตามความเหมาะสมกบั ขอความตอไปนี้

1. วนั นล้ี กู สาวส่งั ซ้อื ขนมทองหยิบทองหยอดเมด็ ขนนุ ฝอยทอง ฯลฯ
2. นทิ านมหี ลายชนิดเชนนิทานชาดกนิทานปรัมปรานทิ านคตสิ อนใจ
3. คําตอบขอ นถ้ี ูกทัง้ ก ข ค ง
4. เธอนดั ใหฉนั ไปพบในเวลา 08.00 น.
2 . อกั ษรยอ

อักษรยอ หมายถึง พยัญชนะที่ใชแทนคําหรือขอ ความยาว ๆ เพื่อประหยัดเวลา เนื้อท่ี

และสะดวกตอการเขยี น การพูด

ประโยชน ของการใชค ํายอ จะทําใหส ื่อสารไดสะดวก รวดเร็ว แตการใชจ ะตอ งเขา

ใจความหมายและคาํ อานของคํานนั้ ๆ คํายอแตล ะคําจะตองมีการประกาศเปน ทางการใหท ราบท่ัวกัน

เพ่ือความเขาใจทีต่ รงกนั ปจจุบันมีมากมายหลายคําดว ยกนั

วธิ ีการอา นคาํ ยอ จะอานคํายอ หรือคําเต็มก็ไดแ ลว แตโ อกาส

ตวั อยา ง

1. อกั ษรยอ ของเดอื น

ม.ค. ยอมาจาก มกราคม อานวา มะ-กะ-รา-คม

ก.พ. ยอ มาจาก กุมภาพนั ธ อา นวา กุม-พา-พนั

มี.ค. ยอ มาจาก มีนาคม อานวา ม-ี นา-คม

2. อักษรยอ จงั หวดั

กบ. ยอ มาจาก กระบ่ี

กทม. ยอมาจาก กรุงเทพมหานคร

ลย. ยอ มาจาก เลย

3. อกั ษรยอลาํ ดับยศ

ทหารบก

พล.อ. ยอ มาจาก พลเอก อานวา พน-เอก

พ.ต. ยอ มาจาก พันตรี อา นวา พัน-ตรี

ร.ท. ยอมาจาก รอยโท อานวา รอ ย-โท

ทหารอากาศ

พล.อ.อ. ยอ มาจาก พลอากาศเอก อานวา พน-อา-กาด-เอก

น.ท. ยอมาจาก นาวาอากาศโท อานวา นา-วา-อา-กาด-โท

ร.ต. ยอ มาจาก เรอื อากาศตรี อา นวา เรือ-อา-กาด-ตรี

49

ทหารเรอื

พล.ร.อ.......ร.น. ยอ มาจาก พลเรอื เอก....แหง ราชนาวี

อานวา พน-เรอื -เอก-แหง-ราด-ชะ-นา-วี

น.ท....ร.น.ยอ มาจาก นาวาโท....แหงราชนาวี อา นวา นา-วา-โท-แหง –ราด-ชะ-นา-วี

ร.ต.....ร.น.ยอ มาจาก เรอื ตรี......แหงราชนาวี อานวา เรือ-ตรี-แหง -ราด-ชะ-นา-วี

ตาํ รวจ

พล.ต.อ ยอ มาจาก พลตาํ รวจเอก อานวา พน-ตํา-หรวด-เอก

พ.ต.ท. ยอมาจาก พันตาํ รวจโท อา นวา พนั -ตํา-หรวด-โท

ร.ต.ต. ยอมาจาก รอยตํารวจตรี อา นวา รอย-ตาํ -หรวด-ตรี

4. อกั ษรยอ วุฒทิ างการศึกษา

กศ.ม. ยอมาจาก การศึกษามหาบณั ฑติ

กศ.บ. ยอ มาจาก การศกึ ษาบณั ฑิต

ป.กศ. ยอมาจาก ประกาศนียบัตรวชิ าการศกึ ษา

อานวา ประ-กา-สะ-นี-ยะ-บัด-วิ-ชา-กาน-สกึ -สา

ป.วส. ยอ มาจาก ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ช้ันสูง

ป.วช. ยอมาจาก ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ

5. อักษรยอ มาตรา ช่งั ตวง วัด

กก. ยอ มาจาก กิโลกรมั (มาตราชั่ง)

ก. ยอมาจาก กรมั

ล. ยอมาจาก ลติ ร (มาตราตวง)

กม. ยอ มาจาก กโิ ลเมตร

ม. ยอมาจาก เมตร (มาตราวดั )

ซม. ยอ มาจาก เซนติเมตร

6 . อักษรยอ บางคําท่คี วรรู

ฯพณฯ ยอ มาจาก พณหวั เจา ทา น อา นวา พะ-นะ-หวั -เจา-ทาน

โปรดเกลาฯ ยอ มาจาก โปรดเกลาโปรดกระหมอม

ทลู เกลา ฯ ยอมาจาก ทลู เกลา ทูลกระหมอ ม

นอ มเกลา ฯ ยอมาจาก นอ มเกลานอ มกระหมอม

50

กิจกรรม
ใหผ เู รียนฝก เขยี นอักษรยอประเภทตา ง ๆ นอกเหนือจากตัวอยางท่ยี กมา
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เร่ืองที่ 4 หลกั การใชพจนานกุ รม คําราชาศัพทและคาํ สภุ าพ

1. การใชพ จนานกุ รม
การใชภาษาไทยใหถ ูกตองทั้งการพูด การอานและการเขียน เปนสิ่งที่คนไทยทุกคนควร

กระทาํ เพราะภาษาไทยเปนภาษาประจําชาติ แตบ างคร้ังเราอาจสับสนในการใชภาษาไทยไมถูกตอง
เชน อาจจะเขียนหรืออานคําบางคําผิด เขาใจความหมายยาก ส่ิงหน่ึงที่จะชว ยใหเ ราใชภาษาไทย
ไดถ ูกตองกค็ ือ พจนานุกรม พจนานุกรมเปนหนังสือท่ีใชค นควาความหมายของคําและการเขียนคําให
ถกู ตอ ง ซง่ึ เรยี งลําดับตวั อักษรและสระ ผูเรียนควรมีพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานไวใ ชและควร
เปน ฉบับลาสดุ

วธิ ีใชพจนานกุ รม การใชพ จนานกุ รมมหี ลกั กวา ง ๆ ดังน้ี
1. การเรียงลาํ ดบั คํา
1.1 เรยี งตามลาํ ดบั พยัญชนะ ก ข ค ง.......ฮ
1.2 เรยี งลําดบั ตามรปู สระ เชน ะ ั า ิ ี ึ ุ ู เ แ โ ใ ไ
1.3 วรรณยุกต     และ ็ (ไมไตคู) กับ  (ไมท ัณฑฆาต) ไมไ ดจ ัดเปนลําดับ

พจนานกุ รม
2. การพจิ ารณาอักขรวธิ ี ในพจนานุกรมจะบอกการพิจารณาอักขรวิธีโดยละเอียด เชน

กรณที ต่ี วั สะกดมีอักขระซ้ํากัน หรือตัวสะกดที่มอี กั ษรซอนกัน ตลอดจนบอกถึงหลักการประวิสรรชนีย
ฯลฯ

3. การบอกเสียงการอาน คําท่ีมีการสะกดตรง ๆ จะไมบ อกเสียงอาน แตจะบอกเสียง
อานเฉพาะคําที่อาจมีปญหาในการอาน

4. การบอกความหมาย ใหความหมายไวห ลายนยั โดยจะใหค วามหมายท่ีสาํ คัญหรอื เดน
ไวก อน

5. บอกประวัตขิ องคาํ และชนดิ ของคํา ในเรอ่ื งประวตั ขิ องคาํ จะบอกทีม่ าไวท า ยคาํ
โดยเขียนเปน อกั ษรยอไวในวงเล็บ เพอ่ื รวู า คาํ นัน้ มาจากภาษาใด และเพือ่ ใหรวู าคํานั้นเปนคาํ ชนิดใด
ในพจนานุกรมจะมตี วั อักษรยอ เลก็ ๆ หลงั คํานั้น เชน ก. = กรยิ า บ.= บุพบท เปน ตน

เพ่อื ใหผเู รียนไดรบั ประโยชนเ ตม็ ทจี่ ากการใชพจนานกุ รม ผูเรยี นควรอานวิธีใชพจนานุกรม
โดยละเอียดกอ นจะใช

51

ประโยชนของพจนานกุ รม

พจนานุกรมชวยใหอ า นและเขียนภาษาไทยไดอยางถูกตองและเขาใจภาษาไดอยา งลึกซึ้ง

ทําใหเปนคนท่ีมีความสามารถในการใชภ าษาไดอยา งดีและมั่นใจเม่ือตอ งติดตอธุรกิจการงานหรือส่ือ

ความหมายกบั บุคคลตา ง ๆ

2. คําราชาศัพทแ ละคาํ สภุ าพ

ชาติไทยมีลกั ษณะพเิ ศษในการใชภ าษากับบุคคลชั้นตา งๆ ภาษาที่ใชจะแสดงความสุภาพ

และคํานงึ ถงึ ความเหมาะสมเสมอ ภาษาท่ีถือวา สุภาพ ไดแก คําราชาศัพทและคําสุภาพ คําราชาศัพท

หมายถงึ คาํ ท่ีใชกบั พระมหากษตั รยิ  พระบรมวงศานวุ งศ ขาราชการและพระสงฆ สว นคําสุภาพ หมายถึง

คาํ ท่สี ภุ าพชนทัว่ ไป นิยมใช ไมใ ชคาํ หยาบ ไมใชคําสบถสาบาน เชน โกหก ใช พูดเท็จ รู ใช ทราบ หัว

ใช ศีรษะ กนิ ใช รับประทาน โวย -คะ ครับ ฯลฯ

ตัวอยา งคาํ ราชาศพั ท

1. คาํ นามราชาศัพท

คาํ ราชาศพั ท คําแปล

พระราชบิดา พระชนกนาถ พอ

พระราชมารดา พระราชชนนี แม

สมเด็จพระเจา ลูกยาเธอ พระราชโอรส ลกู ชาย

สมเด็จพระเจาลกู เธอ พระราชธดิ า ลูกสาว

พระตําหนัก ทพี่ กั

พระบรมฉายาลกั ษณ รปู ภาพ

2. กริยาราชาศพั ท

2.1 กรยิ าไมตองมีคาํ “ทรง” นํา

คาํ ราชาศัพท คาํ แปล

ตรสั พดู

ประทับ อยู น่งั

รับสัง่ สัง่

เสด็จ ไป

2.2 คํากริยาที่เปน ภาษาธรรมดา เม่ือตอ งการใหเปนราชาศัพท ตองเติม “ทรง”

