The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวรรณกรรม วรรณคดี วรรณศิลป์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 0223, 2021-04-06 21:45:24

1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวรรณกรรม วรรณคดี วรรณศิลป์

1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวรรณกรรม วรรณคดี วรรณศิลป์

วชิ า THL 1301 วรรณกรรมศึกษา

ความรู้ทวั่ ไปเกยี่ วกบั วรรณคดี

ความหมายของวรรณคดี วรรณกรรม วรรณศิลป์
• วรรณคดี คืออะไร
• วรรณกรรม คืออะไร
• วรรณศิลป์ คืออะไร

ความหมายของวรรณคดี

• ความหมายตามรูปศพั ท์
วรรณ แปลวา่ หนงั สือ สีผิว ชนิด เพศ ตวั อกั ษร
คดี แปลวา่ เรื่อง ความ ทาง
วรรณคดี แปลวา่ แนวทางของหนงั สือ

• คาวา่ วรรณคดี เป็นศพั ทบ์ ญั ญตั ิ ตรงกบั คาวา่ Literature ในภาษาองั กฤษ
ปรากฏคร้ังแรกในพระราชกฤษฎีกาต้งั วรรณคดีสโมสร ลงวนั ที่ 23
กรกฎาคม 2457 ในรัชสมยั สมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั

ความหมายของวรรณคดี

• เสฐียรโกเศศ ใหค้ วามหมายไวว้ า่
“วรรณคดีคือการแสดงความคิดออกมาโดยเขียนข้ึนไวเ้ ป็นหนงั สือ

ขอ้ เขียนหรือบทท่ีแต่ง หรือบทประพนั ธ์ข้ึนท้งั หมด ซ่ึงเป็นของ
ประเทศชาติใด ๆ หรือยคุ สมยั ใด ๆ ไม่วา่ ในภาษาใด หรือวา่ ดว้ ย
เร่ืองใด ๆ (ยกเว้นเร่ืองวทิ ยาศาสตร์) บทโวหาร วรรณนาหรือ
ขอ้ เขียนซ่ึงมีสานวนโวหารเพราะพริ้ง มีลกั ษณะเด่นในเชิงประพนั ธ์”

ความหมายของวรรณคดี

• ม.ล. บุญเหลอื เทพยสุวรรณ ใหท้ รรศนะวา่
“วรรณคดี คือหนงั สือที่ไดร้ ับความยกยอ่ งจากผศู้ ึกษา และจาก

ผสู้ นใจในศิลปะทางวรรณกรรมวา่ เป็นหนงั สือช้นั ดี สมควรท่ีจะแนะนา
ใหผ้ อู้ ื่นอ่านใหแ้ พร่หลาย เป็นหนงั สือท่ีไดร้ ับความยกยอ่ งซ่ึงจะตอ้ งมี
เน้ือหาและรูปแบบเหมาะสมกนั มีความคิดนึกท่ีแสดงถึงความเฉียบแหลม
ของผแู้ ต่ง แสดงถึงพฒั นาการทางอารมณ์ของผแู้ ต่งสูง และมีคุณค่าในทาง
ประวตั ิของวรรณกรรมหรือประวตั ิวรรณคดี

ความหมายของวรรณคดี

• วทิ ย์ ศิวะศริยานนท์ใหค้ วามหมายไวว้ า่
“วรรณคดี หมายถึง บทประพนั ธ์ท่ีรัดตรึงใจผอู้ ่าน ปลุกมโนคติ

(Imagination) ทาใหเ้ พลิดเพลินและเกิดอารมณ์ต่าง ๆ ละมา้ ยคลา้ ยคลึง
กบั อารมณ์ของผปู้ ระพนั ธ์ วรรณคดีอาจสอนใจเราไดท้ างออ้ ม แต่ไม่ใช่
หนงั สือเทศน์ และอาจเปิ ดหูเปิ ดตาเราโดยใหเ้ ราไดเ้ ห็นชีวติ และแง่ของ
ชีวิตแปลก ๆ ต่าง ๆ แต่วรรณคดไี ม่ใช่ตารา หนังสือศาสนา”

ความหมายของวรรณคดี

• สิทธา พนิ ิจภูวดล กล่าวถึงวรรณคดีวา่
“หมายถึงบทประพนั ธ์ทุกชนิดที่ผแู้ ต่งมีวิธีเขียนอยา่ งดี มีศิลปะก่อใหเ้ กิด

