คำนำ
แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) โรงเรียนวัดม่วงหวาน(ส่วน กระบวนยุทธ ประชาสรรค์) จัดทาข้ึน
สังกัด ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานสาหรับเตรียมความพร้อมก่อนเปิด ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔
เพ่ือสร้างความม่ันใจให้แก่นักเรียน ผู้ปกครอง และประชาชนท่ัวไปว่า โรงเรียนวัดม่วงหวาน(ส่วน กระบวนยุทธ
ประชาสรรค์) พ้ืนฐานมีแนวทางการสร้างความปลอดภัยให้กับนักเรียนก่อนการเปิดภาคเรียนที่ ๒
ปีการศึกษา ๒๕๖๔ และระหว่างท่ีจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา ซ่ึงสอดคล้องกับมาตรการท่ีกระทรวง
สาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการกาหนด โรงเรียนวัดม่วงหวาน(ส่วน กระบวนยุทธ ประชาสรรค์)
หวังเป็นอย่างยิ่งว่า แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียน ที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การ
แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) เล่มน้ีจะช่วยอานวยความสะดวกให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน
ในโรงเรยี นวัดมว่ งหวาน (ส่วน กระบวนยุทธ ประชาสรรค)์ ไดเ้ ป็นอย่างดี ขอบคุณคณะทางาน ทกุ ท่านทไี่ ด้รว่ มกัน
จดั ทาจนสาเรจ็ บรรลตุ ามวัตถุประสงค์
โรงเรยี นวดั มว่ งหวาน (สว่ น กระบวนยทุ ธ ประชาสรรค์)
สำรบญั
หนา้
คำนำ
สำรบญั
สว่ นท่ี 1 ควำมร้เู บอื้ งตน้ ทคี่ วรรู้ วัคซนี
โรงเรียน Sandbox : Safety Zone in School............................................................................................. 1
สว่ นที่ 2 แนวปฏบิ ัตกิ ำรเตรียมกำรก่อนเปิดภำคเรยี น
ผลการประเมนิ ภายใตก้ รอบการประเมนิ Thai Stop Covid Plus ................................................................ 3
ส่วนท่ี 3 มำตรกำร Sandbox : Safety Zone in School ไป -กลับ
มาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ไป -กลบั ............................................................................ 6
ส่วนท่ี 4 แนวปฏบิ ตั ริ ะหว่ำงเปดิ ภำคเรยี น
กรณีเปดิ เรยี นไดต้ ามปกติ (Onsite).................................................................................................................. 8
กรณีโรงเรยี นไมส่ ามารถเปดิ เรยี นได้ตามปกติ ………………………….........................……............……………………. 11
สว่ นที่ 5 แนวทำงกำรจัดกำรเรียนกำรสอนในสถำนกำรณก์ ำรแพรร่ ะบำดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนำ ๒๐๑๙ (Covid-19)
แนวทางการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)..................13
แบบการสลับชน้ั มาเรียนของนกั เรียน................................................................................................................14
รปู แบบการเรยี นการสอนทางไกล.....................................................................................................................14
ส่วนที่ 6 แผนกำรเผชญิ เหตุ 38
แผนการเผชญิ เหตุ.............................................................................................................................................16
ส่วนที่ 7 บทบำทของบคุ ลำกรและหน่วยงำนทเ่ี กี่ยวข้อง
บทบาทของนกั เรยี น........................................................................................................................................ 18
บทบาทของครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา...................................................................................................... 19
บทบาทของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา..................................................................................................................... 20
บทบาทของผปู้ กครองนกั เรยี น........................................................................................................................ 22
บทบาทขององค์กรสนบั สนุน.............................................................................................................................23
สว่ นที่ 8 กำรติดตำมและประเมนิ ผล
ระดบั สถานศกึ ษา ..............................................………………………………………………………………………………… 25
ระดบั เขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา..................................................................................................................................25
ระดบั สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน........................................................................................26
ขอ้ เสนอแนะ................................................................................................................................................... 26
ภาคผนวก เอกสารอ้างอิง............................................................................................................................... 27
1
สว่ นท่ี ๑
ความรเู้ บอ้ื งตน้ ทค่ี วรรู้
การเปิดภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ รฐั บาลโดยกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่ง
ดาเนินการสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับประชาชน ๒ เร่ืองที่สาคัญและนาสู่การปฏิบัติ ได้แก่ การรณรงค์
ใหน้ ักเรยี นอายุ ๑๒ -๑๘ ปเี ข้ารับการฉดี วคั ซีน และให้สถานศกึ ษาปฏบิ ัตติ ามมาตรการ Sandbox : Safety Zone
in Schoolอ ย่ า งเ ค ร่ ง ค รั ด จึ ง เ ป็ น สิ่งจ าเ ป็ น ส า ห รั บ นัก เ รี ย น ค รู บุ ค ล า กร ท า งก า ร ศึ กษ า แ ล ะ
บุคคลทเี่ กีย่ วขอ้ ง จะตอ้ งรบั ร้แู ละสามารถเข้ารบั การฉีดวคั ซีน และปฏบิ ตั ิตามมาตรการไดอ้ ยา่ งเครง่ ครัด สานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
โรงเรียน Sandbox : Safety Zone in School กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข
โดยกรมอนามัย มีการนาร่องเปิดการเรียนการสอนแบบ Onsite ตามมาตรการ Sandbox Safety Zone in
School ในโรงเรียน มี ร่วมกับมาตรการต่าง ๆ มีการติดตามและประเมินผล ในโรงเรียนแบบไป -กลับ
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ เป็นระยะท่ี ๒ โดยมาตรการจะเข้มข้นกว่าระยะที่ ๑ เน้น ๖ มาตรการหลัก ๖
มาตรการเสริม และ ๗ มาตรการเขม้ สถานศกึ ษา
ดังนั้นภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรียนวัดม่วงหวาน(ส่วน กระบวนยุทธ ประชาสรรค์)
เป็นโรงเรียนทจ่ี ัดการเรียนการสอนประเภท ไป - กลบั จะเปิดใหม้ ีการเรียนการสอนตามปกตแิ บบ Onsite
ได้จะต้องดาเนินการมาตรการที่เข้มข้น โดยเน้น ๖ มาตรการหลัก ๖ มาตรการเสริม และ ๗ มาตรการ เข้ม
สถานศกึ ษา อย่างเคร่งครดั
2
ส่วนท่ี ๒
แนวปฏบิ ตั ิการเตรียมการก่อนเปดิ ภาคเรยี น
การเตรียมการก่อนการเปิดเรียน มีความสาคัญอย่างมากเน่ืองจากมีความเก่ียวข้องกับการปฏิบัติตน
ของนักเรียน ครู บุคลากร และผู้เกี่ยวข้องทุกคนในโรงเรียนวัดม่วงหวาน(ส่วน กระบวนยุทธ ประชาสรรค์)
เพ่ือป้องกันไม่ให้มีการติดเชื้อโรคโควิด ๑๙ (Covid-19) ตัดความเส่ียง สร้างภูมิคุ้มกัน และสร้างความปลอดภัย
แก่ทุกคน โรงเรยี นวัดม่วงหวาน(สว่ น กระบวนยุทธ ประชาสรรค)์ จงึ กาหนดให้มแี นวปฏิบตั กิ ารเตรียมการกอ่ นเปดิ
ภาคเรียนท่ี 2/2564 ดังนี้
ก/ระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามัย ได้สร้างเคร่ืองมือสาหรับสถานศึกษาประเมินตนเองในระบบ
Thai Stop Covid Plus ตัวย่อ TSC+ เพื่อให้สถานศึกษาเตรียมความพร้อมก่อนเปิดเรียน ภาคเรียนที่ ๒
ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ลิงก์ระบบ https://stopcovid.anamai.moph.go.th/th/school แบบประเมินตนเอง
ดังกล่าว ประกอบด้วย ๖ มิติ ๔๔ ข้อ สถานศึกษาจะต้องผ่านการประเมินท้ัง ๔๔ ข้อ ตามขั้นตอน
การประเมนิ ตนเอง
ภาพที่ 1 การประเมนิ ตนเองในการเตรยี มความพร้อมก่อนเปดิ ภาคเรียนผ่านระบบ TSC+
จากแผนภาพท่ี 1 พบวา่ โรงเรยี นวดั มว่ งหวาน (สว่ น กระบวนยทุ ธ ประชาสรรค)์ ได้ผา่ น การประเมิน
ระดับสีเขยี วภาคผนวก ก หนา้ ....