ขา งหนา เชน ฟง เปน ทรงฟง ทราบ เปน ทรงทราบ เปน ตน

2.3 คาํ กริยาสาํ หรบั บุคคลทั่วไปใชก ับพระเจา แผน ดิน

คาํ ราชาศัพท คาํ แปล

ถวายพระพร ใหพ ร

ขอพระราชทาน ขอ

เฝาทูลละอองธลุ ีพระบาท ไปหา หรอื เขาพบ

52

2.4 คาํ กริยาเก่ยี วกับพระสงฆ คาํ แปล
คําราชาศัพท เชิญ
อาราธนา ไหว
นมัสการ ปวย
อาพาธ ให
ถวาย

ดังน้นั สรุปไดว า
1. การใชพ จนานกุ รมใหไ ดป ระโยชนอยางเตม็ ที่ ควรอา นวิธีใชพ จนานกุ รมโดยละเอยี ดกอนใช
2. การเรียนรกู ารใชอักษรยอ เปนการประหยดั เวลาในการส่ือความหมาย ผเู รียนควรจะศกึ ษา

ไวเ พือ่ ใชใหถ ูกตอ งท้งั การอา นและการเขยี น
3. การเรียนรูค ําราชาศัพทเปนประโยชนตอ ผูเรียนในการเลือกใชค ําศัพทใ หเ หมาะสมกับ

โอกาสและบคุ คลระดบั ตา ง ๆ

กิจกรรม

จงเตมิ คาํ หรือขอความใหถูกตอ ง
1. วธิ ีการใชพจนานกุ รม
1. _____________________________________________
2. _____________________________________________
3. _____________________________________________
4. _____________________________________________
5. _____________________________________________
2. เขยี นคําราชาศพั ทมา 7 คํา
________________________________________________
________________________________________________
________________________________________________
3. เขยี นคาํ สภุ าพมา 7 คํา
________________________________________________

53

เรอ่ื งท่ี 5 สาํ นวนภาษา

สํานวนภาษา

สํานวนภาษา หมายถึง ถอ ยคําที่มีลักษณะพิเศษ ใชเพื่อรวบรัดความที่ยาวๆ หรือเพ่ือ

เปรียบเทยี บ เปรยี บเปรย ประชดประชัน หรอื เตอื นสติ ทําใหม คี วามหมายลึกซึ้งยิ่งกวา ถอยคําธรรมดา

สํานวนภาษามีความหมายคลา ยกับโวหารซึ่งรวมถึงอุปมาและอุปไมย บางครั้งจะเรียกซอนกันวา

สํานวนโวหาร คนไทยใชสํานวนหรือสํานวนภาษามานานจนถึงปจ จุบัน จึงมีสํานวนภาษารุน เกา และ

สํานวนท่ีเกิดข้ึนใหม สํานวนภาษาเปนวัฒนธรรมทางภาษาซ่ึงเปนมรดกตกทอดมาถึงปจ จุบัน และ

สืบสานมาเปน สํานวนภาษารุนใหมอ ีกมากมาย

ภาษาไทยท่เี ราใชพ ดู จาส่ือสารกนั นน้ั ยอ มมสี องลกั ษณะ ลกั ษณะหนึ่งคือ เปนถอ ยคํา ภาษาท่ี

พดู หรอื เขียนกันตรงไปตรงมาตามความหมาย เปนภาษาทีท่ ุกคนฟงเขาใจกัน อกี ลักษณะหน่ึงคือถอ ยคํา

ภาษาที่มีชั้นเชิงผูฟง หรือผูอานตองคิดจึงจะเขาใจ แตบางคร้ังถาขาดประสบการณดานภาษาก็จะไม

เขา ใจ ภาษาที่มีชั้นเชิงใหอีกฝายหนึ่งตองคิดน่ีเอง คือสํานวนภาษา บางคนเรียกวา สําบัดสํานวน

สํานวนภาษามีสักษณะตา ง ๆ ดังกลา วขา งตน นนั้ เรยี กแตกตางกัน ดงั นี้

1. สาํ นวน คือ สํานวนภาษาทใ่ี ชเ พ่ือเปนการรวบรดั ตดั ขอ ความทีต่ อ งพูดหรืออธิบายยาว ๆ

ใหส้นั ลงใชเพยี งสั้น ๆ ใหกินความหมายยาว ๆ ได เชน

ปลากระด่ีไดนํ้า หมายถึง แสดงกริ ยิ าทาทางดดี ดิน้ ราเรงิ

ท่เี ทา แมวด้ินตาย ท่ีดินหรือเนื้อท่เี พยี งเลก็ นอย ไมพอจะทาํ

ประโยชนอ ะไรได

เลอื ดเย็น ไมส ะทกสะทาน เหี้ยม

แพแตก พลดั พรากจากกนั อยา งกระจัดกระจาย ไมอ าจ

จะมารวมกนั ได

ไมมีปม ีกลอง ไมมีปมีขลยุ ไมมีเคามากอนเลยวาจะเปน เชนน้ี จู ๆ ก็เปน

ขึน้ มา หรอื ตดั สนิ ใจทําทันที

รกั ดีหามจว่ั รักช่วั หามเสา หมายถงึ ใฝดจี ะมีสขุ ใฝช ัว่ จะพบความลาํ บาก

สวยแตรูป จบู ไมหอม มรี ูปรา งหนาตางาม แตค วามประพฤตแิ ละ

กิริยามารยาทไมดี

อดเปรีย้ ว ไวกินหวาน อดใจไวก อ น เพราะหวงั ส่ิงทด่ี ี ส่งิ ทีป่ รารถนาขา งหนา

ฯลฯ

54

สํานวนตาง ๆ ยอมมที มี่ าตา ง ๆ กัน เชน จากการดูลักษณะนิสัยใจคอของคน จากเหตุการณ

แปลก ๆ จากความเปน ไปในสังคม จากสิ่งแวดลอม นิทาน ประวัติศาสตร ตํานาน ฯลฯ สํานวนจึง

เกดิ ข้ึนเสมอ เพราะคนชางคิดยอ มจะนําเรอื่ งน้ันเร่ืองน้มี าผูกเปน ถอ ยคาํ สํานวนสมัยใหมท ่ีไดยินเสมอ ๆ

เชน

เข้ียวลากดิน หมายถงึ คนเจาเลห รมู าก ชํานาญ เช่ยี วชาญ

(ในเร่อื งไมดี) ชนั้ เชงิ มาก

สม หลน หมายถงึ ไดร บั โชคลาภโดยไมไดค ดิ หรอื คาดหวัง

ไวกอน

เด็กเสน หมายถึง มีคนใหญคนโต หรอื ผมู ีอิทธิพลทีค่ อย

ชว ยเหลือหนุนหลงั อยู

อม หมายถงึ แอบเอาเสยี คนเดยี ว ยกั ยอกไว

ฯลฯ

2. คําพังเพย คอื สาํ นวนภาษาทใี่ ชเปรยี บเทยี บหรือเปรยี บเปรย ประชดประชัน

มีความหมายเปนคตสิ อนใจ มีลกั ษณะคลายกับสุภาษิต อาจจะเปนคาํ กลา วติชมหรือแสดงความคิดเห็น

คาํ พังเพยเปนลกั ษณะหนงึ่ ของสาํ นวนภาษา เชน

กนิ บนเรือน ขีบ้ นหลังคา หมายถึง เปรยี บกบั คนอกตญั ู หรอื เนรคุณ

ขายผาเอาหนารอด หมายถึง ยอมเสียสละแมส่ิงจาํ เปน ท่ตี นมอี ยู

เพ่ือรักษาชื่อเสียงของตนไว

คางคกข้ึนวอ แมงปอใสต งุ ต้งิ หมายถงึ คนทีฐ่ านะตาํ่ ตอยพอไดด บิ ไดด ี

ก็มักแสดงกริ ิยา อวดดี

ตาํ ขา วสารกรอกหมอ หมายถงึ คนเกียจครานหาเพยี งพอกินไปมอื้

หนึง่ ๆ ทาํ พอใหเ สรจ็ ไปเพยี งครงั้ เดียว

นาํ้ ทวมปาก หมายถงึ พดู ไมอ อก เพราะเกรงจะมภี ัย

แกต นและคนอนื่

บอกหนังสอื สังฆราช หมายถงึ สอนส่งิ ท่ีเขารอู ยูแ ลว

ปลาํ้ ผลี ุก ปลกุ ผีน่ัง หมายถึง พยายามทาํ ใหเ ปนเร่อื งเปน ราวขนึ้ มา

มงั่ มีในใจ แลน ใบบนบก หมายถึง คิดฝน ในเร่ืองท่เี ปนไปไมไ ด

คดิ สมบตั บิ าสรา งวมิ านในอากาศ

รําไมดโี ทษปโ ทษกลอง หมายถงึ ทําไมด ี หรือทําผิดแลว ไมร ับผดิ

กลับโทษผอู ื่น

หาเลอื ดกับปู หมายถึง เคยี่ วเข็ญหรอื บีบบังคบั เอากับผูท ี่

ไมม จี ะให

55

เอามือซกุ หีบ หมายถงึ หาเรอ่ื งเดอื ดรอ นหรือความลําบาก

ใสต วั โดยใชท ่ี

3. สภุ าษติ คือ สาํ นวนภาษาท่ีใชเปนเคร่ืองเตือนสติ คาํ กลา วสอนใจในสิ่งที่เปนความจริงแท