ความประทบั ใจแก่ผอู้ ่าน สร้างความสนุกเพลิดเพลินใหแ้ ก่ผอู้ ่านทาให้
ผอู้ ่านมีมโนภาพไปตามจินตนาการของผแู้ ต่ง เร้าใหเ้ กิดอารมณ์สะเทือนใจ
ไปตามความรู้สึกของผแู้ ต่ง บางคร้ังผู้แต่งจะสอดแทรกความรู้และทัศนคติ
ในเร่ืองต่าง ๆ ลงในงานของเขา แต่กม็ ไิ ด้หมายความว่า ผู้แต่งมุ่งให้ความรู้
หรือมุ่งสอนปรัชญา ศีลธรรม หรือเรื่องของชีวติ ท้งั น้ีเพราะวรรณคดีไม่ใช่
ตารา

ความหมายของวรรณคดี

• มาตรา 8 ในราชกฤษฎีกา กาหนดไวด้ งั น้ี
1. เป็ นหนังสือดี คือ เป็นเรื่องที่สมควรซ่ึงสาธารณะชนจะอ่านได้

โดยไม่เสียประโยชน์ คือ ไม่เป็นเร่ืองทุภาษิต หรือเป็นเรื่องที่ชกั จูง
ความคิดผอู้ ่านไปในทางอนั ไม่เป็นแก่นสาร หรือซ่ึงจะชวนใหค้ ิดวนุ่ วาย
ไปในทางการเมือง อนั จะเป็นเคร่ืองราคาญแก่รัฐบาลของพระบาทสมเดจ็
พระเจา้ อยหู่ วั

2. เป็ นหนังสือแต่งดี ใชว้ ิธีเรียบเรียงอยา่ งใด ๆ กต็ าม แต่ตอ้ งใหเ้ ป็น
ภาษาไทยอนั ดี ถูกตอ้ งตามเยย่ี งที่ใชใ้ นโบราณกาลหรือในปัจจุบนั กไ็ ด้
ไม่ใช่ภาษาซ่ึงเลียนภาษาต่างประเทศหรือใชว้ ิธีผกู ประโยคประธานตาม
ภาษาต่างประเทศ

หนังสือที่เป็ นวรรณคดีได้

• พิจารณาจากพระราชกฤษฎีกาจดั ต้งั วรรณคดีสโมสรเมื่อปี พ.ศ. 2457
ในมาตรา 7 ระบุวา่ หนงั สือโบราณหรือหนงั สือปัจจุบนั ทเี่ ป็ นวรรณคดไี ด้
มี 5 ประเภท
1.กวนี ิพนธ์ คือ โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน
2. ละครไทย คือ แต่งเป็นกลอนแปด มีกาหนดหนา้ พาทย์ ฯลฯ
3. นิทาน คือ เรื่องราวอนั ผกู ข้ึนและแต่งเป็นร้อยแกว้
4. ละคร คือละครท่ีไทยเอาแบบอยา่ งมาจากยโุ รป
5. คาอธิบาย คือ แสดงดว้ ยศิลปะวทิ ยา หรือกิจการอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง

(แต่ไม่ใช่ตาราหรือแบบเรียน หรือความเรียงเร่ืองโบราณคดี)

ยอดของวรรณคดี

1. ลิลิตพระลอ: ยอดของกลอนลิลิต
2. สมทุ รโฆษคาฉนั ท:์ ยอดของกลอนฉนั ท์
3. มหาชาติกลอนเทศน์: ยอดของกลอนกาพย์
4. เสภาขนุ ชา้ งขนุ แผน: ยอดของกลอนสุภาพ
5. บทละครเรื่องอิเหนา: ยอดของกลอนบทละครรา
6. บทละครเรื่องหวั ใจนกั รบ: ยอดของกลอนบทละครพดู (ร.6)
7. สามก๊ก: ยอดของความเรียงเรื่องนิทาน
8. พระราชพิธีสิบสองเดือน: ยอดของความเรียงอธิบาย (ร.5)

ความหมายของวรรณกรรม

• คาวา่ วรรณกรรม มีปรากฏเป็นหลกั ฐานคร้ังแรกในพระราชบญั ญตั ิ
คุม้ ครองศิลปะและวรรณกรรม พ.ศ. 2475 บญั ญตั ิข้ึนจากคาวา่
Literature เช่นเดียวกบั คาวา่ วรรณคดี แต่คาว่าวรรณกรรมน้ันมี
ความหมายกว้างกว่าคาว่าวรรณคดี

ความหมายของวรรณกรรม

• วรรณกรรม หมายถึง สิ่งซ่ึงเขียนข้ึนท้งั หมดไม่วา่ จะเป็นรูปแบบใด
หรือเพ่ือความมุ่งหมายอยา่ งใด เช่น คาอธิบาย ใบปลิว หนงั สือพิมพ์
นวนิยาย