3
ผลการประเมนิ ภายใตก้ รอบการประเมิน Thai Stop Covid Plus
มิติที่ 1 ความปลอดภยั จากการลดการแพรเ่ ชอ้ื โรค
1. มมี าตรการคดั กรองวดั ไข้ ให้กบั นักเรยี น ครู และผเู้ ขา้ มาติดต่อ ทุกคน กอ่ นเข้าสถานศกึ ษา
2. มมี าตรการสงั เกตอาการเสีย่ งโควดิ 19 เช่น ไอ มีน้ามกู เจบ็ คอ เหนอ่ื ยหอบ หายใจลาบาก
จมูก ไมไ่ ดก้ ล่ิน ลน้ิ ไม่รรู้ ส พรอ้ มบันทกึ ผล สาหรับนกั เรยี น ครู และผู้เขา้ มาตดิ ต่อ ทุกคน กอ่ นเขา้ สถานศกึ ษา
3. มนี โยบายกาหนดใหน้ ักเรียน ครู และผูเ้ ขา้ มาในสถานศกึ ษาทกุ คน ตอ้ งสวมหน้ากากผา้ หรอื
หน้ากากอนามัย
4. มีการจดั เตรียมหนา้ กากผ้าหรอื หน้ากากอนามัย สารองไว้ใหก้ บั นกั เรยี น ร้องขอ หรือผ้ทู ี่ไมม่ ี
หน้ากากเข้ามาในสถานศกึ ษา
5. มจี ดุ ลา้ งมือด้วยสบู่ อยา่ งเพียงพอ
6. มกี ารจดั วางเจลแอลกอฮอลส์ าหรบั ใชท้ าความสะอาดมอื บริเวณทางเขา้ อาคารเรยี น หน้า
ประตู หอ้ งเรียน ทางเข้าโรงอาหาร อย่างเพียงพอ
7. มกี ารจดั โต๊ะเรยี น เก้าอี้นงั่ เรยี น ทน่ี ัง่ ในโรงอาหาร ทนี่ ่งั พกั โดยจัดเวน้ ระยะหา่ งระหว่างกัน
อยา่ ง นอ้ ย 1-2 เมตร (ยดึ หลกั Social Distancing)
8. มกี ารทาสญั ลกั ษณ์แสดงจดุ ตาแหนง่ ชดั เจนในการจดั เวน้ ระยะหา่ งระหว่างกนั
9. กรณหี ้องเรยี นไม่สามารถจดั เว้นระยะหา่ งตามท่ีกาหนดได้ มกี ารสลบั วนั เรยี นของแตล่ ะชั้น
เรียนหรือ การแบ่งจานวนนกั เรียน
10. มกี ารทาความสะอาดห้องเรยี น หอ้ งต่าง ๆ และอปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการเรียนการสอน กอ่ นและ
หลงั ใช้ งานทุกครั้ง เชน่ หอ้ งคอมพิวเตอรห์ ้องดนตรี อุปกรณก์ ฬี า
11. มีการทาความสะอาดบรเิ วณจุดสมั ผสั เสย่ี งรว่ ม ทุกวนั เชน่ โต๊ะ เกา้ อี้ ราวบันได ลิฟต์
กลอนประตู มอื จบั ประตู - หนา้ ต่าง
12. มีถงั ขยะแบบมฝี าปดิ ในหอ้ งเรยี น
13. มกี ารปรบั ปรงุ ซ่อมแซมประตู หน้าตา่ ง และพดั ลมของหอ้ งเรียน ให้มสี ภาพการใช้งานไดด้ ี
สาหรับ ใชป้ ดิ - เปิดใหอ้ ากาศถา่ ยเทสะดวก
14. มีการแบ่งกลมุ่ ย่อยนกั เรียนในห้องเรยี นในการทากจิ กรรม
15. มกี ารปรบั ลดเวลาในการทากจิ กรรมประชาสัมพนั ธ์ ภายหลงั การเขา้ แถวเคารพธงชาติ
16. มกี ารจดั เหล่ือมเวลาทากจิ กรรมนกั เรยี น เหลอื่ มเวลากนิ อาหารกลางวนั
17. มีมาตรการใหเ้ ว้นระยะหา่ งการเข้าแถวทากจิ กรรม
18. มกี ารกาหนดใหใ้ ชข้ องใชส้ ว่ นตวั ไม่ใช้สิง่ ของรว่ มกบั ผอู้ นื่ เช่น แก้วน้า ชอ้ น ส้อม แปรงสฟี นั
ยาสีฟนั ผ้าเชด็ หนา้
19. มหี อ้ งพยาบาลหรือพน้ื ทส่ี าหรบั แยกผู้มอี าการเสีย่ งทางระบบทางเดนิ หายใจ
20. มนี กั เรียนแกนนาด้านสุขภาพ จติ อาสา เป็นอาสาสมคั ร ในการช่วยดูแลสขุ ภาพเพ่อื น
นักเรียน ดว้ ยกนั หรือดูแลรุ่นนอ้ ง
4
มติ ิท่ี 2 การเรยี นรู้
21. มีการติดป้ายประชาสัมพนั ธแ์ นะนาการปฏบิ ัติเพอื่ สุขอนามัยทด่ี ี เช่น วิธลี ้างมือท่ถี กู ตอ้ ง
การสวม หน้ากากอนามัย การเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบคุ คล เปน็ ตน้ หรืออนื่ ๆ ทเ่ี กย่ี วกบั โรคโควดิ 19
22. มกี ารเตรียมความพรอ้ มการจัดการเรยี นการสอนโดยคานงึ ถึงการเรยี นรู้ตามวยั และ
สอดคล้องกับ พัฒนาการดา้ นสงั คม อารมณ์ และสตปิ ัญญา
23. มีมาตรการกาหนดระยะเวลาในการใช้สือ่ ออนไลนใ์ นสถานศึกษา ในเดก็ เล็ก(ประถมศกึ ษา)
ไม่เกิน 1 ช่ัวโมงตอ่ วนั และ ในเดก็ โต (มธั ยมศกึ ษา) ไมเ่ กนิ 2 ชัว่ โมงต่อวนั
24. มกี ารใชส้ ่ือรอบร้ดู ้านสขุ ภาพผ่านชอ่ งทาง Social media เชน่ Website, Facebook,
Line, QR Code, E-mail
มิตทิ ี่ 3 การครอบคลุมถงึ เด็กดอ้ ยโอกาส
25. มกี ารเตรยี มหนา้ กากผ้า สารองสาหรบั เด็กเล็ก
26. มกี ารปรบั รูปแบบการเรียนการสอนใหส้ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทการเขา้ ถึงการเรยี นร้ใู น
สถานการณ์ การระบาดของโรคโควิด 19
27. มมี าตรการสง่ เสริมใหน้ ักเรยี นไดร้ บั บรกิ ารสุขภาพขัน้ พน้ื ฐานอยา่ งทว่ั ถงึ
28. มมี าตรการการทาความสะอาดและจดั สภาพแวดลอ้ มของทพ่ี กั และเรือนนอนให้ถกู
สขุ ลักษณะ พร้อมมีตารางเวรทุกวนั *นกั เรียนไป-กลับ
29. มมี าตรการการทาความสะอาดและจดั สภาพแวดล้อมใหส้ อดคลอ้ งกับข้อบญั ญัตกิ ารปฏบิ ัติ
ดา้ น ศาสนกจิ พรอ้ มมตี ารางเวรทุกวัน มีสถานทป่ี ฏิบตั ศิ าสนากจิ
30. มมี าตรการดแู ลนกั เรยี นทมี่ คี วามบกพร่องดา้ นพัฒนาการ การเรยี นรู้ หรือดา้ นพฤติกรรม
อารมณ์ รวมถึงภาวะสมาธิสน้ั และเด็กออทสิ ตกิ ทส่ี ามารถเรยี นรว่ มกบั เดก็ ปกติ หรอื ไม่