แนน อนเปนสจั ธรรม มกั กลาวใหทําความดีหลกี หนีความชวั่ เชน

กลานักมกั บิ่น หมายถงึ กลาหรือหาวหาญเกินไปมกั ได รบั อนั ตราย

เขา เถอื่ นอยาลืมพรา หมายถงึ ใหม สี ติอยาประมาท เชนเดยี วกับ

เวลาจะเขาปาตองมมี ีดติดตวั ไปดว ย

เดนิ ตามหลงั ผูใหญหมาไมก ัด หมายถึง ประพฤตติ ามผูใ หญย อมปลอดภัย

ตัดหนามอยา ไวห นอ หมายถึง ทําลายส่ิงช่วั รา ยตองทําลายใหถงึ ตน ตอ

นํา้ ข้ึนใหรีบตกั หมายถงึ มีโอกาสควรฉวยไว หรือรีบทํา

บวั ไมช้าํ น้ําไมขุน หมายถงึ รจู กั ผอ นปรนเขาหากัน มิใหก ระทบ

กระเทือนใจกนั รจู ักถนอมนํา้ ใจกัน

มิใหข นุ เคอื งกนั

ใฝร อ นจะนอนเยน็ หมายถงึ ขยันขันแข็งต้งั ใจทํางานจะสบายเมื่อ

ภายหลงั

ใฝเ ย็นจะดน้ิ ตาย หมายถงึ เกียจครา นจะลาํ บากยากจนภายหลัง

แพเปนพระ ชนะเปน มาร หมายถงึ การรจู กั ยอมกนั จะทําใหเรือ่ งสงบ

มงุ แตจะเอาชนะจะมีแตความ

เดือดรอ น

รักยาวใหบ่นั รกั สนั้ ใหต อ หมายถงึ รกั จะอยดู ว ยกันนานๆ ใหตดั

ความโกรธอาฆาตพยาบาทออกไป

ถา ไมค ดิ จะรักกนั นานกใ็ หโตเถยี ง

เรอ่ื งทโี่ กรธกันและทําใหไมตรี ขาดสะบน้ั

เอาพมิ เสนไปแลกเกลือ หมายถงึ ลดตวั ลงไปทะเลาะหรือมีเรอ่ื งกบั

คนทต่ี ่ํากวามแี ตจะเสีย

สาํ นวนภาษาน้เี ปนวฒั นธรรมอยา งหน่งึ ของคนไทย จึงมีอยทู ุกทอ งถ่นิ เชน

ภาคเหนอื

ทาํ มิชอบเขา ลอบตนเอง หมายถึง กรรมท่ผี ใู ดทาํ ไวย อ มสง ผลใหแ กผนู ั้น

คนรักใหญเ ทา รอยตีนเสือ หมายถึง คนรกั มีนอ ย คนชงั มมี าก

ขาวเหลอื เกลืออม่ิ หมายถงึ อยดู กี ินดี

56

ภาคใต

ปากอฆี้ าคอ หมายถงึ ปลาหมอตายเพราะปาก

ใหญพ รา วเฒาลอกอ หมายถึง อายุมากเสยี เปลาไมไดม ลี ักษณะเปนผใู หญ

ชางแลน อยายุงหาง หมายถึง อยา ขัดขวางผูทม่ี ีอาํ นาจ หรือเหตุการณท ่ี

กาํ ลังรุนแรงอยา ไปขัดขวาง

ฯลฯ

ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื

ตีกลองแขง เสยี งฟา ข่มี า แขง หมายถึง แขง ดหี รอื ผมู ีอาํ นาจวาสนาไมมที างจะสไู ด

ตาแวน(ตะวัน)

นาํ้ ข้นึ ปลาลอย น้ําบกหอยไต หมายถึง ทีใครทีมัน

ตกหมูแ ฮง (แรง ) เปนแฮง หมายถงึ คบคนดจี ะพาใหตนดีดว ย

ตกหมกู าเปนกา หมายถึง คบคนช่ัวจะพาใหต นชว่ั ตาม

ฯลฯ

การรูจักสาํ นวนไทย มีประโยชนใ นการนํามาใชในการพูดและการเขียน ทําใหไ มตองพูดหรือ

อธิบายยาวๆ เชน ในสํานักแหงหนึ่ง จู ๆ ก็เกิดมีของหาย ท้ัง ๆ ท่ีไดมีการรักษาปอ งกันอยา งเขมงวด

กวดขัน ไมใหมีคนภายนอกเขามาได แตข องก็ยังหายได เหตุการณ เชน น้ีก็ใชส ํานวนภาษาสั้น ๆ วา

“เกลือเปนหนอน” ไดซ งึ่ หมายถงึ คนในสํานักงานน้ันเองเปนไสศ ึกใหค นภายนอกเขามาขโมยของหรือ

เปน ขโมยเสียเอง

ถาจะเตือนสติคนท่ีกําลังหลงรักหญิงที่มีฐานะสูงกวา ซ่ึงไมมีทางจะสมหวังในความรัก ก็ใช

สาํ นวนภาษาเตอื นวา “ใฝสงู เกนิ ศกั ดิ์”

นอกจากจะใชสํานวนภาษาในการประหยดั คําพูด หรอื คําอธบิ ายไดแ ลว ยังทําใหคําพูดหรือ

ขอเขยี นน้ันมีคณุ ภาพแสดงความเปนผรู จู กั วฒั นธรรมของผูใ ชดว ย

57

กิจกรรม

จงตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี

1. ใหเขียนสํานวน 3 สํานวน

___________________________________________________

___________________________________________________

___________________________________________________

___________________________________________________

2. ใหเ ขียนคําพังเพย 3 คาํ พังเพย

___________________________________________________

___________________________________________________

___________________________________________________

3. ใหเ ขียนสุภาษติ 3 สภุ าษติ

___________________________________________________

___________________________________________________

เรื่องท่ี 6 การใชทกั ษะทางภาษาเปนเครอ่ื งมอื การแสวงหาความรู

การสื่อความหมายของมนษุ ยเปน สงิ่ ที่จําเปนอยา งยิ่ง และการสื่อสารจะดีหรือไมด ีขึ้นอยูกับ
ทักษะทางภาษาของแตละคน ซง่ึ เกิดขนึ้ ไดจะตอ งมกี ารฝกเปนประจาํ เชน ทักษะการฟง ทักษะการพูด
ทกั ษะการอาน ทักษะการเขยี น และทักษะตาง ๆ เหลาน้ีไดม ีการซึมซับอยูในคนทุกคนอยูแลว เพียงแตว า
ผูใ ดจะมโี อกาสไดใ ชไดฝก ฝนบอย ๆ กจ็ ะเกิดทักษะทีช่ ํานาญข้ึน

ในการแลกเปลี่ยนขอ มูล ขาวสาร ความรู ความเขาใจของคนในอดีตจะเปนการสื่อสาร
โดยตวั ตอ ตัวเพราะอดตี คนในสงั คมมีไมม าก แตป จ จบุ ันคนในสังคมเร่ิมมากข้ึน กวา งข้นึ การแลกเปลี่ยน
ขาวสารขอ มูลจงึ จาํ เปน ตอ งใชเ คร่ืองมือสื่อสารไดร วดเร็วกวา งไกลและท่ัวถึง ไดแ ก โทรศัพท โทรเลข
โทรทศั น วิทยุ โทรสาร คอมพิวเตอร ซ่งึ เครอื่ งมือแตล ะประเภทมจี ุดเดนหรอื ขอจาํ กัดทแี่ ตกตางกันไป

การใชภาษาในชีวิตประจําวนั ไมว าจะเปนภาษาพูดหรือภาษาการเขียน จะตองใหเ หมาะสมกับ
บุคคลและสถานการณ เชน กิน เปนภาษาท่ใี ชก ันในกลุมเพ่อื นหรอื บุคคลคุนเคย แตถาใชกับบุคคลท่ีเปน
ผใู หญหรอื คนท่ไี มคุนเคย จะตอ งใชภ าษาที่สภุ าพวา ทาน หรอื รับประทาน

แม  คุณแม  มารดา หมอ  คณุ หมอ  แพทย เปน ตน

58

การใชภ าษาไทยนอกจากจะตองมคี วามรู ความเขา ใจของภาษาแลว สง่ิ สาํ คญั อยางย่ิงประการ
หนงึ่ คอื ความมคี ณุ ธรรมในการใชภาษา ไมวาจะเปนภาษาพดู หรอื ภาษาเขียน

วิธกี ารใชภ าษาไดเ หมาะสม ดงี าม มดี งั น้ี
1. ใชภาษาตรงไปตรงมาตามขอเทจ็ จริงทเี่ กดิ ข้นึ ไมพ ูดโกหก หรอื หลอกลวง
ใหรายผอู ืน่
2. ใชภ าษาไพเราะ ไมใ ชค าํ หยาบ
3. ใชภ าษาใหเหมาะสมกับกาลเทศะและระดับของบคุ คลทีส่ ื่อสารดว ย
4. ใชภ าษาเพือ่ ใหเ กดิ ความสามคั คี ความรัก ไมทาํ ใหเกิดความแตกแยก
5. ใชภ าษาใหถ ูกตอ งตามหลกั การใชภ าษา

กิจกรรม

จงตอบคาํ ถามตอไปนี้
วธิ กี ารใชภ าษาไดเ หมาะสม มอี ะไรบา ง
1. ___________________________________________________
2. ___________________________________________________
3. ___________________________________________________
4. ___________________________________________________
5. ___________________________________________________

เร่อื งที่ 7 ลกั ษณะของคําไทย คาํ ภาษาถ่นิ และคาํ ภาษาตางประเทศในภาษาไทย

การนําคําภาษาถิ่นและภาษาตา งประเทศมาใชในภาษาไทย จึงทําใหภ าษาไทยมีคําท่ีใช
ส่ือความหมายหลากหลายและมีจํานวนมากข้ึน ซ่ึงไมวาจะเปน คําไทย คําภาษาถิ่น หรือคําภาษา
ตางประเทศตางกม็ ลี ักษณะเฉพาะท่ีแตกตา งกนั
1. ลกั ษณะของคาํ ไทย มีหลักการสังเกต ดงั นี้

1.1 มลี กั ษณะเปน คําพยางคเ ดียวโดด ๆ มีความหมายชดั เจน เปน คําที่ใชเรยี กช่ือ คน สัตว
สิ่งของ เชน แขน ขา หัว พอ แม เดนิ วง่ิ นอน ฯลฯ

แตม คี ําไทยหลายคําหลายพยางคซ ่ึงคําเหลา น้ีมสี าเหตมุ าจากการกรอ นเสียงของคําหนาที่
นํากรอ นเปนเสยี งสั้น (คําหนา กรอนเปน เสยี งส้นั ) กลายเปนคาํ ท่ปี ระวิสรรชนยี  เชน

59

มะมวง มาจาก หมากมวง

มะนาว มาจาก หมากนาว

มะกรูด มาจาก หมากกรดู

ตะขบ มาจาก ตน ขบ

ตะขาบ มาจาก ตวั ขาบ

- การแทรกเสยี ง หมายความวา เดิมเปน คําพยางคเดียว 2 คําวางเรียงกัน ตอมาแทรก

เสียงระหวางคาํ เดิม 2 คาํ และเสียงทแี่ ทรกมกั จะเปนเสียงสระอะ เชน

ผกั กะเฉด มาจาก ผกั เฉด

ลกู กระดุม มาจาก ลกู ดุม

ลูกกะทอน มาจาก ลูกทอน

- การเตมิ เสยี งหนาพยางคหนา เพื่อใหมีความหมายใกลเ คียงคําเดิม และมีความหมาย

ชัดเจนขนึ้ เชน

กระโดด มาจาก โดด

ประทว ง มาจาก ทวง

ประทบั มาจาก ทบั

กระทํา มาจาก ทํา

ประเดยี๋ ว มาจาก เดยี๋ ว

1.2 มีตวั สะกดตรงตามมาตรา เชน จง (แมกง) ตัก (แมก ก) กบั (แมก บ) เปน ตน

1.3 ไมนิยมมคี าํ ควบกล้ํา เชน ทราบ ตราบ สรวง ประพฤติ เปน ตน

1.4 ไมม ีตวั การันต คําทุกคาํ สามารถอานออกเสยี งไดหมด เชน แม นารัก ไกล

1.5 คําไทยคําเดียว อาจมีความหมายไดหลายอยาง เชน ขันตักนํ้า นกเขาขัน

หวั เราะขบขัน

1.6 มีรูปวรรณยุกตก ํากับเสียง ทั้งท่ีปรากฏรูปหรือไมปรากฏรูป เชน นอน

(เสียงสามัญ ไมป รากฏรูป) คา (เสียงตรี ปรากฏรปู ไมโท)

