วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 วัฏจักร
ชีวิตของยุง
โดย ครูประทุมพร ฟักสงสกุล
วัฏจักรชีวิตของยุง
ลักษณะที่เห็นชัดคือ ลำตัวและขามีจุด
ลายดำสลับขาว ยุงลายไม่ชอบแสงแดด
และลมแรง
วัฏจักรชีวิตของยุง
ออกหากินไม่ไกลจากแหล่งเพาะพันธุ์ มัก
บินไปได้ไกลครั้งละประมาณ 50 เมตร ยุง
ลายตัวเมียชอบกินเลือดคนมากกว่าเลือด
สัตว์ ยุงลายตัวผู้กินพวกเกสรดอกไม้ยุง
ลายออกหากินเลือดในเวลากลางวัน
วัฏจักรชีวิตของยุง
ถ้ากินไม่อิ่มก็อาจหากินในเวลา
พลบค่ำด้วย ยุงลายเริ่มดูดกินเลือด
ครั้งแรกเมื่อออกจากดักแด้
ประมาณ36 ชั่วโมง ยุงลายตัวเมียต้อง
กิน เลือดเพื่อไปพัฒนาไข่ให้เจริญ
วัฏจักรชีวิตของยุง
ต่อมาจึงเริ่มผสมพันธ์และวางไข่ครั้งแรกหลัง
จากกลายเป็นตัวยุงแล้ว 96 ชั่วโมง ยุงลายมัก
วางไข่ก่อนพระอาทิตย์ตก สภาพน้ำที่ชอบเป็นน้ำ
นิ่ งค่อนข้างใส อาจจะสะอาดหรือไม่สะอาดก็ได้
มักว่างไข่เหนือระดับน้ำเล็กน้อย ไข่ฟองเดี่ยวๆ
อยู่เป็นกลุ่ม ตัวเมียว่างไข่ครั้งละประมาณ 100
ฟอง
วัฏจักรชีวิตของยุง
ไข่สามารถอยู่ในสภาพแห้งได้เป็น
เวลาหลายเดือนตลอดชีวิตยุงลาย
วางไข่ได้ได้ประมาณ 2-4 ครั้ง ยุงตัว
เมียผสมพันธุ์เพียงครั้งเดียวและ
สามารถว่างไข่ได้ตลอดชีวิตโดยทั่วไป
ยุงตัวผู้อายุ 6-7 วัน ยุงตัวเมียอายุ 30-
40 วัน
วงจรชีวิตของยุง มี 4 ระยะ
คือ ไข่ ลูกน้ำ ตัวโม่ง และตัว
เต็มวัย
ระยะไข่
ยุงลายจะว่างไข่อยู่เหนือระดับน้ำเล็ก
น้อย ไข่มีลักษณะรีคล้ายกระสวย เมื่อ
ออกมาใหม่ๆมีสีขาวนวลต่อมาเป็นสี
น้ำตาล และดำจะฟักเป็นตัวลูกน้ำภายใน
1-2 วัน
ระยะไข่
ระยะลูกน้ำ
ลักษณะลูกน้ำยุงลายที่แตกต่างจากยุงรำคาญคือ ท่อ
หายใจยุงลายจะสั้นและอ้วนป้อม ส่วนอกมีกว่าส่วนหัว มีลำ
ตัวยาวเรียว ลำตัวเกือบอยู่ในแนวตั้งฉากกับผิวน้ำ ไม่ชอบ
แสงสว่างมักไวต่อแสงไฟและการสั่นสะเทือน เคลื่อนไหว
อย่างว่องไว คล้ายงูเลื้อย ลูกน้ำจะกินอินทรีย์สารและอาหา
รอื่นๆระยะลูกน้ำใช้เวลาประมาณ 6-8 วัน