• วรรณกรรมที่แต่งดีไดร้ ับความยกยอ่ งจากคนทว่ั ไปจึงจะเรียกวา่
วรรณคดี

• คุณสมบตั ิท่ีทาใหว้ รรณกรรมและวรรณคดีต่างกนั กค็ ือ วรรณศิลป์
หรือ ศิลปะแห่งการเรียบเรียง

วรรณกรรมทไี่ ด้รับยกย่องว่าเป็ นวรรณคดมี กั มคี ุณสมบตั ิ

1. เน้ือหาและรูปแบบเหมาะสมกนั
2. การใชส้ านวนภาษาเป็นไปดว้ ยความบรรจงดว้ ยความเพง่ เลง็
3. มีความคิดนึกท่ีแสดงถึงความเฉียบแหลมของผแู้ ต่ง
4. แสดงถึงพฒั นาการทางอารมณ์ของผแู้ ต่งสูง
5. มีคุณคา่ ในทางประวตั ิของวรรณกรรม หรือประวตั ิวรรณคดี

ความหมายของวรรณศิลป์

• คาวา่ วรรณศิลป์ ตรงกบั ภาษาองั กฤษวา่ The Art of Literature
หมายถึง หนังสือท่ีมศี ิลปะ หรือศิลปะของหนังสือ

• หนงั สือที่มีวรรณศิลป์ ตอ้ งเป็นหนงั สือท่ีมุ่งเสนอ
- ความงดงามของภาษา
- ความงดงามของเนือ้ เรื่อง
- รูปแบบเป็ นสาคญั

• วรรณศิลป์ จึงเป็นคุณสมบตั ิประการสาคญั ท่ีทาใหว้ รรณกรรมเป็น
วรรณคดี

องค์ประกอบของวรรณศิลป์

1. อารมณ์สะเทือนใจ
2. ความนึกคดิ และจินตนาการ
3. การแสดงออก
4. ท่วงท่าทแี่ สดงหรือสไตล์
5. เทคนิค
6. องค์ประกอบ

1. อารมณ์สะเทอื นใจ

• อารมณ์สะเทือนใจ เป็นอารมณ์ที่เกิดข้ึนต่อเมื่อมีสิ่งใดสิ่งหน่ึงมา
กระทบจิตใจ แลว้ เกิดความรู้สึกตอบสนอง

• ความรู้สึกตอบสนองท่ีเกิดข้ึนเป็นผลทาใหเ้ กิดศิลปะข้ึนได้
• งานศิลปะส่วนใหญ่เกิดจากอารมณ์สะเทือนใจของศิลปิ น แลว้ แสดง

ออกมาใหผ้ อู้ ื่นไดร้ ับรู้
• วรรณคดีกเ็ ช่นเดียวกนั หลายเร่ืองเกิดจากอารมณ์สะเทือนใจของผแู้ ต่ง

แลว้ ถ่ายทอดอารมณ์สะเทือนใจออกมาใหผ้ อู้ า่ นหรือผฟู้ ังเกิดอารมณ์
คลอ้ ยตาม

1. อารมณ์สะเทือนใจ

• เมื่อเกิดความรัก ทาใหเ้ กิดเพลงยาว
• ความเศร้าใจเมื่อตอ้ งพลดั พรากจากคนรัก ทาใหเ้ กิดนิราศ
• สุนทรภู่เกิดอารมณ์สะเทือนใจเมื่อเดินทางไปพบเห็นส่ิงต่าง เช่น

- เมื่อแลเห็นวงั หลวงกน็ ึกถึงรัชกาลที่ 2
ถงึ หน้าวงั ดงั หน่ึงใจจะขาด คดิ ถงึ บาทบพติ รอดิศร

- เมื่อเห็นโรงเหลา้ ราพนั วา่
ถงึ โรงเหล้าเตากลน่ั ควันโขมง มีคนั โพงผกู สายไว้ปลายเสา

โอ้บาปกรรมน้านรกเจียวนะเรา ให้มัวเมาเหมอื นหนึ่งบ้าเป็ นน่าอาย

2. ความนึกคดิ และจินตนาการ

• ความนึกคิดและจินตนาการ เป็ นภาพทผ่ี ู้แต่งสร้างขนึ้ ในจติ ใจ อาจ
เกิดจากอารมณ์สะเทือนใจ ความคิดฝันและประสบการณ์แลว้ ทาให้
กลายเป็ นภาพข้ึน