1.7 คําทีอ่ อกเสยี ง ไอ จะใชไ มม วน ซ่ึงมอี ยู 20 คํา นอกนั้นใชไ มมลาย

ผูใ หญหาผาใหม ใหสะใภใ ชค ลอ งคอ

ใฝใ จเอาใสห อ มหิ ลงใหลใครขอดู

จะใครลงเรือใบ ดูนํา้ ใสและปลาปู

สิ่งใดอยใู นตู มิใชอยใู ตต ั่งเตียง

บาใบถ อื ใยบัว หูตามัวมาใกลเคยี ง

เลาทอ งอยา ละเลยี่ ง ย่ีสบิ มว นจาํ จงดี

60

2. ลกั ษณะของคําภาษาถ่นิ
ภาษาถ่ิน หมายถึง คําที่ใชในทอ งถิ่นตางๆ ของประเทศไทยที่มีลักษณะแตกตางจาก

ภาษากลาง เชน ภาษาถิน่ ใต ภาษาถ่นิ อสี าน ภาษาถ่นิ เหนอื ซ่ึงภาษาถน่ิ เหลา นี้เปน ภาษาที่ใชกันเฉพาะ
คนในถิ่นนั้น
ตัวอยาง เปรียบเทยี บภาษากลาง และภาษาถิ่น

ภาษากลาง ภาษาถนิ่ เหนอื ภาษาถนิ่ อสี าน ภาษาถิ่นใต

พดู อู เวา แหลง
มะละกอ มะกวยเตด หมากหงุ ลอกอ
อรอ ย ลํา แซบ หรอย
สบั ปะรด มะขะนดั หมากนัด ยา นัด
ผม/ฉนั ขาเจา เฮา ขอย ฉาน

3. ลกั ษณะของคําภาษาถ่ินตางประเทศทีป่ รากฏในภาษาไทย
คาํ ภาษาตา งประเทศที่ใชอ ยูใ นภาษาไทยมีอยูมากมาย เชน ภาษาจีน ภาษาเขมร ภาษา

องั กฤษ แตท ใ่ี ชกันอยูส วนใหญม าจากภาษาจนี และภาษาอังกฤษ ซ่ึงมีสาเหตุมาจากประเทศไทยมีการ
ติดตอและมกี ารเจรญิ สมั พันธไมตรีกับชาติน้ัน ๆ จึงยืมคํามาใช ซ่ึงทําใหภ าษาไทยมีคําใชใ นการติดตอ
ส่ือสารมากข้นึ
ตวั อยาง

ภาษาจนี ภาษาอังกฤษ

ตงฉนิ แปะเจีย๊ ะ กว ยจบ๊ั ชินแส กก อั้งโล โฮมรมู ซอส โชว แชมป คลนิ ิก แทก็ ซ่ี ปม แสตมป
เหลา ฮอ งเต ตง้ั ฉาย แซยดิ ซอี ้ิว เซยี น มอเตอรไ ซค ฟต อิเลก็ ทรอนกิ ส คอมพิวเตอร คอรด
เตา ฮวย เตาหู

61

กจิ กรรม
จงตอบคําถามตอไปนี้

1. ลักษณะของคําไทยมอี ะไรบา ง
1. _________________________________________________
2. _________________________________________________
3. _________________________________________________

2. จงเขยี นคาํ ภาษาตา งประเทศทนี่ ํามาใชใ นภาษาไทยมา 10 คํา
____________________________________________________
____________________________________________________

62

บทที่ 6
วรรณคดีและวรรณกรรม

สาระสําคญั
วรรณคดีและวรรณกรรม เปน สื่อทมี่ คี ณุ คาควรไดอ า นและเขาใจ จะมปี ระโยชนต อตนเองและ

ผูอ ่ืน โดยการอธิบายและเผยแพรนิทาน นิทานพื้นบาน วรรณกรรมทอ งถ่ิน และวรรณคดีเรื่องน้ัน ๆ
ตอ ๆ กันไป

ผลการเรียนรทู ีค่ าดหวงั ผเู รียนสามารถ
1. อธบิ ายความหมาย คณุ คาและประโยชนข องนทิ าน นทิ านพ้นื บา น และวรรณกรรมทอ งถน่ิ ได
2. อธิบายความหมายของวรรณคดี และขอ คดิ ท่ไี ดรับจากวรรณคดที ่ีนาศกึ ษาได

ขอบขา ยเน้ือหา
เรือ่ งท่ี 1 ความหมาย คณุ คา และประโยชนของนิทาน นทิ านพ้นื บาน และ

วรรณกรรมทอ งถ่ิน
เร่อื งที่ 2 ความหมายของวรรณคดี และวรรณคดที นี่ าศกึ ษา

63

เรื่องที่ 1 ความหมาย คณุ คา และประโยชนข องนิทาน นิทานพนื้ บาน
และวรรณกรรมทอ งถิ่น

1. ความหมาย คุณคา และประโยชนของนิทาน
1.1 นิทาน หมายถึง เรื่องทเ่ี ลา สืบทอดกันมา ไมม กี ารยืนยนั วา เปน เรอ่ื งจรงิ เชน นทิ าน

เด็กเล้ยี งแกะหรือเทวดากับคนตดั ไม เปนนทิ านสวนใหญ จะแฝงดว ยคติธรรม ซึ่งเปน การสรปุ สาระให
ผฟู ง หรือผอู านปฏบิ ัตติ าม

1.2 คณุ คา
1.2.1 ใชเ ปน ขอคดิ เตอื นใจ เชน ทําดไี ดด ี ทาํ ชัว่ ไดช วั่
1.2.2 เปนมรดกของบรรพบรุ ษุ ทีเ่ ปนเรอื่ งเลา ใหฟ ง ทง้ั ไดรบั ความรแู ละ

ความเพลดิ เพลนิ
1.2.3 ไดรบั ประโยชนจ ากการเลา และการฟงนทิ านทัง้ ดา นภาษาและคติธรรม

1.3 ประโยชนของนทิ าน
1.3.1 ไดร บั ความรเู พ่ิมเตมิ
1.3.2 ไดรบั ความเพลดิ เพลิน สนุกสนาน
1.3.3 ไดข อ คิดเตอื นใจนําไปใชประโยชน

2. ความหมาย คุณคา และประโยชนจากนทิ านพนื้ บา น
2.1 นิทานพ้นื บาน หมายถึง เร่อื งเลาทเ่ี ลา สืบทอดกันมา สว นใหญเน้อื หาจะเปนลกั ษณะ

เฉพาะถน่ิ โดยอา งอิงจากสถานทหี่ รือบุคคลซ่งึ เปน ทีร่ จู กั รวมกนั ของคนในถ่นิ น้นั ๆ เชน นิทานพน้ื บา น
ภาคกลาง เร่อื งลูกกตญั ู นทิ านพ้นื บานภาคใต เรอื่ งพษิ งเู หลอื ม นทิ านพนื้ บา นภาคเหนอื เรอ่ื งเชียงเหม้ยี ง
ตาํ พระยา และนทิ านพืน้ บา นภาคอีสาน เร่ือง ผาแดงนางไอ

2.2 คุณคา
2.2.1 เปนเรอ่ื งเลา ที่เลาสืบทอดกันมา ซง่ึ แสดงใหเ ห็นถงึ ส่ิงแวดลอม

ชวี ติ ความเปนอยใู นสมัยกอน
2.2.2 ถือเปนมรดกสาํ คัญท่ีบรรพบรุ ุษมอบใหแ กค น
2.2.3 ใหขอคดิ เตือนใจทจี่ ะนําไปใชป ระโยชนได

2.3 ประโยชน
2.3.1 ไดร บั ความรูแ ละความเพลิดเพลินจากการเลา การอา น และการฟง
2.3.2 ไดน ําความรไู ปใชป ระโยชน
2.3.3 ใชเ ผยแพรใ หเ ยาวชนรนุ หลงั ไดร ู ไดเขา ใจนทิ านพื้นบานของบรรพบรุ ุษ

64

3. ความหมาย ความสําคญั และประโยชนจ ากวรรณกรรมทอ งถ่ิน
3.1 ความหมาย
วรรณกรรมทอ งถิน่ เปน เรือ่ งราวทม่ี มี านานในทองถน่ิ และมตี ัวละครเปน ผนู าํ เสนอ

เนือ้ หาสาระของเร่อื งราวน้ัน เชน เรือ่ งสาวเครือฟา หรือวงั บัวบาน เปนตน
3.2 คณุ คา
3.2.1 แสดงถึงชวี ติ ความเปนอยู สังคม และวฒั นธรรมของทอ งถิน่ น้นั
3.2.2 เปนเร่อื งท่ใี หขอคิด ขอ เตอื นใจ
3.2.3 เปนมรดกสาํ คัญทีม่ คี ุณคา
3.3 ประโยชน
3.3.1 ไดความรู ความเพลดิ เพลนิ
3.3.2 นาํ ขอคดิ ขอ เตือนใจ และสรปุ นํามาใชใหเ ปน ประโยชนตอตนเอง
3.3.3 เปนความรูทเี่ ผยแพรไ ด

เร่อื งท่ี 2 ความหมายของวรรณคดี และวรรณคดที ่ีนาศกึ ษา

1. ความหมายของวรรณคดี
วรรณคดี หมายถงึ เรือ่ งแตงท่ีไดร ับยกยองวา แตง ดี เปนตัวอยา งดานภาษา แสดงใหเ ห็น

ถึงวัฒนธรรมความเปน อยูในยุคน้ัน ๆ แตงโดยกวีที่มีช่ือเสียง เชน วรรณคดีเรื่อง ขุนชา งขุนแผน
พระอภัยมณี และสงั ขท อง เปน ตน

