The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by gphong17, 2019-06-12 04:46:39

ระบบข้าราชการพลเรือนไทย

โดย พงศกร ทดสอบ

1

เนื้อหา

บทที่ 1 ความเป็นมา................................................................................................................................... 2
บทที่ 2 เม่ือกรมพระยาดารงราชานภุ าพทรงเรียบเรียงระเบยี บข้าราชการพลเรือน.................................................... 3

2.2 คณะกรรมการชดุ นีไ้ ด้พจิ ารณา ....................................................................................................... 4
2.3คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ..................................................................................................... 5
บทท่ี 3 ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรี ............................................................................................................... 6
บทที่ 4 การแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย ................................................................................................................ 7

4.1 วา่ ด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน ................................................................................................. 7

2

บทที่ 1 ความเปน็ มา

ประวตั ิ ก.พ.

ระบบข้าราชการพลเรอื นไทย ในปัจจุบันวัฒนาการมาจากระบบข้าราชการในสมัยสมบรู ณาญาสิทธิราชย์ซ่ึง
กอ่ น พ.ศ.2472 ยงั ไม่มีการกาหนดคุณสมบตั ิของบุคคลท่จี ะเข้ารับราชการ และไม่มรี ะเบยี บขา้ ราชการพล
เรอื นสว่ นกลางให้อยู่ในมาตรฐานเดยี วกันจนกระทงั่ สมเด็จพระเจา้ พ่ยี าเธอเจา้ ฟ้ากรมพระนครสวรรคว์ รพินิ
ตรบั สั่งในที่ประชุมอภริ ฐั มนตรีสภา เม่ือวันท่ี 5 ธันวาคม พ.ศ.2468 ในรัชสมัยของพระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้า
เจ้าอยู่หัวว่าทรงเหน็ ควรมกี รรมการสอบคัดเลอื กคนเข้ารับราชการ และทรงโปรดเกล้าฯ ให้กรมพระดารงรา
ชานุภาพคิดวางระเบียบในเรื่องนี้

3

บทที่ 2 เมอื่ กรมพระยาดารงราชานุภาพทรงเรียบเรียงระเบยี บข้าราชการพลเรือน

2.1 เมอ่ื กรมพระยาดารงราชานุภาพทรงเรียบเรียงระเบียบขา้ ราชการพลเรอื นข้ึนทลู เกลา้ ฯ ถวาย ก็เป็นเวลา
ใกล้เคียงกันกับท่ี สมเด็จพระเจ้าพ่ยี าเธอเจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพนิ ิต ทูลเกลา้ ฯ ถวายรา่ ง
พระราชบัญญัติ ว่าดว้ ยการลงโทษขา้ ราชการพลเรือน ซ่ึงนายอาร์.กี ยอง ทป่ี รึกษารา่ งกฎหมายชาว
ตา่ งประเทศ เป็นผรู้ า่ งถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั จงึ โปรดเกล้าฯ ให้สง่ ร่างกฎหมายให้
อภริ ัฐมนตรี และเสนาบดีต่างๆ พิจารณาให้ความเห็นหลังจากอภริ ัฐมนตรี และเสนาบดตี า่ งๆ ทูลเกลา้ ฯ ถวาย
ความเห็นพรอ้ มท้งั มคี าวจิ ารณ์ของท่ีปรึกษาชาวต่างประเทศ แลว้ จึงทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ต้ัง
คณะกรรมการพิจารณาระเบียบขา้ ราชการพลเรอื นขนึ้ โดยมพี ระเจา้ พยี่ าเธอกรมพระจันทบรุ นี ฤนาถ เป็น
นายกกรรมการ พระวรวงศเ์ ธอพระองคเ์ จ้าศภุ โยคเกษม พระวรวงศเ์ ธอพระองคเ์ จ้าธานีวัต เจา้ พระยาพิชัย
ญาติ และพระยาสารศาสตร์ศริ ลิ ักษณ์ เปน็ กรรมการ และนายประดิษฐสขุ มุ ทาหนา้ ท่เี ป็นเลขานุการ

4

2.2 คณะกรรมการชุดน้ีได้พจิ ารณาปรับปรุงร่างระเบียบข้าราชการพลเรอื นนนั้ แลว้ นา ทูลเกล้าฯ ถวาย

หลงั จากได้มีการประชุมปรกึ ษาเร่อื งนี้ในเสนาบดีสภาแล้ว พร้อมกนั น้ันกไ็ ดท้ รงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตัง้
กรรมการกลางสาหรบั รกั ษาระเบยี บขา้ ราชการพลเรือนขน้ึ เม่อื วนั ที่ 21 พฤศจกิ ายน พ.ศ.2470 เพ่อื
ดาเนนิ การรกั ษาพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บข้าราชการพลเรอื น จดั การสอบเพ่อื เลอื กสรรผู้สมคั รเข้ารบั ราชการ
พลเรือน และจดั การศึกษาของนกั เรยี นหลวงฝา่ ยพลเรือนทสี่ ง่ ไปศึกษาวชิ า ณ ต่างประเทศ

5

2.3คณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น หรือก.พ. ตามรปู ใหมน่ ป้ี ระกอบดว้ ยนายกรฐั มนตรี เป็นประธาน