• จิตนาการในวรรณคดนี ้นั ควรจะเพง่ ไปในดา้ นความงาม ความดี เพื่อ
บารุงจิตใจใหเ้ กิดความบนั เทิงเป็นสาคญั

3. การแสดงออก

• การแสดงออก ผแู้ ต่งจะใชก้ ารแสดงออกเป็ นพาหะนาเอาความรู้
อารมณ์สะเทือนใจ ความนึกคิด จินตนาการของตนไปใหผ้ อู้ ื่นรับรู้

• การแสดงออกใหม้ ีศิลปะ คือ ทาใหผ้ อู้ ่านผฟู้ ังเห็นลกั ษณะท่ีสาคญั ๆ
เช่น
- ทาให้ผู้อ่านเห็นภาพ และรู้สึกตามคาบรรยาย
- ทาให้เห็นความเคลอ่ื นไหวของตวั ละครในเรื่อง
- ทาให้เห็นนิสัยใจคอ และบุคลกิ ภาพของตวั ละครในเร่ือง

• ทาให้ผู้อ่านเห็นภาพ และรู้สึกตามคาบรรยาย

- โคลงของศรีปราชญ์

เรียมร่าน้าเนตรถ้วม ถงึ พรหม

พาหม่สู ัตว์จ่อมจม ชีพม้วย

พระสุเมรุเปื่ อยเป็ นตม ทบท่าว ลงแฮ

หากอกั นิฐพรหมฉ้วย พไ่ี ว้จ่ึงคง

- ตอนที่ขนุ แผนเข้าห้องนางแก้วกริ ิยา

เจ้าร่างน้อยนอนน่ิงบนเตียงตา่ คมขางามแฉล้มแจ่มใส

ควิ้ คางบางงอนอ่อนละไม รอยไรเรียบรับระดบั ดี

• ทาให้เห็นความเคลอ่ื นไหวของตวั ละครในเร่ือง

- แสดงอารมณ์โกรธเจบ็ แค้นของพระเวสสันดรทเี่ ห็นชูชกเฆย่ี นตลี ูก
ต่อหน้า ตรัสว่า

“...ทชีเอ่ยกมู าอย่ปู ่ าเปล่าเมอ่ื ไร ทง้ั พระขรรค์ศิลป์ ไชยกถ็ อื มา...”

แต่แล้วกท็ รงดับความโกรธลงด้วยทรงคดิ ได้

- บทดอกสร้อย ราพงึ ในป่ าช้า ของพระยาอุปกติ ศิลปสาร

วังเอ๋ยวงั เวง หง่างเหง่งยา่ คา่ ระฆงั ขาน

ฝูงววั ควายผ้ายลาทวิ ากาล ค่อยค่อยผ่านท้องทุ่งม่งุ ถนิ่ ตน

ชาวนาเหน่ือยอ่อนต่างจรกลบั

• ทาให้เห็นนิสัยใจคอ และบุคลกิ ภาพของตวั ละครในเรื่อง

- เห็นนิสัยใจคอของนางวนั ทองตอนขนุ แผนพานางลาวทองมา

ทุดอีลาวชาวป่ าข้ึนหน้าลอย แม่จะต่อยเอาเลอื ดลงล้างตีน

เจ็บใจไม่น้อยสักร้อยเท่า ดังใครเอาดาบฟาดให้ขาดว่นิ

สายทองกบั อปี ลที ้งั อีจีน ปี นเรือลงมาด้วยมาช่วยกู

เป็ นไรเป็ นนะไม่ละกนั ขุนแผนเข้ากน้ั น้องวนั ทองอยู่

4. ท่วงท่าทแ่ี สดงหรือสไตล์

• ท่วงท่าที่แสดงหรือสไตล์ ผแู้ ต่งแต่ละคนยอ่ มมีสานวนโวหารในการ
นาเสนอเร่ืองท่ีเป็นลกั ษณะของตน

• ท่วงท่าที่แสดงน้ีจะพิจารณาไดจ้ าก
- วธิ ีจดั เรียงถอ้ ยคา
- การใชภ้ าษา วรรคตอน
- การแสดงความคิดเห็นเฉพาะตวั
- วิธีการถ่ายทอดอารมณ์ของผแู้ ต่ง

4. ท่วงท่าทแี่ สดงหรือสไตล์

• พระเจ้าบรมวงศ์เธอสมเดจ็ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ทรงใช้
ประโยคยาว หนกั ในการแต่งร้อยแกว้ ร้อยกรอง

• สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรส ทรงประณีต
ในการใชถ้ อ้ ยคาและเคร่งครัดฉนั ทลกั ษณ์ มกั จะทรงแกง้ านจน
พอพระทยั