วรรณคดีทแ่ี ตงดีมลี ักษณะดังน้ี
1. เน้อื เรื่องสนุกสนาน ใหข อ คิด ขอ เตือนใจ ท่ไี มลาสมยั
2. ใชภาษาไดเ พราะ และมีความหมายดี นาํ ไปเปนตวั อยางของการแตง คําประพันธได
3. ใชฉ ากและตัวละครบรรยายลักษณะนิสยั และใหขอคดิ ทผ่ี อู า นตคี วาม โดยฉากหรือ
สถานทเี่ หมาะสมกบั เรอ่ื ง
4. ไดรับการยกยอ ง และนําไปเปน เรื่องใหศ กึ ษาของนักเขียนและนักคดิ ได
2. วรรณคดีท่ีนา ศึกษา
สําหรับระดับประถมศึกษาน้ีมีวรรณคดีที่แนะนําใหศ ึกษา 3 เรื่อง คือ สังขทองซึ่งเปน
กลอนบทละคร พระอภัยมณีเปน กลอนนิทาน และขุนชางขุนแผนเปนกลอนเสภา โดยขอใหนักศึกษา
คน ควาวรรณคดี 3 เรอ่ื งและสรุปเปนสาระสําคัญ ในหัวขอตอ ไปน้ี (อาจใหผ ูเรียนนําหัวขอ เหลานี้แยก
เขียนภายนอกโดยไมต อ งเขยี นลงในหนงั สือนไ้ี ด)

65

1. สังขท อง
1.1 ผแู ตง _____________________________________________
1.2 เนอื้ เร่ืองโดยสรปุ ยอ
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
1.3 ขอ คดิ และความประทับใจทไี่ ดร ับจากเรอ่ื งน้ี
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________

2. พระอภยั มณี
2.1 ผแู ตง _____________________________________________
2.2 เนื้อเร่ืองโดยสรปุ ยอ___________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
2.3 ขอคดิ และความประทบั ใจทไ่ี ดร ับจากเรอื่ งน้ี
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________

66

3. ขนุ ชา งขนุ แผน
3.1 ผแู ตง _____________________________________________
3.2 เน้ือเรอื่ งโดยสรุปยอ
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
3.3 ขอคดิ และความประทับใจที่ไดรับจากเรอื่ งนี้
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________
___________________________________________________

(สถานทค่ี น ควา คอื กศน.ตําบล หอ งสมดุ ประชาชน ศูนยการเรยี นชมุ ชนและแหลง เรยี นรอู ่นื ๆ
สาํ หรับขอ คดิ และความประทบั ใจผเู รยี นแตละคนอาจเขียนแตกตางกัน ซงึ่ ควรไดอานและพจิ ารณาขอ คิด
เหลานั้นวาถูกตองเหมาะสมกบั เนือ้ หาของแตละเรือ่ งเหลานี้หรือไม)

67

บทที่ 7
ภาษาไทยกบั ชอ งทางการประกอบอาชีพ

สาระสาํ คัญ
ภาษาไทยเปน ภาษาประจําชาติ เปนภาษาทใ่ี ชใ นการสอ่ื สารในชีวิตประจาํ วัน อีกทั้งยงั เปน

ชอ งทางทส่ี ามารถนาํ ความรภู าษาไทยไปใชในการประกอบอาชีพตาง ๆ โดยใชศ ลิ ปทางภาษาเปนสอ่ื นาํ
ผลการเรยี นรูท ่ีคาดหวัง

เม่ือศึกษาจบบทท่ี 7 แลว คาดหวังวา ผเู รียนจะสามารถ
1. มคี วามรู ความเขาใจ สามารถวเิ คราะหศักยภาพตนเอง ถึงความถนัดในการใชภาษาไทย
ดานตา ง ๆ ได
2. เห็นชองทางในการนาํ ความรภู าษาไทยไปใชใ นการประกอบอาชีพ
3. เหน็ คุณคาของการใชภ าษาไทยในการประกอบอาชีพ
ขอบขา ยเนอ้ื หา
เรื่องที่ 1 คุณคา ของภาษาไทย
เร่ืองท่ี 2 ภาษาไทยกับชอ งทางการประกอบอาชีพ
เรือ่ งท่ี 3 การเพม่ิ พูนความรูและประสบการณทางดา นภาษาไทยเพือ่ การประกอบอาชีพ

68

เรื่องท่ี 1 คณุ คา ของภาษาไทย

ภาษาไทย นอกจากจะเปนภาษาที่ใชสื่อสารในชีวิตประจําวันของชาวไทยแลว
ภาษาไทยยังบงบอกถึงเอกลักษณความเปนไทย มาตั้งแตโบราณกาลเปนภาษาที่ประดิษฐคิดคนขึ้น
โดยพระมหากษตั ริยไ ทย ไมไดลอกเลยี นแบบมาจากภาษาอืน่ หรือชาตอิ น่ื ประเทศไทยมีภาษาไทยเปน
ภาษาประจาํ ชาติ ซึ่งถอื ไดวา เปนประเทศท่ีมีศิลปะ วัฒนธรรมทางภาษา กลาวคือ เปนภาษาท่ีไพเราะ
สภุ าพ ออนหวาน แสดงถงึ ความนอบนอ ม มสี ัมมาคารวะ นอกจากนยี้ ังสามารถนาํ มาเรยี บเรยี ง แตงเปน
คําประพันธประเภทรอยแกว รอยกรอง นิยาย นิทาน วรรณคดี และบทเพลงตางๆ ไดอยางไพเราะ
ทาํ ใหเพลดิ เพลิน ผอนคลายความตงึ เครียดใหก ับสมอง แมช าวตา งชาตกิ ็ยังชืน่ ชอบ ในศลิ ปะวัฒนธรรม
ไทยของเรา

ดังนั้น พวกเราชาวไทย จึงควรเห็นคุณคา เห็นความสําคัญและรวมกันอนุรักษ
ภาษาไทยไวใหชนรุนหลังไดศึกษาเรียนรู และสืบทอดกันตอ ๆ ไป เพ่ือใหภาษาไทยของเราอยูคูกับ
ประเทศไทยและคนไทยตลอดไป
ความสาํ คญั ของภาษาไทย

ภาษาไทยมคี วามสําคญั และกอ ใหเกิดประโยชนหลายประการ เชน
1. เปนพน้ื ฐานในการศกึ ษาเรียนรูแ ละแสวงหาความรู บรรพบรุ ุษไดสรางสรรค สะสม
อนรุ กั ษและถายทอดเปนวัฒนธรรมจนเปน มรดกของชาติ โดยใชภาษาไทยเปนสอ่ื ทําใหคนรุนหลังไดใช
ภาษาไทยเปนเครือ่ งมอื ในการแสวงหาความรู ประสบการณ เลอื กรับสิ่งที่เปน ประโยชนมาใชในการพัฒนา
ตนเอง พฒั นาสติปญ ญา กระบวนการคือ การวเิ คราะห วิพากษ วิจารณ การแสดงความคิดเห็น ทําให
เกดิ ความรูและประสบการณที่งอกงาม
2. เปนพื้นฐานในการศึกษาตอในระดับท่ีสูงข้ึน เชน ศึกษาตอในระดับมัธยมศึกษา
ตอนตน มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ระดบั อุดมศกึ ษา เปน ตน ลวนตองใชภาษาไทยเปน พนื้ ฐานในการศึกษาตอ
3. เปนพื้นฐานในการประกอบอาชีพ หรือพัฒนาอาชีพ การบันทึกเร่ืองราวตาง ๆ
การจดบันทึก การอา น การฟง การดู ทําใหเ กิดประสบการณเห็นชองทางการประกอบอาชีพ

เรื่องที่ 2 ภาษาไทยกบั ชอ งทางการประกอบอาชพี

การศึกษาและเรียนรูรายวิชาภาษาไทย นับเปนพ้ืนฐานสําคัญในการประกอบอาชีพ
หากมีการฝก ฝนเพิม่ พนู ทกั ษะดา นตา ง ๆ เชน การฟง การพูด การอาน และการเขียน ก็จะสามารถใช
ประโยชนจ ากภาษาไทยไปประกอบอาชีพได

ในการประกอบอาชพี ตางๆ นน้ั ลว นตอ งใชภ าษาไทยเปน พน้ื ฐาน การไดฟง ไดอา น
ไดเขยี นจดบันทึก ตัวอยางเรอ่ื งราวตางๆ จะทําใหไดรับความรแู ละขอ มลู เกีย่ วกบั อาชพี ตา ง ๆ ทําให

69

มองเหน็ ชองทางการประกอบอาชีพ ชว ยใหต ดั สนิ ใจประกอบอาชีพไดอยางมั่นใจ นอกจากน้ียงั เปน ขอ มลู
ท่ีจะชว ยสงเสริมใหบุคคลผูทม่ี อี าชพี อยูแลว ไดพัฒนาอาชพี ของตนใหเจรญิ กาวหนาอกี ดวย

นอกจากน้ียงั สามารถใชการฟง การดู และการอา นเปนเคร่ืองมอื ทจี่ ะชว ยใหผ เู รียนมี
ขอ มูล ขอเทจ็ จรงิ หลกั ฐาน เหตผุ ล ตวั อยา งแนวคิดเพือ่ นําไปใชในการวเิ คราะห วิจารณ และตัดสนิ ใจ
แกป ญหาตางๆ รวมท้งั ตดั สนิ ใจในการประกอบอาชีพไดเ ปน อยางดี
ชองทางการประกอบอาชีพ

วชิ าชพี ทใ่ี ชภ าษาไทย เปนทักษะพืน้ ฐานในการประกอบอาชพี ไดแ ก อาชีพนักพูด
นกั เขียนทต่ี อ งใชท กั ษะการพดู และการเขียนเปนพื้นฐาน เชน

1. ผปู ระกาศ
2. พิธีกร
3. นักจัดรายการวทิ ยุ
4. นักเขยี นโฆษณาประชาสัมพันธ
5. นักขาว
6. นักเขียนประกาศโฆษณาขาวทองถนิ่
7. นกั เขียนบทความ
ทงั้ น้ี ในการตัดสนิ ใจเลอื กอาชพี ตางๆ ขน้ึ อยูกบั ความถนัด ความสามารถและ
ประสบการณท แ่ี ตล ะคนไดสั่งสมมา รวมทั้งตอ งมกี ารฝกฝนเรยี นรเู พ่มิ เตมิ ดว ย
การเตรยี มตวั เขา สอู าชพี พิธกี ร
อาชีพพิธีกร เปนอาชีพที่ตองใชทักษะการพูดมากที่สุด รองลงมาเปนการใชทักษะ
การฟง การดู การอาน ที่จะชวยสะสมองคความรูไวในตน พรอมที่จะดึงออกมาใชไดตลอดเวลา
สิง่ สาํ คัญในการเปน พธิ ีกร คือ การพูด จึงตองเตรียมตัวเขาสูอาชีพ เชน ศึกษาเรื่องลักษณะการพูดท่ีดี
หนาทีข่ องพธิ กี ร คุณสมบัตขิ องผูท่ีเปน พธิ ีกร ข้นั ตอนการพูดของพธิ กี ร เปนตน
ลักษณะการพดู ท่ีดี
1. เนือ้ หาทพ่ี ูดดี ตรงตามจดุ ประสงคเ ปน ไปตามข้นั ตอนของงานพิธนี ้นั ๆ
2. มีวิธกี ารพูดท่ดี ี นาํ้ เสยี งนุมนวล ชดั ถอ ย ชัดคํา ใชค ําพดู ถกู ตองเหมาะสม พดู สนั้ ๆ กระชับ
ไดใ จความและประทบั ใจ เชน การพดู แสดงความเสยี ใจกรณีเสยี ชวี ิต เจบ็ ปว ย หรอื ประสบเคราะหก รรม
ควรมีวิธกี ารพดู ดงั นี้
- พูดใหร สู กึ วา เหตุการณท ่เี กดิ ขึ้นเปนเร่ืองปกติ
- แสดงความรสู กึ หวงใย รวมทุกขร วมสุข
- พดู ดว ยนํ้าเสยี งแสดงความเศรา สลดใจ
- พดู ดวยวาจาสุภาพ
- ใหกาํ ลงั ใจและยินดจี ะชวยเหลือ