มิติท่ี 4 สวสั ดภิ าพและการคมุ้ ครอง
31. มีการจัดเตรยี มแผนรองรบั การจดั การเรยี นการสอนสาหรับนกั เรยี นปว่ ย กกั ตวั หรือกรณี
ปิดโรงเรยี น
32. มกี ารจดั เตรยี มแนวปฏบิ ตั ิการสือ่ สารเพ่อื ลดการรังเกียจและการตีตราทางสงั คม (Social
Stigma)
33. มีการจัดเตรยี มแนวปฏิบตั ิดา้ นการจัดการความเครียดของครแู ละบคุ ลากรของสถานศกึ ษา
34. มีการตรวจสอบประวัตเิ สย่ี งของนักเรยี นและบุคลากร รวมทั้งตรวจสอบเร่อื งการกกั ตวั ให้
ครบ 14 วนั ก่อนมาทาการเรยี นการสอนตามปกติ และทกุ วนั เปดิ เรยี น
35. มกี ารกาหนดแนวทางปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บสาหรบั นกั เรยี น ครู และบคุ ลากรทสี่ งสัยตดิ เชอื้
หรอื ปว่ ย ดว้ ยโรคโควดิ 19 โดยไมถ่ อื เปน็ วนั ลาหรอื วนั หยดุ เรยี น
5
มติ ิที่ 5 นโยบาย
36. มกี ารสื่อสารประชาสมั พนั ธ์ความรู้การป้องกนั โรคโควดิ 19 แกน่ ักเรยี น ครู บุคลากร และ
ผู้ปกครอง โดยการประชุมช้แี จงหรอื ผา่ นช่องทางต่าง ๆ อยา่ งน้อย 1 ครั้ง กอ่ นหรือวนั แรกของการเปิดเรยี น
37. มนี โยบายและแนวทางการป้องกนั การแพร่ระบาดโรคโควิด 19 ของสถานศกึ ษา อยา่ งเปน็
ลายลกั ษณห์ รือมีหลกั ฐานชัดเจน
38. มีการประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา
39. มีการแตง่ ต้งั คณะทางานป้องกันการแพร่ระบาดโรคโควดิ 19 และกาหนดบทบาทหนา้ ท่ี
อยา่ ง ชัดเจน
40. มีมาตรการบรหิ ารจดั การความสะอาดบนรถรบั -ส่งนกั เรยี น เวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล จดั
ทนี่ งั่ บนรถหรือมสี ญั ลักษณจ์ ดุ ตาแหนง่ ชัดเจน หรือไม่ (กรณรี ถรบั - ส่งนักเรยี น)
มิติที่ 6 การบริหารการเงนิ
41. มแี ผนการใชง้ บประมาณในการป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ตามความจาเป็น
และ เหมาะสม
42. มกี ารจัดหาซอ้ื วสั ดอุ ปุ กรณป์ ้องกนั โรคโควดิ 19 สาหรบั นักเรยี นและบุคลากรในสถานศกึ ษา
เชน่ หนา้ กากผ้า หรือหน้ากากอนามยั เจลแอลกอฮอล์ สบู่
43. มีการประสานแสวงหาแหล่งทนุ สนับสนนุ จากหนว่ ยงาน องคก์ ร หรอื เอกชน เชน่ ท้องถนิ่
บรษิ ทั ห้างรา้ น NGO เป็นตน้ หรือมกี ารบรหิ ารจัดการดา้ นการเงินเพอื่ ดาเนินกจิ กรรมการป้องกนั การแพร่ระบาด
ของ โรคโควดิ 19
44. มีการจัดหาบุคลากรในการดูแลนักเรยี นและการจดั การสงิ่ แวดล้อมในสถานศึกษา
6
ส่วนที่ 3
มาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ไป -กลบั
มหี ลกั เกณฑท์ ตี่ ้องปฏบิ ตั ิอย่างเคร่งครัด ๔ องค์ประกอบ ดังนี้
๑. องค์ประกอบด้านกายภาพ ลักษณะอาคารและพื้นที่โดยรอบอาคารของโรงเรียนประเภทไป-กลับ
มีความพร้อมและผ่านเกณฑ์การประเมิน ๑.๑ พื้นที่/อาคารสนับสนุนการบริการ ๑.๒ พ้ืนที่/อาคารเพื่อจัดการ
เรียนการสอน โดยจัดอาคารและพ้ืนที่โดยรอบให้เป็นพ้ืนที่ปฏิบัติงานท่ีปลอดภัย และมีพ้ืนที่ ที่เป็น Covid free
Zone
๒. องคป์ ระกอบด้านการมสี ว่ นร่วม ต้องเป็นไปตามความสมคั รใจของทกุ ฝ่าย โดยโรงเรยี น ประสงค์
จะดาเนนิ การในรปู แบบ Sandbox: Safety Zone in School จดั ใหม้ ีการประชุม หารอื ร่วมกนั ของ
คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ครู ผู้ปกครอง ผนู้ าชุมชน และมีมตใิ ห้ความเหน็ ชอบ รว่ มกนั ในการจดั พน้ื ท่ี
การเรยี นการสอนในรปู แบบ Sandbox: Safety Zone in School ตลอดภาคการศึกษา2/2564 กอ่ นนาเสนอ
โครงการผา่ นสานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาพระนครศรอี ยุธยา เขต 2 แลว้ ขอความเหน็ ชอบจาก
คณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา
๓. องค์ประกอบด้านการประเมินความพร้อมสู่การปฏิบัติ โรงเรียนวัดม่วงหวาน(ส่วน กระบวนยุทธ
ประชาสรรค์)เตรียมการ ประเมินความพร้อม ดังน้ี
๓.๑ โรงเรียนวัดม่วงหวาน(ส่วน กระบวนยุทธประชาสรรค์) ดาเนินการ ๑) ผ่านการประเมินความพรอ้ ม
ผ่าน TSC+ และรายงานการติดตามการประเมินผลผ่าน MOE Covid ๒) จัดให้มีสถานที่แยกกักตัวในโรงเรียน
(School Isolation) สาหรับรองรบั การดูแลรักษา เบื้องต้นกรณีนกั เรียน ครู หรือบุคลากรในสถานศึกษามีการติด
เชื้อโควิด๑๙ หรอื ผลตรวจ ATK เป็นบวก รวมถึง มีแผนเผชญิ เหตแุ ละมคี วามร่วมมอื กบั สถานพยาบาลเครอื ขา่ ยใน
พื้นท่ีท่ีดแู ลอย่างใกลช้ ิด ๓) ควบคุมดูแลการเดินทางระหว่างบา้ นกบั โรงเรียนอยา่ งเขม้ ข้น โดยหลีกเล่ียงการเขา้ ไป
สัมผัสในพืน้ ทต่ี า่ งๆ ตลอดเส้นทางการเดนิ ทาง ๔) ต้องจัดพ้ืนท่ีหรอื บริเวณให้เปน็ จดุ คัดกรอง (Screening Zone)