กับกรรมการผู้ทรงคุณวุฒไิ มน่ อ้ ยกวา่ 5 ราย แต่ไมเ่ กนิ 7 ราย ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ แตง่ ต้ังขึน้ ด้วย
ความเห็นชอบจากสภาผู้แทนราษฎร กบั ใหร้ ัฐมนตรวี า่ การแห่งกระทรวงที่มเี ร่อื งเขา้ สทู่ ี่ประชมุ พจิ ารณาของ
ก.พ. มาน่งั ประชมุ เป็นกรรมการดว้ ย ต้ังแตเ่ ร่มิ ใช้พระราชบญั ญตั ิ ระเบียบข้าราชการพลเรอื น พ.ศ. 2476 เป็น
ต้นมา ก.พ. ประกอบดว้ ยนายกรัฐมนตรเี ปน็ ประธานกับกรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิ ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ
แต่งต้งั

6

บทท่ี 3 ประกอบดว้ ยนายกรัฐมนตรี เปน็ ประธานกับกรรมการผูท้ รงคณุ วุฒไิ มน่ อ้ ยกว่า 5 ราย แตไ่ ม่เกนิ

7 ราย ซึ่งทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ แตง่ ตง้ั ข้ึนดว้ ยความเหน็ ชอบจากสภาผแู้ ทนราษฎร กับใหร้ ัฐมนตรีวา่ การ
แหง่ กระทรวงท่ีมเี ร่ืองเข้าสู่ท่ีประชมุ พจิ ารณาของก.พ. มานั่งประชุมเปน็ กรรมการด้วย ต้ังแตเ่ ร่มิ ใช้
พระราชบญั ญตั ิ ระเบียบข้าราชการพลเรอื น พ.ศ. 2476 เป็นต้นมา ก.พ. ประกอบดว้ ยนายกรฐั มนตรีเปน็
ประธานกบั กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิ ซงึ่ ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ แต่งต้งั

7

บทที่ 4 การแกไ้ ขปรับปรุงกฎหมาย
1.4 วา่ ดว้ ยระเบยี บข้าราชการพลเรอื น โดยตราเปน็ พระราชบญั ญัตริ ะเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.

2518 และเปลี่ยน องค์ประกอบของ ก.พ. ใหม่ โดยมไิ ดก้ าหนดใหร้ องนายกรัฐมนตรเี ป็นรองประธาน ก.พ.
โดยตาแหนง่ ท้งั นโ้ี ดยมีเหตุผลวา่ รฐั ธรรมนูญ แห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2517 มีหลักการให้แยกข้าราชการ
การเมอื ง ออกจากข้าราชการประจา ดังนั้น ก.พ. ซึง่ เปน็ องค์กรกลางบรหิ ารงานบคุ คล สาหรบั ข้าราชการ
ประจา จงึ ไม่ควรประกอบดว้ ยขา้ ราชการ การเมอื ง จะมีข้อยกเว้นกเ็ พยี งแตน่ ายกรัฐมนตรีเท่านน้ั ท้ังนีเ้ พ่ือ
เป็นตวั เช่อื มระหวา่ งฝ่ายกาหนดนโยบาย (คณะรฐั มนตรี) และฝา่ ยทร่ี บั นโยบายไปปฏิบัติ

8

อย่างไรก็ดี พระราชบญั ญัตริ ะเบยี บข้าราชการพลเรอื น พ.ศ. 2518 คงแบง่ ขา้ ราชการพลเรือนออกเปน็ 2
ประเภท คอื กรรมการโดยตาแหนง่ ซ่ึงไดแ้ ก่นายกรัฐมนตรี ซึ่งเปน็ ประธาน ก.พ. และเลขาธิการ ก.พ. กบั อีก
สว่ นหนึ่งคือกรรมการผูท้ รงคณุ วฒุ ิซึ่งทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ แตง่ ตงั้

สาหรบั กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒนิ ้นั คงมีจานวนไม่นอ้ ยกว่า 5 ราย แตไ่ มเ่ กิน 7 รายเชน่ เดมิ พระราชบัญญัตฉิ บับ
นเ้ี พียงแต่เปลย่ี นแปลงเปน็ ให้แตง่ ตง้ั จากผทู้ รงคณุ วุฒใิ นหลกั ราชการ ซ่ึงรบั ราชการ หรอื เคยรบั ราชการใน
ตาแหน่งไม่ต่ากวา่ รองอธบิ ดี (แตเ่ ดมิ กาหนดให้เป็นตาแหนง่ อธิบดี หรือเทยี บเท่า) ทงั้ น้ี เพื่อใหม้ ีการ คัดเลือก
กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิได้อย่างกว้างขวางยง่ิ ข้นึ

ตอ่ มาได้มปี ระกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ลงวันท่ี 8 พฤศจิกายน 2520 เปล่ยี นแปลงองคป์ ระกอบของ
ก.พ. เป็นให้มกี รรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิจานวนไมน่ ้อยกวา่ 7 ราย แตไ่ มเ่ กนิ 9 ราย และเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติ
ของกรรมการเป็นให้ แต่งต้ังกรรมการผทู้ รงคุณวุฒิ จากผู้ซง่ึ รบั ราชการหรือเคยรบั ราชการในตาแหน่งไมต่ า่ กว่า
อธบิ ดหี รือตาแหนง่ ทเ่ี ทียบเท่า


Click to View FlipBook Version