ระยะลูกน้ำ
ระยะตัวโมง
มีลักษณะรู ปร่างที่เด่นชัดคือหัวโตตามปกติจะ
ลอยตัวนิ่ งๆ ที่ผิวน้ำ แต่ถ้าถูกรบกวนจะเคลื่อนที่
ได้อย่างว่องไว ระยะตัวโม่งนี้ จะหยุดกินอาหาร
และเป็นระยะสุดท้ายที่ใช้ชีวิตอยู่ในน้ำ
ระยะนี้ ใช้เวลาประมาณ 1-2 วัน เพื่อ
ให้ตัวอ่อนที่อยู่ภายในเจริญเติบโตเต็ม
ที่ก่อนที่จะลอกคราบออกมาเป็นตัวยุง
ตัวเต็มวัย
ระยะตัวโม่ง
ระยะตัวเต็มวัย
เมื่อตัวโม่งเจริญเต็มที่จะลอยนิ่ งๆ อยู่กับที่ จาก
นั้ นเปลือกหุ้มบริเวณส่วนหัวของตัวโม่งเริ่มปริ
ออก ตัวยุงที่อยู่ภายในจะค่อยๆ ดันออกมา ขณะ
ที่ตัวยุงโผล่พ้นเปลือกตัวโม่งเกือบหมดเหลือ
เฉพาะส่ วนขาก็จะเริ่มคลี่ปีกออก
เมื่อปลายขาหลุดออกมาหมดแล้วก็จะเกาะอยู่บน
ผิวน้ำหรือบริเวณใกล้เคียงประมาณ 2-3 ชั่วโมง
เพื่อให้ปีกแข็งแรงพอที่จะบินได้ ตามปกติแล้วยุง
ตัวผู้ออกมาก่อนยุงตัวเมียและอาศัยบริเวณแหล่ง
เพาะพันธุ์ตลอดชีวิต กินอาหารพวกน้ำหวานจาก
พืชโดยไม่กินเลือด
ยุงตัวผู้มีอายุสั้นกว่าตัวเมีย ส่วนยุงตัวเมีย
เมื่อออกมาจากตัวโม่งจะกินอาหารพวกน้ำ
หวานจากพืชก่อน เพื่อให้มีพลังงาน จาก
นั้ นก็ผสมพันธุ์โดยยุงตัวเมียผสมพันธุ์ครั้ง
เดียวเท่านั้ นในชีวิตก็สามารถออกไข่ได้ตลอดไป
แบบทดสอบหลัง
เรียน Post-Test
1.ข้อใดกล่าวถุกต้อง
ก.ยุงตัวผู้มีอายุสั้ นกว่าตัวเมีย
ข.ยุงตัวผู้กินพวกเกสรดอกไม้
ค.ถูกทุกข้อ
แบบทดสอบหลังเรียน
Post-Test
2.ยุงบินไปได้ไกลครั้งละประมาณ กี่เมตร
ก.50 เมตร
ข.100 เมตร
ค.500 เมตร
แบบทดสอบหลังเรียน
Post-Test
3.ข้อใดเรียงลำดับวงจรชีวิตของยุงได้ถูกต้อง
ก.ไข่ ลูกน้ำ ดักแด้ ตัวโม่ง
ข.ไข่ ลูกน้ำ ตัวโม่ง ตัวเต็มวัย
ง.ไข่ ตัวโม่ง ลูกน้ำ ตัวเต็มวัย
แบบทดสอบหลังเรียน
Post-Test
4.ระยะใดของวัฏจักรชีวิตยุงมีเวลาอยู่ในน้ำนาน
ที่สุด
ก.ระยะไข่
ข.ระยะลูกน้ำ
ค.ระยะตัวโม่ง
แบบทดสอบหลังเรียน
Post-Test
5.ยุงจะวางไข่ในสภาพใด
ก.แหล่งน้ำไหล
ข.ถาชนะที่ปิดฝาสนิ ท
ค.น้ำนิ่ งค่อนข้างใส