ที่เหมาะสม จัดจุดรับส่งส่ิงของจุดรับส่งอาหาร หรือจุดเสี่ยงอื่น เป็นการจาแนกนักเรียน ครู บุคลากร ผู้ปกครอง
และ ผู้มาติดต่อท่ีเข้ามาในโรงเรียน ๕) มีระบบและแผนรับการติดตามประเมินความพร้อม โดยทีมตรวจราชการ
บูรณาการร่วมกันระหวา่ งกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และกระทรวงสาธารณสุข ทัง้ ช่วงก่อนและระหวา่ งดาเนนิ การ
๓.๒ นักเรียน ครู และบคุ ลากรต้องปฏิบัติ ๑) ครู และบคุ ลากร ต้องไดร้ บั การฉีดวัคซีนครบโดส ต้ังแต่ร้อย
ละ ๘๕ เป็นต้นไป ส่วนนักเรียน และผู้ปกครองควรได้รับวัคซีนตามมาตรการของกระทรวงศึกษาธิการ และ
กระทรวงสาธารณสุข โรงเรียนอยู่ในพ้ืนที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด (พ้ืนที่สีแดงเข้ม) ๒) นักเรียน ครู
และบุคลากรในสถานศึกษาท่อี ยูใ่ นพ้ืนที่ ควบคุมสูงสดุ และเข้มงวด(พื้นทส่ี แี ดงเข้ม) ทุกคนต้องตรวจคัดกรอง ATK
ในวันแรกของการเปดิ เรยี นของ สถานศึกษา ๓) นักเรยี น ครู และบคุ ลากรในสถานศึกษา มีการทากิจกรรมรว่ มกัน
ในรูปแบบ Small Bubble และหลีกเลี่ยงการทากิจกรรมข้ามกลุ่มกัน โดยเฉพาะพื้นท่ี ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด
(พ้ืนที่สีแดงเขม้ )
7
๔. องค์ประกอบด้านการดาเนินการของโรงเรียนวัดม่วงหวาน(ส่วน กระบวนยุทธ ประชาสรรค์)
ระหวา่ งภาคการศึกษาต้อง ดาเนนิ การดังนี้
๔.๑ สามารถจัดการเรยี นการสอนได้ ทงั้ รปู แบบ Onsite หรือ Online หรอื แบบผสมผสาน (Hybrid)
๔.๒ นักเรียน ครู และบุคลากรที่อยู่ในพื้นที่ Safety Zone ต้องประเมิน Thai Save Thai (TST)
อยา่ งต่อเนอ่ื งตามเกณฑ์จาแนกตามเขตพื้นท่ีการแพรร่ ะบาด
๔.๓ ให้มีการสุ่มตรวจ ATK นักเรียน ครู และบุคลากรท่ีเก่ียวข้องกับสถานศึกษา เพ่ือเฝ้าระวังตาม
เกณฑจ์ าแนกตามเขตพน้ื ที่การแพรร่ ะบาด
๔.๔ ปฏิบัติตามมาตรการสุขอนามัยส่วนบุคคลอย่างเข้มข้น ได้แก่ ๖ มาตรการหลัก (DMHT-RC)
และ ๖ มาตรการเสริม (SSET-CQ)
๔.๕ นักเรียน ครูและบคุ ลากร ท่ีเก่ยี วข้องกับสถานศกึ ษา เขียนบันทกึ Timeline กจิ กรรม ประจาวันและ
การเดนิ ทางเข้าไปในสถานท่ตี ่าง ๆ แต่ละวนั อย่างสมา่ เสมอ
๔.๖ ปฏิบัติตามแนวทาง ๗ มาตรการเข้มสาหรับสถานศึกษาประเภทไป-กลับ อย่างเคร่งครัด
๑) สถานศกึ ษาประเมนิ ความพร้อมเปิดเรยี นผา่ น TSC+ และรายงานการตดิ ตามการ ประเมินผลผา่ น MOE Covid
โดยถือปฏิบัติอย่างเข้มข้น ต่อเนื่อง ๒) ทากิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลีกเล่ียงการทากิจกรรม
ขา้ มกลมุ่ กัน และ จดั นักเรียนในห้องเรยี นขนาดปกติ (๖ x ๘ เมตร) ไมเ่ กิน ๒๕ คน หรือจัดให้เวน้ ระยะห่างระหวา่ ง
นักเรียนใน ห้องเรียนไม่น้อยกว่า ๑.๕ เมตร พิจารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด
๓) จัดระบบการให้บริการอาหารสาหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา ตามหลัก มาตรฐานสุขาภิบาล
อาหารและหลักโภชนาการ ๔) จัดการด้านอนามัยส่ิงแวดล้อมให้ได้ตามแนวปฏิบัติด้านอนามัยสงิ่ แวดลอ้ มในการ
ป้องกัน โรคโควิด๑๙ ในสถานศึกษา ได้แก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทาความสะอาด คุณภาพน้า
สาหรับ อุปโภคบริโภค และการจัดการขยะ ๕) จัดให้มีสถานที่แยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation)
แผนเผชญิ เหตุสาหรบั รองรบั การ ดูแลรักษาเบือ้ งต้นกรณนี กั เรียน ครู หรอื บุคลากรในสถานศึกษา
มีการติดเช้ือโควิด๑๙ หรือผลตรวจ ATK เป็น บวก โดยมีการซักซ้อมอย่างเคร่งครัด ๖) ควบคุมดูแลการเดิน
ทางเข้าและออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อย่างเข้มข้น โดย หลีกเล่ียงการเข้าไปสัมผัสในพื้นที่ต่างๆ ตลอด
เส้นทางการเดินทางจากบ้านไป-กลับโรงเรียน ท้ังกรณีรถรับ-ส่ง นักเรียน รถส่วนบุคคล และพาหนะโดยสาร
สาธารณะ ๗) จัดให้มี School Pass สาหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา ซึ่งประกอบด้วย ข้อมูล
ผลการประเมิน TST ผลตรวจ ATK ภายใน ๗ - ๑๔ วัน และประวัติการรับวัคซีน ตามมาตรการ
ของ กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุข พิจารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคติดต่อ
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพ่ือให้เกิดความปลอดภัยเมื่อเข้า-ออกโรงเรียน โดยเฉพาะพื้นที่ควบคุม สูงสุด
และเข้มงวด (พ้นื ท่ีสีแดงเขม้ )
๔.๗ กรณีสถานศึกษาต้ังอยูใ่ นพน้ื ที่ควบคุมสงู สุด (พน้ื ทสี่ ีแดง) และพนื้ ท่คี วบคมุ สูงสุดและเขม้ งวด