• สุนทรภู่ นิยมใชส้ มั ผสั มาก ชอบพรรณนาธรรมชาติและสตั ว์
ชอบพดู ถึงประวตั ิสถานที่ต่างๆ

4. ท่วงท่าทแี่ สดงหรือสไตล์

• สไตล์การแต่งช่วยให้ผู้อ่านได้ทราบบุคลกิ ภาพของผู้แต่ง เมื่อเราอ่าน

งานเขียนของนกั เขียนคนหน่ึงๆ หลายๆ เร่ืองจะทาใหท้ ราบวา่

นกั เขียนคนน้นั ชอบไม่ชอบอะไร เช่น

• สุนทรภู่ มกั จะอธิษฐานซ้าๆวา่ ไม่ชอบหญิงข้ีหึง ดุร้าย

แม้นกลบั ชาติมาเกดิ ใหม่เป็ นกายคน ช่ือว่าจนแล้วจงจากกาจดั ไกล

สตรีหึงหน่ึงแพศยาหญงิ ทัง้ สองส่ิงอย่าได้ชิดพสิ มัย

5. เทคนิคหรือกลวธิ ีในการแต่ง

• เทคนิคหรือกลวธิ ีในการแต่ง คือ ความรู้และฝี มอื ในการแต่ง
• หากผแู้ ต่งขาดกลวธิ ี หรืออุบายที่จะนาเสนอแลว้ เร่ืองท่ีแต่งน้นั กอ็ าจ

ไม่ดีเด่น
• ผแู้ ต่งอาจใชก้ ลวิธีต่าง ๆ กนั

- บางเร่ืองใหต้ วั ละครตวั ใดตวั หน่ึงเป็นผเู้ ล่าเร่ืองเองท้งั หมด
- บางเร่ืองใชว้ ธิ ีเล่าในรูปของจดหมายโตต้ อบ
- การเปิ ดเรื่องปิ ดเรื่องท่ีประทบั ใจ เช่น ทิ้งประเดน็ ใหผ้ อู้ ่านคิดเอง

5. เทคนิคหรือกลวธิ ีในการแต่ง

- การใชส้ ญั ลกั ษณ์หรือส่ิงแทน เช่น
มนี างเอกเป็ นคนชนบทเข้ามาเมอื งหลวง มีอาชีพเยบ็ เสื้อ ต่อมา

มนี ายทหารมาตดิ พนั และได้พากนั ไปเทีย่ วสวนสาธารณะแห่งหน่ึง
นางเอกทดั ดอกไม้สีขาวทผี่ ม แล้วเทย่ี วไปในสวนด้วยความรื่นเริง
แสดงความรักกนั ท่ชี ายนา้ ผู้ชายปลดดอกไม้สีขาวออกจาผมผู้หญงิ
แล้วปล่อยลอยนา้ ไป

ดอกไมส้ ีขาวท่ีลอยไปน้นั หมายถึง ความบริสุทธ์ิของสตรี

6. องค์ประกอบ

• เรื่องแต่งท่ีดีจะตอ้ งมีองคป์ ระกอบท่ีเหมาะสม คือ
- มีตวั เน้ือหาหลกั
- พลความ หรือส่วนขยาย

• ถา้ หากเรื่องใดมีแต่เน้ือหาอยา่ งเดียว ไม่มีพลความมาช่วยเสริมอยา่ ง
เหมาะสมกจ็ ะทาใหเ้ รื่องน้นั ไม่น่าอ่านน่าฟัง

ประเภทของวรรณคดี

• ประเภทของวรรณคดี
วรรณคดีแบ่งไดห้ ลายประเภท ข้ึนอยกู่ บั วา่ จะยดึ อะไรเป็นหลกั
- แบ่งตามจุดมุ่งหมายของการเขยี น
- แบ่งตามประโยชน์ทีไ่ ด้จากเนือ้ หา
- แบ่งตามหลกั ฐานทป่ี รากฏ
- แบ่งตามเนือ้ หา
- แบ่งตามรูปแบบคาประพนั ธ์
- แบ่งตามสมยั

ประเภทของวรรณคดี

• แบ่งตามจุดมุ่งหมายของการเขยี น
1. สารคดี เขียนเพอื่ ใหค้ วามรู้เป็นหลกั (Non-fiction) เช่น พระราช

พิธีสิบสองเดือน
2. บนั เทิงคดี เขียนเพอ่ื ใหค้ วามเพลิดเพลินเป็นหลกั (Fiction) เช่น