70

3. มีบุคลกิ ภาพทีด่ ี ผพู ดู มีการแสดงออกทางกาย ทางสหี นา ทางจิตใจที่เหมาะสมกับลักษณะ
งานน้ัน ๆ ซ่งึ มลี กั ษณะแตกตา งกัน เชน งานศพ งานมงคลสมรส งานอปุ สมบท เปนตน

หนาทขี่ องพิธีกร
พธิ กี ร คือ ผดู ําเนนิ การในพิธี ผดู าํ เนินรายการ ผทู ําหนา ท่ดี ําเนินรายการของงานทีจ่ ดั ขึน้ อยา งมี

พธิ ีการ
หนาท่ขี องพิธกี ร จะเปน ผทู ําหนาทบี่ อกกลา วใหผรู วมพธิ กี ารตา งๆไดทราบถึงขั้นตอนพธิ กี าร

วา มอี ะไรบา ง ใครจะเปน ผูพดู พดู ตอนไหน ใครจะทาํ อะไร พธิ กี รจะเปน ผแู จง ใหท ราบ นอกจากนี้
พิธีกรจะทําหนาท่ีประสานงานกับทุกฝายใหรับทราบตรงกนั

พิธีกร จงึ เปน ผูม คี วามสาํ คญั ย่งิ ตอ งานพิธนี น้ั ๆ ถาพิธีกรทําหนา ที่ไดดี งานพิธนี นั้ กจ็ ะดําเนินไป
ดว ยความราบร่ืนเรียบรอ ย แตถ าพธิ ีกรทําหนาที่บกพรอ งกจ็ ะทาํ ใหงานพธิ ีนัน้ ไมร าบร่นื เกดิ ความ
เสียหายได
คุณสมบัตขิ องพิธีกร

1. เปน ผูท ่ีมบี ุคลกิ ดี รปู รา งดี สงา มีใบหนาย้มิ แยมแจมใส รจู ักแตง กายใหส ุภาพเรียบรอ ย
เหมาะกบั กาลเทศะ

2. มนี ้ําเสียงนมุ นวล นาฟง มลี ลี าจังหวะการพูดพอเหมาะ ชวนฟง มีชีวติ ชีวา
3. พดู ออกเสยี งถกู ตอ งตามอักขรวิธี ชดั เจน ออกเสียงคําควบกลา้ํ ไดถูกตอง
4. ใชภ าษาดี เลอื กสรรถอยคาํ นาํ มาพูดใหผ ูฟง เขา ใจงาย สอื่ ความหมายไดดี ส้นั และกระชบั
มศี ลิ ปะในการใชภ าษา
5. มมี ารยาทในการพดู ใหเ กยี รติผฟู ง ควบคุมอารมณไดดี
6. มมี นษุ ยสมั พันธท ด่ี ี มวี ิธสี รา งบรรยากาศดวยสีหนา ทา ทาง ลีลาและนํา้ เสียง ฯลฯ
7. เปนผูใฝใจศกึ ษารูปแบบวธิ ีการใหม ๆ มาใช มคี วามคิดสรางสรรค ยอมรบั ฟง ความคดิ เหน็
ของบุคคลอนื่ และพยายามพัฒนาปรบั ปรงุ ตนเองอยเู สมอ
8. มคี วามรูใ นรายละเอยี ด ข้ันตอน วิธีการของกิจกรรมที่จะทําหนาที่พิธีกรเปนอยางดี ดวย
การศกึ ษา ประสานงาน ซักซอ มสอบถามจากทกุ ฝา ยใหชดั เจนและแมน ยาํ
9. เปน คนมปี ฏภิ าณไหวพริบดี มีความสามารถในการแกป ญ หาเฉพาะหนาไดอยางฉบั ไว
ขัน้ ตอนการพดู ของพิธกี ร
1. กลาวทกั ทายกับผฟู ง
2. แจง วตั ถุประสงคห รอื กลาวถึงโอกาสของการจัดงาน
3. แจงถึงกจิ กรรมหรอื การแสดงท่ีจะจดั ข้ึนวามีอะไร มขี ้ันตอนอยางไร
4. กลาวเชิญประธานเปดงาน เชิญผูกลาวรายงาน (ถามี) และกลาวขอบคุณเม่ือประธาน
กลาวจบ
5. แจงรายการท่จี ะดาํ เนนิ การในลําดบั ตอ ไป ถา มีการอภิปรายก็เชิญคณะผอู ภิปราย

71

เพ่ือดาํ เนนิ การอภปิ ราย ถาหากงานน้ันมีการแสดงก็แจง รายการแสดง ดังน้ี
5.1 บอกช่ือรายการ บอกท่ีมา หรอื ประวัตเิ พอื่ เกร่นิ ใหผ ฟู ง เขาใจเปน พื้นฐาน
5.2 ประกาศรายนามผูแสดง ผฝู ก ซอ ม ผูควบคมุ
5.3 เชิญชมการแสดง
5.4 มอบของขวญั ของทร่ี ะลกึ หลังจบการแสดง

6. พดู เช่ือมรายการ หากมกี ารแสดงหลายชดุ กจ็ ะตอ งมกี ารพูดเชื่อมรายการ
7. เม่ือทุกรายการจบส้ินลง พิธีกรจะกลาวขอบคุณแขกผูมีเกียรติ ผูฟงและผูชม ผูท่ีใหการ
ชว ยเหลอื สนบั สนุนงาน หากมพี ธิ ีปด พิธกี รก็จะตองดาํ เนินการจนพธิ ปี ดเสรจ็ เรยี บรอย

เรอ่ื งที่ 3 การเพ่มิ พนู ความรแู ละประสบการณท างดานภาษาไทยเพอ่ื การประกอบอาชีพ

ผูเ รียนท่มี องเห็นชองทางการประกอบอาชีพแลว และในการตดั สนิ ใจเลือกอาชีพ จําเปนตอ งศกึ ษา
เรียนรเู พม่ิ เตมิ เพอ่ื เพมิ่ พูนความรแู ละประสบการณ นําไปประกอบอาชีพไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ

การศกึ ษาเรยี นรเู พม่ิ เติม อาจทําไดห ลายวธิ ี
1. ศกึ ษาตอในระดับท่ีสงู ข้นึ
2. ศกึ ษาตอ เรียนรูเ พ่ิมโดยเลือกเรยี นในรายวิชาเลือกตา งๆ ทีส่ ํานักงาน กศน. จัดทําไวให
ตามความตองการ
3. ฝกฝนตนเองใหม ที กั ษะ มปี ระสบการณเ พ่ิมมากขนึ้ เชน อาชีพพิธกี ร ควรฝก ทกั ษะดา น

3.1 การมบี คุ ลกิ ภาพทีด่ ี
3.2 การพูดในทีช่ มุ ชน
3.3 มารยาทในการพูด

กจิ กรรม
ใหผ ูเรียนตอบคําถามตอไปนี้

1. บอกคณุ คาของภาษาไทย
1)....................................................................
2)....................................................................
3)....................................................................
4)....................................................................
5)....................................................................

72

2. ใหผเู รยี นดูและฟง การพดู ของพธิ กี รในรายการตา งๆ จากโทรทัศน วิทยุ รวมทง้ั จากงานพิธี
จริง เพอ่ื สงั เกตขั้นตอน วิธีการและเทคนิคตา ง ๆ ของพิธีกรเพือ่ เปน ตัวอยาง และใหพจิ ารณาเลือกใชสิ่ง
ดีๆ มาเปนแบบอยา ง สวนทมี่ องเหน็ วา บกพรอง กน็ ํามาเปนขอ ควรระวัง โดยบนั ทกึ ขอ ดแี ละขอ ควร
ปรบั ปรงุ จากการดูและฟง ในรายการตาง ๆ

3. ใหผ ูเรยี นแสดงบทบาทสมมุติใหต ัวเองเปน พิธีกรในงานใดงานหนง่ึ แลวใหเ พื่อนชว ยวิจารณ
จากน้ันครปู ระจาํ กลุม ชวยสรปุ และใหคําแนะนาํ ก็จะทําใหผ เู รยี นไดพัฒนาปรบั ปรงุ ตนเอง และ
พฒั นาการพูดในฐานะพิธีกรไดอ ยา งดี

เฉลยแบบฝก หัด

ในการเฉลยแบบฝก หดั ผสู อนสามารถพิจารณาปรับเปลีย่ นไดตามความเหมาะสม
บทที่ 1 การฟง และการดู

เรือ่ งท่ี 1 1. หลกั การฟงและดู
1. ฟง และดูอยางต้ังใจ
2. มจี ุดมงุ หมาย
3. จดบนั ทกึ ใจความสาํ คญั
4. ศึกษาความรู กอ นทจี่ ะฟง และดู

2. ความสําคัญของการฟงและดู
1. เปนการส่อื สารระหวา งกนั
2. เพ่ิมความรูแ ละประสบการณ
3. เปนการเผยแพรความรู
4. เปน การพัฒนาชวี ติ และความเปนอยู

3. มจี ุดมุงหมายของการฟง และดู
1. เพอ่ื ความรู
2. เพอ่ื รูเทาทันเหตุการณ
3. เพือ่ ความเพลดิ เพลิน
4. เพอื่ ใชเวลาวา งใหเกดิ ประโยชน

เรือ่ งท่ี 2 1. วธิ กี ารฟง เพอ่ื จบั ใจความสาํ คญั
1. ฟงอยางตง้ั ใจและมีสมาธิ
2. ฟง ใหตลอดเรื่อง
3. ฟงอยางมวี ิจารณญาณ