(พน้ื ทสี่ แี ดงเข้ม) กาหนดใหส้ ถานประกอบกิจการ กจิ กรรม ทอี่ ยู่รอบรว้ั สถานศึกษาให้ผา่ นการประเมนิ Thai Stop
Covid Plus (TSC+) Covid Free Setting
8
สว่ นที่ 4
แนวปฏบิ ตั ริ ะหวา่ งเปิดภาคเรยี น
โรงเรียนวัดม่วงหวาน (ส่วน กระบวนยุทธ ประชาสรรค์ )ปฏิบัติตามมาตรการระหว่างเปิดเรียน
ตามท่ีกระทรวงสาธารณสุขและ กระทรวงศึกษาธิการกาหนดให้ครอบคลุมทุกมิติอย่างเคร่งครัด เพื่อป้องกันการ
แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) โดยคานึงถึงความปลอดภัยของนักเรียน ครูและ
บุคลากรในสถานศึกษาสงู สดุ โรงเรียนวดั ม่วงหวาน (ส่วน กระบวนยุทธ ประชาสรรค์ ) จึงได้ดาเนินการจดั ทาและ
รวบรวมแนวปฏบิ ตั ิระหว่างเปดิ เรยี น เป็น ๒ กรณี ดังน้ี 1. กรณเี ปิดเรยี นได้ตามปกติ (Onsite) สถานศึกษาปฏิบตั ิ
ดงั น้ี
มาตรการ แนวทางการปฏิบัติ
๗ มาตรการเข้มงวด
๑) สถานศึกษาผ่านการประเมนิ TSC+ และรายงานการตดิ ตาม การประเมนิ ผล
ผ่าน MOE Covid
2) ทากจิ กรรมรว่ มกันในรูปแบบ Small Bubble หลกี เลีย่ งการทากจิ กรรม ขา้ ม
กลุ่มและจดั นักเรียนในห้องเรียนขนาดปกติ (๖ x ๘) ไมเ่ กนิ ๒๕ คน หรือจัด
ให้เวน้ ระยะห่างระหว่างนกั เรยี นในห้องไม่น้อยกว่า ๑.๕ เมตร พจิ ารณาตาม
ความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
3) จดั ระบบการให้บรกิ ารอาหารสาหรบั นกั เรยี น ครแู ละบคุ ลากรใน สถานศึกษา
ตามหลกั มาตรฐานสุขาภบิ าลอาหารและหลกั โภชนาการ อาทิ เชน่ การจัดซ้ือจดั หา
วตั ถุดบิ จากแหลง่ อาหาร การปรุงประกอบอาหาร ทีถ่ ูกสขุ ลกั ษณะและ มรี ะบบ
ตรวจสอบทางโภชนาการกอ่ นนามาบรโิ ภค ตามหลกั สขุ าภบิ าล อาหารและหลกั
โภชนาการ
๔) จัดการด้านอนามยั สงิ่ แวดลอ้ มให้ไดต้ ามแนวปฏบิ ตั ดิ ้านอนามยั สง่ิ แวดล้อม
ในการป้องกนั โรคโควิด ๑๙ ในสถานศึกษา การระบายอากาศภายใน
อาคาร การทาความสะอาดคณุ ภาพนา้ ด่ืม และการจดั การขยะ
๕) นกั เรียนที่มคี วามเสี่ยงแยกกกั ตวั ในสถานศึกษา (School Isolation) และ
มกี ารซักซ้อมแผนเผชิญเหตุ รองรับการดูแลรักษาเบื้องตน้ กรณี นักเรียน ครู หรอื
บุคลากรในสถานศึกษามผี ลการตรวจพบเช้ือโรคโควิด๑๙ หรอื ผล ATK เป็นบวก
โดยมกี ารซักซ้อมอย่างเคร่งครดั
๖) ควบคมุ ดูแลการเดนิ ทางกรณีมกี ารเข้าและออกจากสถานศึกษา (Seal Route)
อย่างเขม้ ข้น โดยหลกี เลยี่ งการเขา้ ไปสมั ผสั ในพน้ื ทีต่ ่าง ๆ ตลอดเสน้ ทางการเดินทาง
๗) จัดใหม้ ี School Pass สาหรับนักเรยี น ครู และบคุ ลากรในสถานศึกษา
ซงึ่ ประกอบดว้ ยขอ้ มลู ผลการประเมิน TST ผลตรวจ ATK ภายใน ๗ วนั และ
ประวตั กิ ารรบั วัคซีน ตามมาตรการ
9
มาตรการ แนวทางการปฏบิ ัติ
อนามยั สิง่ แวดลอ้ ม
๑) การระบายอากาศภายในอาคาร
การใชอ้ าคาร สถานท่ี - เปิดประตูหน้าต่างระบายอากาศก่อนและหลังการใช้งาน อย่างน้อย ๑๕ นาที
ของโรงเรียนวัดมว่ งหวาน
หน้าต่างหรือ ช่องลม อย่างน้อย ๒ ด้านของห้องให้อากาศ ภายนอกถ่ายเทเข้าสู่
(สว่ น กระบวนยทุ ธ ประชาสรรค)์ ภายในอาคาร
- กรณีใช้เคร่ืองปรับอากาศ ควรระบายอากาศในอาคารก่อนและหลัง การอย่าง
น้อย ๒ ช่ัวโมง หรือเปิดประตูหน้าต่างระบายอากาศช่วงพัก เที่ยงหรือช่วงที่ไม่มี
การเรียนการสอน กาหนดเวลาเปิด-ปิด เคร่ืองปรับอากาศ และทาความสะอาด
สม่าเสมอ
๒) การทาความสะอาด
- ทาความสะอาดวัสดุส่ิงของด้วยผงชักฟอกหรือน้ายาทาความสะอาด และล้าง
มือด้วยสบ่แู ละนา้
- ทาความสะอาดและฆ่าเชื้อโรคบนพื้นผิวท่ัวไป อุปกรณ์สัมผัสร่วม เช่น ห้องน้า
ห้องส้วม ลูกบิด ประตู ราวบันได สวิตช์ไฟ ด้วยแอลกอฮอล์ ๗๐% นาน ๑๐ นาที
และฆ่าเชื้อโรคบนพ้นื ผิววัสดุแข็ง เช่น กระเบื้อง เซรามิก สแตนเลส ด้วยน้ายาฟอก
ขาวหรอื โซเดยี มไฮโปคลอไรท์ ๐.๑% นาน ๕-๑๐นาที อย่างนอ้ ยวันละ ๒ ครงั้ และ
อาจเพิม่ ความถี่ตาม ความเหมาะสมโดยเฉพาะเวลาท่มี ผี ใู้ ช้งานจานวนมาก
๓) คณุ ภาพนาเพ่อื การอุปโภคบริโภค
- ตรวจดคู ุณลกั ษณะทางกายภาพ สี กลนิ่ และไมม่ ีสิง่ เจอื ปน
- ดูแลความสะอาดจุดบริการน้าดื่มและภาชนะบรรจุน้าดื่มทุกวัน (ไม่ใช้แก้วน้า
ด่ืมรว่ มกนั เดด็ ขาด)
- ตรวจคณุ ภาพนา้ เพอื่ หาเช้อื แบคทเี รียด้วยชุดตรวจภาคสนาม ทุก ๖ เดอื น
๔) การจดั การขยะ
- มกี ารคดั แยกลดปรมิ าณขยะ ตามหลกั 3 R (Reduce Reuse Recycle) - กรณี
ขยะเกดิ จากผูส้ ัมผัสเสยี่ งสูง/ กกั กนั ตวั หรอื หน้ากากอนามัย ท่ใี ช้แล้วนาใส่ในถงั ขยะ
ปดิ ใหม้ ดิ ชิด
การฝึกอบรม หรือการทากิจกรรมใดๆ ท่ีมีผู้เข้าร่วมจานวนมาก สถานศึกษา
หรือผู้ขออนุญาต ต้องจัดทามาตรการเพ่ือเสนอต่อ คณะกรรมการโรคติดต่อ
คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จะพิจารณาร่วมกับ ผู้แทน
กระทรวงศึกษาธกิ าร เม่อื ไดร้ ับอนุญาตแลว้ จึงจะดาเนินการไดโ้ ดยมี แนวปฏิบตั ิดังนี้
๑. แนวปฏบิ ัตดิ า้ นสาธารณสุข
๑) กาหนดจุดคัดกรองช่องทางเข้าออก หากพบว่ามีไข้ ไอ จาม มีน้ามูกหรือ
เหนือ่ ยหอบ หรือมอี ุณหภมู ิร่างกายเท่ากับหรอื มากกว่า ๓๗.๕ องศาเซลเซียส ขน้ึ ไป
แจ้งงดให้เข้าร่วมกิจกรรม และแนะนาไปพบแพทย์ และอาจมีห้องแยก ผู้ที่มีอาการ
ออกจากพืน้ ท่ี
10
มาตรการ แนวทางการปฏิบัติ
การใช้อาคาร สถานท่ี ๒) ผ้เู ข้าร่วมกจิ กรรม และผู้มาตดิ ต่อ ต้องสวมหน้ากากผา้ หรือหนา้ กาก อนามยั
ของโรงเรียนวดั มว่ งหวาน ตลอดเวลาที่เข้าร่วมกิจกรรม
(ส่วน กระบวนยทุ ธ ประชาสรรค)์ 3) จัดให้มีเจลแอลกฮอล์ หรือ จุดล้างมือ สาหรับทาความสะอาดมือไว้ บริการ
(ต่อ) บริเวณต่าง ๆ อย่างเพียงพอ เช่น บริเวณหน้าห้องประชุม ทางเข้าออก จุด
ประชาสมั พันธ์ และพ้ืนทท่ี ่ีมีกจิ กรรมอน่ื ๆ
4) จัดบริการอาหารในลักษณะท่ีลดการสัมผัสอุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกัน จัดอาหาร
กลางวนั ในรปู แบบอาหารชดุ เด่ยี ว (Course Menu)
5) กากับให้นักเรียนน่ังโดยมีการเว้นระยะห่างระหว่างท่ีน่ัง และทางเดิน
อย่างน้อย ๑.๕ เมตร
6) จัดให้มีถังขยะท่ีมีฝาปิด เก็บรวบรวมขยะ เพ่ือส่งไปกาจัดอย่างถูกต้อง
และการจดั การขยะทดี่ ี
8) จัดให้มีการระบายอากาศภายในอาคาร มีการหมุนเวียนของอากาศ
อย่างเพียงพอ ทั้งในอาคารและห้องส้วม และทาความสะอาด เครื่องปรับอากาศ
สม่าเสมอ
9) ให้ทาความสะอาดและฆ่าเชื้อท่ัวทัง้ บรเิ วณ และเน้นบริเวณท่มี ักมีการ สมั ผสั
หรือใช้งานร่วมกันบ่อยๆ ด้วยน้ายาฟอกขาวที่เตรียมไว้ หรือแอลกฮอล์ 70%
หรือไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 0.5% เช็ดทาความสะอาดและฆ่าเช้ือ อย่างน้อย
วันละ 2 ครั้ง ทาความสะอาดห้องส้วมทุก 2 ชั่วโมงและอาจเพิ่ม ความถ่ี
ตามความเหมาะสม โดยเฉพาะเวลาทีม่ ผี ้ใู ชง้ านจานวนมาก
10) มีมาตรการติดตามข้อมูลของผู้เข้าร่วมกิจกรรม การใช้แอปพลิเคชัน
หรือใช้มาตรการควบคุมการเข้าออกดว้ ยการบนั ทึกข้อมูล
11) มีการจัดการคณุ ภาพเพื่อการนา้ อุปโภคบรโิ ภคท่ีเหมาะสม
- จัดใหม้ จี ุดบริการนา้ ดืม่ 1 จุด หรือหัวก๊อกต่อผ้บู รโิ ภค 75 คน
- ตรวจสอบคณุ ภาพนา้ ดื่มนา้ ใช้
- ดูแลความสะอาดจุดบริการน้าด่ืม ภาชนะบรรจุน้าดื่ม และใช้แก้วน้า
ส่วนตัว
11
มาตรการ แนวทางการปฏิบัติ
การใชอ้ าคาร สถานท่ี ๒. แนวทางปฏบิ ัตสิ าหรบั ผู้จดั กิจกรรม
ของโรงเรียนวดั มว่ งหวาน 1) ควบคมุ จานวนผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรม ไมใ่ ห้แออัด โดยคดิ หลกั เกณฑ์จานวน คน
(ส่วน กระบวนยุทธ ประชาสรรค์) ต่อพ้ืนที่จัดงาน ไม่น้อยกว่า ๔ ตารางเมตรต่อคน พิจารณาเพิ่มพ้ืนท่ี ทางเดินให้มี
(ต่อ) สดั ส่วนมากขึน้
๒) จากัดจานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม และกระจายจุดลงทะเบียนให้เพียงพอ
สาหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม เพื่อลดความแออัด โดยอาจใช้ระบบการประชุมผ่าน
ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ใช้การสแกน QR Code ในการลงทะเบียนหรือตอบ
แบบสอบถาม
๓) ประชาสัมพันธ์มาตรการ คาแนะนาในการป้องกันการแพร่ระบาดให้แก่
ผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรมทราบ
๓. แนวทางปฏบิ ตั สิ าหรับผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรม
๑) สังเกตอาการตนเองสม่าเสมอ หากมีไข้ ไอ จาม มีน้ามูก หรือเหน่ือยหอบ
ใหง้ ดการเข้ารว่ ม กิจกรรมและพบแพทยท์ นั ที
๒) สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย เว้นระยะห่างระหว่างบุคคลอย่าง
น้อย ๑ - ๒ เมตร งดการรวมกลุ่ม และลดการพดู คยุ เสียงดัง
๓) ล้างมือด้วยสบู่ หรือเจลแอลกอฮอล์บ่อย ๆ ก่อนและหลังใช้บริการ หรือ
หลังจากสัมผัสจุดสัมผัสร่วมหรือสิ่งของ เครื่องใช้ เมื่อกลับถึงบ้านควรเปล่ียน
เสอื้ ผา้ และอาบน้าทนั ที
๔) ปฏิบัติตามระเบียบของสถานที่อย่างเคร่งครัด และปฏิบัติตามมาตรการ
สุขอนามัยส่วนบุคคลอย่างเข้มข้น ได้แก่ ๖ มาตรการหลัก (DMHT-RC)
และ ๖ มาตรการเสรมิ (SSET-CQ)
2. กรณีโรงเรียนไมส่ ามารถเปดิ เรียนไดต้ ามปกติ
การจัดการเรียนการสอนในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
ซ่ึงสถานศึกษาไม่สามารถเปิดเรียนได้ตามปกติ เพ่ือให้ผู้เรียนได้รับการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง โรงเรียนวัดม่วงหวาน