ขนุ ชา้ งขนุ แผน อิเหนา พระอภยั มณี

ประเภทของวรรณคดี

• แบ่งตามประโยชน์ท่ีได้จากเนือ้ หา

1. วรรณคดบี ริสุทธ์ิ เป็นวรรณคดีที่เขียนข้ึน โดยมีเจตนาเพอ่ื ความ
เพลดิ เพลนิ หรือเพอื่ สนองอารมณ์โดยเฉพาะ ไม่มุ่งประโยชน์อยา่ งอ่ืน
วรรณคดีบริสุทธ์ิจึงมุ่งการปรุงแต่งถอ้ ยคาเป็นพิเศษ เพ่อื ใหก้ ระทบใจคนอ่าน

2. วรรณคดีประยุกต์ เป็นวรรณคดีท่ีแต่งข้ึนเพือ่ ประโยชนอ์ ยา่ งใดอยา่ ง
หน่ึง ไม่ได้มุ่งด้านความบนั เทงิ เช่น

- เพ่ือสงั่ สอนอบรม - เพือ่ สดุดีวรี กรรม

- เพือ่ แสดงหลกั การปฏิบตั ิดา้ นขนบธรรมเนียมประเพณี

- เพอื่ บนั ทึกเรื่องราวทางประวตั ิศาสตร์

• ตวั อย่างวรรณคดปี ระยกุ ต์ เช่นคาสอนในโคลงโลกนิติ บทท่ี 37 ว่า

หา้ มเพลิงไวอ้ ยา่ ให้ มีควนั

หา้ มสุริยะแสงจนั ทร์ ส่องไซร้

หา้ มอายใุ หห้ นั คืนเล่า

หา้ มดงั่ น้ีไวไ้ ด้ จ่ึงหา้ มนินทา

ประเภทของวรรณคดี

• แบ่งตามหลกั ฐานทป่ี รากฏ คือ วรรณกรรมมุขปาฐะ และวรรณกรรม
ลายลกั ษณ์
1. วรรณกรรมมุขปาฐะ เป็นวรรณกรรมที่จดจาและเล่าสืบต่อกนั

มาปากต่อปาก ไม่มีหลกั ฐานปรากฏเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร
2. วรรณกรรมลายลกั ษณ์ เป็นวรรณกรรมที่ปรากฏในลายลกั ษณ์

อกั ษร อาจจะจารึกลงแผน่ ศิลา สมุดข่อย ใบลาน หรือ กระดาษพมิ พ์
อยา่ งปัจจุบนั น้ี

ประเภทของวรรณคดี

• แบ่งตามเนือ้ หา
1. วรรณคดีเกี่ยวกบั ประวตั ิศาสตร์ หรือวรรณคดีเฉลิมพระเกียรติ เช่น

ลิลิตตะเลงพา่ ย ลิลิตยวนพา่ ย
2. วรรณคดีเก่ียวกบั พิธีกรรมและขนบประเพณี เช่น พระราชพิธีสิบสอง

เดือน นางนพมาศ
3. วรรณคดีเก่ียวกบั ศาสนาหรือศีลธรรม เช่น มหาชาติ ไตรภมู ิพระร่วง
4. วรรณคดีนิราศ
5. วรรณคดีการละครหรือนาฏวรรณคดี เช่น รามเกียรต์ิ เงาะป่ า อิเหนา

ประเภทของวรรณคดี

• แบ่งตามรูปแบบคาประพนั ธ์
1. ร้อยแกว้
2. ร้อยกรอง ไดแ้ ก่
โคลง: โคลงสุภาพ โคลงด้นั โคลงโบราณ
ร่าย: ร่ายสุภาพ ร่ายด้นั ร่ายโบราณ ร่ายยาว
กลอน: กลอนสุภาพ กลอนตลาด
กาพย:์ กาพยย์ านี กาพยฉ์ บงั กาพยส์ ุรางคนางค์

ฉนั ท:์ อินทรวเิ ชียรฉนั ท์ (11) วสนั ตดิลกฉนั ท์ (14) มาลินีฉนั ท์
(15) สทั ทุลวกิ กีฬิตฉนั ท์ (19) สทั ธราฉนั ท์ (21)

ลิลิต: ร่าย+โคลง

กาพยห์ ่อโคลง: กาพย์ 1 โคลง 1

กาพยเ์ ห่เรือ: โคลง+กาพย์

คาฉนั ท:์ กาพย+์ ฉนั ท์

ประเภทของวรรณคดี

- แบ่งตามสมยั 4. สมยั กรุงรัตนโกสินทร์
4.1 ตอนต้น ร.1-ร.3
1. สมยั สุโขทยั 4.2 ช่วงกลาง ร.4 –พ.ศ. 2475
2. สมยั กรุงศรีอยธุ ยา 4.3 พ.ศ. 2475– ปัจจุบนั