73

เร่อื งท่ี 3 2. วธิ กี ารดแู ลวจบั ใจความสําคัญ
เรือ่ งท่ี 4 1. ฟงแลว รรู ายละเอยี ด
2. เขาใจเนือ้ หาสาระ
บทที่ 2 การพดู 3. ประเมนิ คาเรอื่ งท่ีฟง
เรื่องที่ 1 4. จดบันทกึ ใจความสาํ คัญ

1. วิธกี ารของการสรปุ ความ
1. นาํ ใจความสําคญั มาเขียนสรปุ ดว ยสํานวนตนเอง
2. การใชป ระโยชนจากสรุปความ โดยนาํ มาศกึ ษาหรือเผยแพร

2. การนาํ วิธกี ารสรปุ ความไปใชป ระโยชน
1. สรปุ การฟง และดปู ระจาํ วัน
2. เผยแพรค วามรเู รือ่ งจากการฟง และดู

1. มารยาทในการฟง
1. ตงั้ ใจฟง ผูอ ่นื
2. ไมรบกวนสมาธผิ ูอืน่
3. ใหเ กยี รตวิ ิทยากร
4. ฟง ใหจ บ

2. มารยาทในการดู
1. ตั้งใจดู
2. ไมรบกวนสมาธิผูอน่ื
3. ไมฉ ีกทําลายเอกสารทีด่ ู
4. ดูแลว ใหร กั ษาเหมือนสมบตั ขิ องตน

1. การนาํ หลักการและความสาํ คัญของการพดู ไปใช ดงั นี้
1. มคี วามรูเ รอื่ งทพี่ ดู
2. พูดดว ยคําสุภาพ
3. สื่อสารกับผูอน่ื เขา ใจ
4. ใชแ สดงความคดิ เห็น

2. จดุ มงุ หมายของการพดู
1. เพอื่ สือ่ สารกับผูอืน่
2. เพอ่ื แสดงความรู ความสามารถของตนเอง
3. เพื่อแสดงความเห็น

74

เรื่องที่ 2 1. การเตรียมตวั การพูด
เรอื่ งท่ี 3 1. การแตงกาย
2. เนือ้ หาสาระทพี่ ูด
เรอื่ งที่ 4 3. เอกสาร อปุ กรณป ระกอบการพูด
4. เตรียมพรอ มทั้งรา งกายและจิตใจ
บทท่ี 3 การอาน
เรอื่ งที่ 1 1. วธิ กี ารพูดในสถานการณตาง ๆ
1 การพูดอวยพร ใหมีความสุข ความเจริญ โดยอางสิ่งศักด์ิสทิ ธ์ิ
ใหผ ูฟ ง ประทับใจ
2 การพดู ขอบคณุ พดู ดวยภาษาสุภาพ บอกเหตทุ ีต่ อ ง
ขอบคุณ และหากมโี อกาสจะตอบแทนบางโอกาสหนา
3 การพูดตอ นรบั พดู ดว ยคาํ สภุ าพ นุมนวล ประทบั ใจ
พูดแนะนําบคุ คล หรอื สถานท่ี

2. การนาํ ความรูด านการพูดไปใช
1. อวยพรวันเกดิ
2. อวยพรวนั ขึ้นปใ หม
3. กลาวตอนรับผมู าเย่ยี มเยือน
4. กลาวขอบคุณทใ่ี หก ารตอ นรบั อยางดี

1. มารยาทในการพูด
1. ใชค าํ พูดสภุ าพ
2. ไมพ ูด วารายผอู ืน่
3. พดู คดั คานดวยเหตุผล

2. มารยาทดใี นการพดู จะมีประโยชน
1. เปนท่ีรกั ของผูอ ่ืน
2. ผอู น่ื ยินดีพูดดวย
3. ไดร ับความไวว างใจจากผอู ืน่

1. หลกั การอาน
1. มจี ดุ มุง หมายในการอา น
2. เลือกหนงั สืออานตามความสนใจ
3. อา นถกู ตอ งตามอกั ขรวธิ ี

2. ความสําคญั ของการอา น
1. รับสารเปน ความรหู ลากหลาย
2. ไดความรู ทักษะและประสบการณ

75

3. พฒั นาความคดิ ผอู าน
3. จดุ มงุ หมายในการอาน

1. ใหม ีความรู
2. ใหเ พลดิ เพลนิ
3. นาํ ความรูไปประยุกตใช
4. เปนผทู นั สมัย ทันเหตุการณ
เร่ืองที่ 2 1. อา นออกเสยี งไดโ ดย
1. ออกเสยี งถกู ตอง
2. อานอยางมีจงั หวะ
3. อา นอยางเขา ใจเนอ้ื เรือ่ ง
4. อานเสยี งดัง ฟงชัด
2. ใจความสาํ คัญและสรุปความ เร่ืองผูนาํ ยวุ เกษตรกรไทย
“เตรยี มไปญี่ปนุ ”
กรมสงเสรมิ การเกษตร สาํ นกั งานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ กรมสง เสรมิ สหกรณ
กรมปศุสัตว และสํานักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร คัดเลือกยุวเกษตรกรเขา รับการฝก งานตาม
โครงการ จาํ นวน 21 คน เขา รบั การฝก งานที่ญี่ปุน โดยเดินทาง 6 เมษายน 2552 โดยจะตอ งอบรมดา น
พ้นื ฐานการเกษตรและภาษาญป่ี นุ กอน ระหวางวันที่ 16 กมุ ภาพนั ธ – 31 มีนาคม 2552
เร่ืองท่ี 3 1. รอ ยกรองคือ คาํ ประพันธท่ีแตง โดยมีการสมั ผัสใหค ลอ งจองกัน
2. การอา นกลอนสุภาพ ใหแ บงคําแยกเปน 3/2/3 หรอื บางบท
อาจเปน 3/3/3 ก็ได
เรอ่ื งที่ 4 1. เลือกหนังสืออานไดโดย
1. อา นหนงั สือตามความสนใจ พิจารณาจากชื่อผเู ขยี นหรือสารบญั
2. พิจารณาเนือ้ หาสาระทีเ่ ก่ยี วกับผูเขียน
3. พจิ ารณาหนงั สือประกอบการเรยี น บรรณานุกรม
2. ประโยชนข องการอาน
1. ไดร ับความรู ความคิด
2. ไดรับความเพลิดเพลนิ
3. ใชเ วลาวางใหเปน ประโยชน
เร่อื งท่ี 5 1. มารยาทในการอา นทนี่ อกเหนอื จากการศกึ ษา
1. ไมอา นหนงั สอื ขณะฟงผูอืน่ พูด
2. ไมอ านหนังสือของผูอื่นที่ไมไ ดรับอนญุ าตกอ น ฯลฯ
2. การมนี สิ ยั รักการอานทนี่ อกเหนือจากการศกึ ษา
1. พยายามอา นทุกอยา งท่พี บเห็นแมจะเปน ขอ ความสั้น ๆ

76

บทที่ 4 การเขยี น หลักการเขียน ประโยชนของการเขียน
เรอ่ื งท่ี 1 1. เขียนดวยความเรยี บรอย และถูกตอ งตามหลักภาษา
เรือ่ งที่ 2 2. มีจดุ มุงหมายในการเขยี น
บอกชื่อสระตอไปน้ี
เรื่องที่ 3 1. ะ เรยี กวา วสิ รรชนยี 
2. ุ เรียกวา ตนี เหยียด
เรือ่ งท่ี 4 3. ู เรยี กวา ตนี คู
เร่ืองท่ี 5 4. เ เรยี กวา ไมห นา
5. ไ เรยี กวา ไมม ลาย
6. โ เรียกวา ไมโอ
7. ย เรียกวา ตวั ยอ
8. ว เรยี กวา ตวั วอ
9. ฤ เรยี กวา ตัวรึ
10. ฦา เรียกวา ตวั ลอื
1. คาํ สะกดดวย

- แมกง เชน งง สรง คง ฯลฯ
- แมก น เชน กล คน บน ฯลฯ
- แมกม เชน กลม คม ดม ฯลฯ
- แมก บ เชน กบ ครบ หลับ ฯลฯ
- แมเกย เชน เลย เฉย ตาย ฯลฯ
2. ประสมคาํ ทมี่ พี ยญั ชนะ สระ และวรรณยุกต
1. สิน้
2. ดา ย
3. ที่
4. เตา
5. ตา ย
ช่อื นามสกลุ เจา ของประวตั ิ
1. สว นประกอบของรายงาน
1. ปกหนา
2. คาํ นาํ
3. สารบัญ

77

4. เนือ้ หาสาระ
5. บรรณานุกรม
2. เชิงอรรถ จะมชี อ่ื ผเู ขียน ปทีพ่ ิมพ และเลขท่ีหนา หนังสือท่ี
นํามาใชประกอบการเขยี น
3. บรรณานกุ รม ประกอบดว ย รายช่ือผเู ขยี นเรียงตามตัวอักษร
ชือ่ หนังสอื ช่ือสถานทพี่ มิ พ ชอื่ โรงพมิ พ และ ปทพ่ี ิมพ
เรอ่ื งที่ 6 1. มารยาทในการเขยี น
1. เขยี นถกู ตอง ชัดเจน
2. เขยี นเชงิ สรางสรรค
3. เขียนในส่ิงที่ควรเขียน ไมเขยี นในส่งิ ทไี่ มควรเขียน
4. เขียนทุกอยางที่เปนความจริง
5. ไมเขยี นขอ ความในหนังสือทเ่ี ปน สว นรวม
2. นิสยั รักการเขยี น
1. เริม่ ตนเขยี นจากงายไปยาก
2. เขยี นทุกๆ วนั
3. พยายามเขยี นดว ยใจรัก
บทท่ี 5 หลักการใชภ าษา
เรือ่ งท่ี 1 1. เสยี งพยัญชนะ มี 21 เสียง
2. เสียงสระมี 24 เสียง
3. เสียงวรรณยกุ ต มี 5 เสียง
4. นา มเี สยี งวรรณยุกตสามัญ
หมา มีเสียงวรรณยุกตจตั วา
กิน มีเสยี งวรรณยุกตส ามัญ
สิน มเี สยี งวรรณยกุ ตจ ตั วา
พลอย มเี สียงวรรณยุกตสามัญ
5. ไตรยางค คือ อกั ษร 3 หมู ไดแ ก อักษรสงู กลาง และต่ํา
เร่ืองที่ 2 1. สรา งกลุมคาํ
1. เดิน เดนิ ไปโรงเรยี น
2. ชน ชนกันอยางแรง
3. แดง แดงมาก
4. น้ํา น้าํ สกปรก

เร่อื งท่ี 3 78
เรอ่ื งท่ี 4
เรือ่ งท่ี 5 2. สรางประโยค
1. บญุ ศรเี ดินไปโรงเรียน (บอกเลา)
2. รถโรงเรียนชนกนั อยา งแรง (บอกเลา)
3. เสือ้ ตวั น้ีแดงมากไปหรอื (คําถาม)
4. อยา ดม่ื นาํ้ สกปรก (คําส่ัง)

ใชเ ครอ่ื งหมายวรรคตอนทีเ่ หมาะสม
1. วนั น้ีลกู สาวส่งั ซื้อขนมทองหยิบ ทองหยอด เมด็ ขนนุ

ฝอยทอง ฯลฯ
2. นทิ านมีหลายชนิด เชน นทิ านชาดก นิทานปรมั ปรา

นิทานคติสอนใจ
3. คําตอบขอ นถ้ี กู ทัง้ ก. ข. ค. ง.
4. เธอนัดใหฉ ันไปพบในเวลา 08.00 น.