(ส่วน กระบวนยุทธ ประชาสรรค์ )เลือกรูปแบบการเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning )โดยพิจารณา
รูปแบบให้มี ความเหมาะสม และความพร้อมของสถานศึกษา ดังนี้ 1) การเรียนผ่านโทรทัศน์ (On Air) คือ
การเรียนรู้ที่ใช้ส่ือวีดิทัศน์การเรียนการสอนของ มูลนิธิ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์
ตั้งแต่ช้ันอนุบาลปที ่ี ๑ ถึงช้ันประถมศึกษาป่ที ี่ 6 และใช้ส่อื วีดิทัศน์การเรียนการสอนของ DLTV(วังไกลกังวล)
และสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน ๒) การเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online) การจัดการ
เรี ย น การ ส อน ผ่าน อินเท อร์ เน็ต และ แอป พลิเคชั่น การ จั ด การ เรี ย น การส อน ช้ัน มัธ ยมศึกษา
ปีท่ี 1 - ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 สาหรบั ครแู ละนกั เรียนทมี่ คี วามพร้อมทางด้านอุปกรณ์ เชน่ คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต
12
โทรศัพท์ และมีการเชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต ๓) การเรียนผ่านหนังสือ เอกสารและใบงาน (ON Hand) การ
จัดการเรียนการสอนในกรณีที่ นักเรียนมีทรัพยากรไม่พร้อมในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบข้างต้น โดย
สถานศกึ ษาจดั ทาแบบฝึกหดั หรือให้การบา้ นไปทาทบี่ า้ น อาจใชร้ ว่ มกบั รูปแบบอ่นื ๆ ตามบริบทของทอ้ งถนิ่ และ
ตามสภาพเศรฐกิจของครอบครัว 4) การจดั การเรียนการสอนแบบ (ON Demand) คอื การเรยี นรู้ผา่ นทางเวบ็ ไซต์
DLTV (www.dltv.ac.th) หรือช่อง YouTube (DLTV Channel 1-15) แอปพลิเคชัน DLTV บนสมาร์ทโฟน
หรอื แท็บเลต็ และ YouTube AYA2 chanel
13
ส่วนท่ี 5
แนวทางการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(Covid-19) ที่กาหนดไวน้ ี้ โรงเรียนวดั มว่ งหวาน(สว่ น กระบวนยทุ ธ ประชาสรรค์)พิจารณาเลอื กจดั การเรียนการ
สอนโดยพิจารณารูปแบบให้มีความ เหมาะสม ตามความต้องการของสถานศึกษา และให้สอดคล้องกับหลักสูตร
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน นอกจากนี้ สถานศึกษาสามารถทจ่ี ะกาหนดแนวทางการการจัดการเรียนการสอนทีแ่ ตกต่าง
จากท่ีกาหนดไว้นี้ หรอื จดั การ เรยี นการสอนแบบผสมผสาน (Hybrid) ทง้ั นต้ี ้องคานงึ ถึงความปลอดภยั ของนกั เรยี น
ครู และบุคลากร เป็นสาคัญ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อ ไวรสั
โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) รูปแบบทางการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) มี ๒ รูปแบบ ดังนี้ ๑. รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบช้ันเรียน (Onsite)
วิธีการน้ีสาหรับสถานศึกษาท่ีมีผลการประเมินตนเองผ่าน ตามแบบประเมินตนเองสาหรับสถานศึกษา ในระบบ
Thai Stop Covid Plus ตัวย่อ TSC+ ในการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน และปฏิบัติตาม ประกาศ
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารเร่ือง หลักเกณฑก์ ารเปิดโรงเรยี นหรอื สถาบันการศกึ ษาตามข้อกาหนดตามความ ในมาตรา ๙
แห่งพระราชกาหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ (ฉบับท่ี ๓๒) ลงวันที่ ๒๐ กันยายน
๒๕๖๔ ซึ่งกาหนดมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School เพื่อใหส้ ถานศึกษา นาไปใชใ้ นการปฏบิ ตั ิอย่าง
เคร่งครัด ซ่ึงสถานศึกษาจะต้องนาเสนอ รูปแบบการจัดการเรียนการสอน ผ่านคณะกรรมการสถานศึกษาข้ัน
พื้นฐาน และได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) และศูนย์ปฏิบัติการควบคุมโรค
จังหวัด (ศปก.จ.) เม่ือได้รับอนญุ าตแลว้ สถานศึกษาจึงจะสามารถเปิดการเรียน การสอนได้ เม่ือสถานศึกษาเปดิ ให้
มีการเรียนการสอนตามปกติ ท่ีเน้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในโรงเรียนหรือ ในช้ันเรียนเป็นหลัก ครูผู้สอน
สามารถนารูปแบบการเรียนการสอนอ่ืนๆ มาผสมผสาน(Hybrid) ใช้กับการเรียน การสอนเพิ่มเติมในชั้นเรียนได้
เชน่ การเรยี นผ่านโทรทศั น์ (On Air) หรือการเรยี นผา่ นอินเทอรเ์ นต็ ผา่ น แอปพลเิ คชนั (Online) หรือรปู แบบอนื่
ๆตามความพร้อม และความตอ้ งการของสถานศึกษา หรอื ครูผู้สอน ดงั น้ี
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Hybrid) ในแบบช้นั เรียน (Onsite) รูปแบบเป็นการจัดการเรยี น