2.1 ตอนต้น
2.2 ตอนกลาง
2.3 ตอนปลาย
3. สมัยกรุงธนบุรี

ลกั ษณะทวั่ ไปของวรรณคดไี ทย

1. ผู้แต่งเป็ นบุคคลช้ันสูง เช่น กษตั ริย์ ขนุ นาง แต่งเพื่อความพอใจ
มากกวา่ เล้ียงชีพ

2. เนือ้ เรื่องเน้นบุญญาธิการ ตวั ละครจึงมกั เป็นบุคคลช้นั สูง
3. เน้นอรรถรสทางภาษา นิยมร้อยกรองมากกวา่
4. ท่วงทานองการแต่งตรงไปตรงมา ไม่แสดงปรัชญาท่ีลึกล้า
5. แสดงออกถึงความเป็ นคนไทย รักสนุก เจา้ บทเจา้ กลอน มีชีวิต
ท่ีเรียบง่าย อยกู่ บั ธรรมชาติ มีศรัทธาอยใู่ นศาสนา ยกยอ่ งสถาบนั
พระมหากษตั ริย์

ปัจจัยทมี่ อี ทิ ธิพลต่อการสร้างวรรณคดไี ทย

1. สังคมและวฒั นธรรม เพราะ กวอี ยใู่ นสงั คมและวฒั นธรรมน้นั ๆ
2. วรรณกรรมพนื้ บ้าน เพราะ เป็นที่ถูกอกถูกใจของกวี จึงนามาดดั แปลง
3. วรรณกรรมตะวนั ออก

- อินเดีย เช่น รามายณะ มหาภารตะ
- เปอร์เซีย เช่น นิทาน 12 เหลี่ยม อาหรับราตรี พนั หน่ึงทิวา
- จีน เช่น สามก๊ก ไซ่ฮนั่
- ชวา เช่น อิเหนา
- มอญ เช่น ราชาธิราช

ปัจจยั ทม่ี อี ทิ ธิพลต่อการสร้างวรรณคดไี ทย

4. วรรณกรรมตะวนั ตก
เริ่มมีในสมยั รัชกาลที่ 3 ส่งอิทธิพลมากในเร่ืองรูปแบบและแนวคิด
- นวนิยายแปลเรื่องแรกของไทย เรื่อง ความพยาบาท (แม่วนั )
- นิยายไทยแท้ เรื่อง ความไม่พยาบาท (ครูเหล่ียม)

5. ผู้สร้างวรรณคดี (ความชอบของตวั กวี)

บทบาทของวรรณคดไี ทย

1. เป็ นเครื่องบนั เทิงใจ
2. ประกอบการแสดง เช่น การเล่นหนงั ใหญ่
3. ส่ังสอน เช่น สุภาษิตพระร่วง, โคลงโลกนิติ
4. ส่งสาร มีลกั ษณะเช่นเดียวกบั วรรณคดีประยกุ ต์ แฝงสาระใหค้ ิด
หรือ กล่าวถึงความเป็นไปของบา้ นเมือง
5. เป็ นส่วนหนึ่งของพธิ ีการ เช่น ดุษฎีสงั เวยกล่อมชา้ ง, ลิลิต
โองการแช่งน้า

คุณค่าของวรรณคดไี ทย

1. สะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงความเป็นไปของบา้ นเมืองในขณะน้นั
2. คุณคา่ ทางจิตใจ ทางพระพทุ ธศาสนา
3. ศิลปะการประพนั ธ์
4. การสะทอ้ นศิลปะแขนงอื่น เช่น สถาปัตยกรรม
5. ขนบธรรมเนียมประเพณี

องค์ประกอบของวรรณกรรม

1. รูปแบบ
2. เนือ้ หา

2.1 ตัวละคร
2.2 ฉาก
3. ภาษา

1. รูปแบบ

รูปแบบ รูปแบบของงานประพนั ธ์มีมาก หากจะจดั หมวดหมู่กวา้ งๆ
อาจจะแยกเป็ น

1) ร้อยแก้ว (Prose) เช่น นิทาน เรื่องส้นั นวนิยาย จดหมาย บนั ทึก
บทวจิ ารณ์

2) ร้อยกรอง (Verse) ไดแ้ ก่ โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน ร่าย ลิลิต
รูปแบบงานประพนั ธ์ที่กล่าวมาน้ีเป็นรูปแบบท่ีนกั ประพนั ธ์เคยใช้
มาแต่อดีตถึงปัจจุบนั