อกั ษรยอ
พ.ศ. ร.ร. น.ส.
1. วธิ กี ารใชพจนานกุ รม
1. เรยี งลําดับคํา
2. พจิ ารณาอกั ขรวธิ ี
3. การบอกเสยี งอาน
4. การบอกความหมาย
5. การบอกประวัติของคําและชนดิ ของคาํ
2. คําราชาศัพท 7 คาํ
พระราชบิดา ตรัส พระราชทาน พระบรมฉายาลักษณ ประทับ
เสด็จ รบั สัง่
3. คาํ สภุ าพ 7 คํา
สนุ ัข รับประทาน ทราบ มูลดนิ ไมตีพริก ครับ ศีรษะ
1. สาํ นวน
ในนํา้ มปี ลา ในนามีขาว
คนรกั เทาผืนหนัง คนชงั เทาผืนเส่อื
ฝนท่งั ใหเปน เข็ม
ฯลฯ
2. คําพังเพย
รกั วัวใหผ ูก รักลกู ใหต ี
สอนหนังสอื สังฆราช

79

ชางตายท้งั ตวั เอาใบบวั ปด
ฯลฯ
3. สุภาษติ
รกั ยาวใหบ นั่ รกั ส้ันใหต อ
นํา้ รอนปลาเปน นํา้ เยน็ ปลาตาย
เหน็ ชา งข้ี อยาข้ีตามชาง
ฯลฯ
เรอื่ งท่ี 6 วิธใี ชภ าษาไดอ ยา งเหมาะสม
1. ใชภ าษาตรงไปตรงมา ไมโกหกหลอกลวง ใหรายผอู นื่
2. ไมใชค าํ หยาบ
3. ใชภาษาใหเหมาะสมกับกาลเทศะและระดับของบคุ คล
4. ใชภ าษาใหเกดิ ความรกั สามคั คี
5. ใชภ าษาใหถ กู ตอ งตามหลักภาษา
เรือ่ งท่ี 7 1. ลกั ษณะคาํ ไทย
1. เปน คาํ เดยี วโดดๆ มีความหมายชัดเจน
2. ตัวสะกดตรงตามมาตรา
3. ไมม ีตวั การันต

ฯลฯ
2. คําภาษาตางประเทศ 10 คํา

แปะเจ๊ียะ กวยจ๊ับ ซินแส อ้ังโล โฮเต็ล ปม แชมป แท็กซี่
แสตมป ฟต
บทที่ 6 วรรณคดีและวรรณกรรม
เร่ืองที่ 1 1. คณุ คา
1. คณุ คา ของนทิ าน ไดแก ใชเ ปนขอ คติเตอื นใจ เปนมรดกของ

บรรพบรุ ุษและไดประโยชนจ ากการเลาและฟง
2. คณุ คาของนทิ านพนื้ บา น ไดแก เปนเร่ืองเลา ทแี่ สดงใหเห็นถึงชวี ิต

ความเปน อยขู องคนพ้นื บานทีเ่ ปน อยกู นั มาแตดง้ั เดมิ และไดขอคิด
ขอเตอื นใจ รวมทั้งความภมู ิใจของคนรนุ หลังตอ มา
3. คณุ คาของวรรณกรรมทอ งถน่ิ ไดแ ก การแสดงถึงวิถีชีวิต
ความเปนอยขู องทองถิ่น ใหขอคดิ ขอเตือนใจ เปนมรดก
ที่ควรรักษาไว

80

2. นาํ ไปใชประโยชนไ ดโ ดย
1. อานเพิม่ ความรู ความเพลดิ เพลนิ
2. ใชเวลาวา งใหเ ปน ประโยชน
3. นําขอดีเปน ตัวอยา งไปใช

บทที่ 7ภาษาไทยกับชองทางการประกอบอาชพี
เร่อื งท่ี 1 คณุ คาของภาษาไทย
1. ใชสอื่ สารในชีวติ ประจําวนั
2. บง บอกถงึ เอกลกั ษณค วามเปน ไทย
3. เปน วัฒนธรรมทางภาษา
4. เปน ภาษาท่ีสามารถแสดงถึงความนอบนอม สภุ าพ ออนหวาน
5. สามารถเรยี บเรียงแตง เปนคาํ ประพันธ

81

บรรณานุกรม

การศกึ ษานอกโรงเรียน, กรม. ชุดวิชาภาษาไทย ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : คุรุสภา,
2546.

เรอื งอุไร อินทรประเสรฐิ . ภาษาไทย 1. กรุงเทพฯ : ศนู ยสงเสริมวิชาการ, 2546.
อคั รา บุญทพิ ย และบปุ ผา บุญทพิ ย. ภาษาไทย 1. กรุงเทพฯ : ประสานมติ ร, 2546.

82

หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
พทุ ธศักราช 2551

รายชอ่ื ผูเขา รวมประชุมปฏิบตั กิ ารพฒั นาหนังสอื เรียนวิชาภาษาไทย

ระหวา งวนั ที่ 10 – 13 กุมภาพันธ 2552 ณ บา นทะเลสีครมี รสี อรท
จังหวัดสมุทรสงคราม

1. นางสาวพมิ พใ จ สิทธิสรุ ศักด์ิ ขา ราชการบาํ นาญ
2. นางพมิ พาพร อนิ ทจักร สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
3. นางกานดา ธิวงศ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื
4. นายเรงิ กองแกว สํานกั งาน กศน. จังหวดั นนทบุรี

รายช่ือผเู ขารว มประชมุ บรรณาธิการหนงั สือเรยี นวิชาภาษาไทย

คร้ังที่ 1 ระหวางวนั ที่ 7 – 10 กันยายน 2552 ณ โรงแรมอูท องอินน
จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา

1. นางสาวพมิ พใ จ สทิ ธสิ ุรศักด์ิ ขาราชการบํานาญ
สาํ นักงาน กศน. จังหวดั นนทบุรี
2. นายเรงิ กองแกว กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

3. นางนพรัตน เวโรจนเ สรวี งศ

ครั้งที่ 2 ระหวา งวันที่ 12 – 15 มกราคม 2553 ณ โรงแรมอทู องอินน
จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

1. นางสาวพมิ พใจ สทิ ธิสรุ ศักด์ิ ขา ราชการบํานาญ
สาํ นกั งาน กศน. จังหวัดนนทบุรี
2. นายเรงิ กองแกว กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น

3. นางนพรัตน เวโรจนเสรวี งศ

83

คณะผูจดั ทาํ

ที่ปรกึ ษา บุญเรอื ง เลขาธกิ าร กศน.
1. นายประเสริฐ อิม่ สุวรรณ รองเลขาธกิ าร กศน.
2. ดร.ชยั ยศ จาํ ป รองเลขาธิการ กศน.
3. นายวชั รินทร แกวไทรฮะ ที่ปรกึ ษาดานการพฒั นาหลกั สตู ร กศน.
4. ดร.ทองอยู งามเขตต ผอู ํานวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
5. นางศุทธินี
กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
คณะทํางาน มัน่ มะโน กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
1. นายสรุ พงษ ศรีรัตนศลิ ป กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
2. นายศุภโชค ปทมานนท กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
3. นางสาววรรณพร กลุ ประดิษฐ กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
4. นางสาวศริญญา เหลืองจิตวฒั นา
5. นางสาวเพชรินทร กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
ผพู ิมพตน ฉบับ กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
1. นางปย วดี คะเนสม กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน

2. นางสาวเพชรินทร เหลอื งจติ วัฒนา กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น

3. นางสาวกรวรรณ กววี งษพ ิพัฒน

4. นางสาวชาลีนี ธรรมธษิ า

5. นางสาวอลศิ รา บานชี

ผูออกแบบปก

นายศภุ โชค ศรีรัตนศลิ ป

84

รายช่อื ผเู ขารว มประชุมปฏบิ ตั กิ ารปรับปรงุ เอกสารประกอบการใชหลกั สตู รและ
ส่ือประกอบการเรียนหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน

พทุ ธศกั ราช 2551 ระหวางวันท่ี 4 – 10 พฤศจกิ ายน 2554
ณ โรงแรมมิรามา กรงุ เทพมหานคร

สาระความรพู ืน้ ฐาน (รายวิชาภาษาไทย)

ผูพ ัฒนาและปรับปรงุ

1. นางอัชราภรณ โควคชาภรณ หนวยศึกษานิเทศก

2. นางเกล็ดแกว เจริญศกั ด์ิ หนวยศกึ ษานเิ ทศก

3. นางนพรตั น เวโรจนเ สรวี งศ กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

4. นางสาวสมถวิล ศรจี นั ทรวโิ รจน กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน

5. นางสาววันวสิ าข ทองเปรม กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

85

คณะผปู รบั ปรุงขอมูลเกีย่ วกบั สถาบนั พระมหากษตั รยิ  ป พ.ศ. 2560

ท่ปี รกึ ษา จําจด เลขาธิการ กศน.
หอมดี ผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ
1. นายสรุ พงษ ปฏบิ ตั หิ นาทร่ี องเลขาธิการ กศน.
2. นายประเสรฐิ สุขสเุ ดช ผอู าํ นวยการกลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอธั ยาศยั
3. นางตรนี ุช

ผปู รบั ปรงุ ขอมลู วงคเ รอื น กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
สังขพ ชิ ยั กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
1. นางสาวทิพวรรณ
2. นางสาวชมพูนท

คณะทาํ งาน

1. นายสุรพงษ มั่นมะโน กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
2. นายศุภโชค ศรีรตั นศลิ ป กลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
3. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาํ ไพศรี กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
4. นางเยาวรตั น ปนมณีวงศ กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
5. นางสาวสุลาง เพ็ชรสวาง

6. นางสาวทพิ วรรณ วงคเ รือน

7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน

8. นางสาวชมพูนท สังขพิชัย


Click to View FlipBook Version