2. เนือ้ หา

เน้ือหาของวรรณคดีไทยมีหลายประเภท เช่น
- เน้ือหาเกี่ยวกบั ศาสนา, ศีลธรรม, การสง่ั สอนหรือสุภาษิต
- เน้ือหาเก่ียวกบั สดุดีหรือเฉลิมพระเกียรติ,
- เน้ือหาเก่ียวกบั ขนบประเพณี, พิธีกรรม, ความเช่ือ
- วรรณคดีบางเรื่องเก่ียวขอ้ งกบั อารมณ์ความรู้สึก และ

ธรรมชาติ

เนือ้ หาของวรรณคดเี ร่ืองหน่ึงอาจมีเนือ้ หาหลายอย่างประสมกนั
กไ็ ด้ เช่น ลลิ ติ ตะเลงพ่าย แมเ้ น้ือหาจะมุ่งเทิดพระเกียรติวรี กษตั ริย์
ไทย แต่ความบางตอนแสดงถึงอารมณ์ความรู้สึกในเชิงนิราศอยา่ ง

เห็นไดช้ ดั

• ตัวอย่างบทราพงึ ราพนั ในลลิ ติ ตะเลงพ่าย

สลดั ไดใดสลดั นอ้ ง แหนงนอน ไพรฤๅ
เพราะเพ่อื มาราญรอน เศิกไสร้
สละสละสมร เสมอช่ือ ไมน้ า
นึกระกานามไม้ แม่นแมน้ ทรวงเรียม

2. เนือ้ หา

• เนือ้ หาบางเร่ืองมีการรับเอาเร่ืองต่างประเทศเข้ามาเพยี งบางส่วน
แลว้ แต่งเติมเสริมต่อใหม้ ีเน้ือหาแบบไทย ๆ เช่น
รามเกยี รต์ิ อเิ หนา

• เนือ้ หาบางเร่ืองรับมาท้งั หมด แลว้ ใชว้ ิธีการแปลความ ดงั เช่น
บทละครท่ี ร.6 ทรงแปล อาทิ โรมิโอจูเลยี ต

2. เนือ้ หา

• เนือ้ หาบางเร่ืองผู้แต่งอาจได้ข้อมูลจากประสบการณ์ตรงของ
ผู้เขยี น

• เนือ้ หาบางเร่ืองได้จากจนิ ตนาการ
อยา่ งไรกต็ าม ในส่วนของเน้ือหาน้ีอาจรวมความถึงตวั ละครท่มี ี

บทบาทในเร่ือง และฉาก อนั เป็นองคป์ ระกอบท่ีทาใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจ
เน้ือหาไดม้ ากยงิ่ ข้ึน

2.1 ตวั ละคร

• ตวั ละคร (Character) ตวั ละครในวรรณคดีและวรรณกรรมอาจเป็น
- บุคคลทม่ี ีอยู่จริง เช่น สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ในเร่ือง

ลิลิตตะเลงพา่ ย
- บุคคลสมมุติ เช่น คุณเปรม หรือ แม่พลอย ในเร่ืองสี่แผน่ ดิน
- อาจเป็ นสัตว์ เช่น เต่า กระต่าย นกกระสา ในนิทานอีสป
- อาจเป็ นส่ิงทีไ่ ม่มชี ีวติ เช่น ตูไ้ ปรษณีย์

2.1 ตวั ละคร

• ในวรรณคดไี ทยโบราณ พบว่ามตี วั ละครที่ถูกสร้างขนึ้ มาและจัดอยู่ใน
กล่มุ อมนุษย์ เช่น อสูร ยกั ษ์ มาร ดงั ท่ี เก้ือพนั ธ์ นาคบุปผา (2540 :
223) กล่าวไวว้ า่
“วรรณคดไี ทยมกั กล่าวถึงอสูร ยกั ษ์ มาร กมุ ภณั ฑ์ และผเี สื้อ

อยู่เกอื บจะทุกเรื่อง และคนไทยกร็ ู้จกั กนั ดี แม้จะไม่เคยเห็นตวั จริงก็
นึกภาพออกว่า ต้องมรี ูปกายกายาใหญ่โต หน้าตาน่าเกลยี ดน่ากลวั ผม
หยกิ เขยี้ วงอกมานอกปาก ชอบกนิ คน ดุร้ายใจดาอามหิต...เป็ นศัตรูร้าย
ของเทวดาและมนุษย์ และในทุกเรื่องมกั จะเป็ นตวั โกงเสมอ”


Click to View FlipBook Version