การสอนที่มีความหลากหลาย ยืดหยุ่น ไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้ท่ี เกิดข้ึนในห้องเรียน ผสมผสานกับการเรียนรูน้ อก
ห้องเรียนที่ครแู ละนักเรยี นไม่ไดเ้ ผชิญหนา้ กนั หรอื ใชแ้ หล่ง เรยี นรูท้ ี่มอี ยู่ ซง่ึ มเี ปา้ หมายอย่ทู ่กี ารเรยี นรูข้ องนกั เรยี น
เป็นสาคัญ โดยโรงเรยี นวัดมว่ งหวาน(สว่ น กระบวนยทุ ธ ประชาสรรค์) เลือกรปู แบบการ จัดการเรียนการสอน ดังน้ี
14
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยสลับกลุ่มนักเรียนในห้องเรียน เป็น 2 กลุ่ม กลุ่ม A และกลุ่ม B
ให้สลับกันมาเรียน ส่วนวันท่ีไม่ได้มาเรียนให้เรียนอยู่ท่ีบ้าน ในรูปแบบ On hand หรือรูปแบบอ่ืน ท้ัง Online
On air ตามความเหมาะสมและความพร้อมของนกั เรียน
กล่มุ A กล่มุ B
ทุกห้องเรยี น
ทกุ ห้องเรยี น On Hand, On-Air
On Site
อ่นื ๆ
๒. รูปแบบการเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning) รปู แบบการเรียนการสอนทางไกล (Distance
Learning) มี ๔ รปู แบบ ดังนี้
๒.๑ รปู แบบการเรยี นผ่านโทรทัศน์ (On Air) วธิ กี ารน้ี เปน็ กรณที ไี่ มส่ ามารถจดั การเรยี นการสอน
ที่โรงเรยี นไดห้ รือไมส่ ามารถจัดการเรียน การสอนใหน้ กั เรียนมาเรยี นท่โี รงเรียนพรอ้ มกนั ไดท้ ุกคน เปน็ การเรยี นรู้
ผา่ นสอ่ื วดิ ทิ ศั น์การจดั การ เรยี นการสอนของมลู นธิ กิ ารศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ตัง้ แต่
ช้ันอนบุ าลปที ี่ ๑ ถงึ ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 โดยดาเนินการออกอากาศ มที ้งั หมด ๔ ระบบ ได้แก่
๑. ระบบดาวเทียม (Satellite)
๑.๑ KU-Band (จานทบึ ) ช่อง ๑๘๖ – ๒๐๐
๑.๒ C-Band (จานโปรง่ ) ชอ่ ง ๓๓๗ – ๓๔๘
๒. ระบบดจิ ิทลั ทวี ี (Digital TV) ชอ่ ง ๓๗ – ๔๘
๓. ระบบเคเบลิ้ ทวี ี
๔. ระบบ IPTV.
๒.๒ รูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online) เปน็ รปู แบบการเรียนการสอนผ่าน
อินเทอร์เน็ต และแอปพลิเคชัน การจัดการเรียนการสอนแบบน้ี สาหรับ ครูและนักเรียนท่ีมีความพร้อมทางด้าน
อุปกรณ์ เช่น คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต โทรศัพท์ และมีการเชื่อมต่อสัญญาณ อินเทอร์เน็ต มีท้ังหมด ๔ ช่องทาง
ไดแ้ ก่
๑. เว็บไซต์ AYA2chanel - http://www.ayutthaya2.go.th/
๒. เวบ็ ไซต์ DLTV -https://www.dltv.ac.th/
๒.๓ รปู แบบการเรยี นการสอนผ่านหนงั สอื เอกสาร ใบงาน (ON Hand) รูปแบบน้เี ปน็ การเรียน
การสอนผ่านหนังสือโดยให้แบบฝึกหัด ให้การบ้านไปทาท่ีบ้าน อาจใช้ ร่วมกับรูปแบบอื่น ๆ ตามความเหมาะสม
และความตอ้ งการของนกั เรียน ในกรณีที่นกั เรยี นมที รัพยากร ไม่พรอ้ มในการจดั การเรียนการสอนในรูปแบบอน่ื ๆ
๒.4 รูปแบบการจดั การเรียนการสอนแบบ (ON Demand) รปู แบบน้ีเป็นการเรยี นรู้ผ่านทาง
เว็บไซต์ DLTV (www.dltv.ac.th) หรือ ช่อง YouTube (DLTV Channel 1-15) หรือแอปพลิเคชัน DLTV และ
AYA2chanel บนสมาร์ทโฟน หรอื แท็บเล็ต
15
ส่วนที่ 6
แผนการเผชญิ เหตุ
แผนการเผชิญเหตุ โรงเรียนวดั ม่วงหวาน(ส่วน กระบวนยทุ ธ ประชาสรรค)์ จัดให้มเี ตรียมพร้อมไวห้ ากเกดิ
กรณีฉุกเฉิน และมีการ ซักซ้อมอยา่ งเครง่ ครดั สม่าเสมอ หากพบผตู้ ดิ เช้ือ หรือพบวา่ เป็นกลมุ่ เส่ียงสงู สถานศึกษา
ตอ้ งมคี วามพรอ้ ม ในเรอื่ งสถานที่ วัสดุ อปุ กรณ์ทางการแพทย์ ระบบขนส่ง ระบบการประสานงานตรงกับบุคลากร
ทางการ แพทย์ในพนื้ ท่ี รวมทัง้ การสร้างการรบั รู้ขา่ วสารภายใน การคัดกรองเพื่อแบง่ กลุ่มนักเรยี น ครแู ละบุคลากร
ใน สถานศึกษา ซึ่งกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการได้จัดท่าแผนการเผชิญเหตุในคู่มือการปฏิบัติ
ตามมาตรการSandbox : Safety Zone in Schoolรายละเอียด ดงั นี้
ระดับการแพรร่ ะบาด มาตรการป้องกนั
ในชมุ ชน ในสถานศึกษา คร/ู นกั เรียน สถานศกึ ษา ครู/นกั เรียน สถานศกึ ษา
ไมม่ ผี ตู้ ิดเชอื้ ไมพ่ บผู้ตดิ เชอื้ ยนื ยนั ๑. ปฏิบัตติ ามมาตรการ DMHTT ๑. เปิดเรียน Onsite
๒. ประเมนิ TST เป็นประจา่ ๒. ปฏบิ ตั ติ าม TST
๓. เฝ้าระวงั คัดกรอง เด็กพเิ ศษ
มผี ู้ตดิ เช้ือ ไมพ่ บผู้ตดิ เช้ือ ยืนยนั ๑. ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการ DMHTT ๒. ๑. เปิดเรียน Onsite .
ประปราย ประเมิน TST ทุกวนั ๒. ปฏิบตั เิ ขม้ ตามมาตรการ TST Plus
๓. เฝ้าระวังคดั กรอง,เดก็ พิเศษ
พบผตู้ ิดเชอ้ื ยืนยนั ใน ๑. ปฏิบัติเข้มตามมาตรการ DMHTT * ๑. ปดิ ห้องเรยี นทพี่ บผู้ติดเชอื้ ๓ วนั
หอ้ งเรียน ๑ ราย เน้นใสห่ น้ากาก *เวน้ ระยะหา่ งระหวา่ ง เพื่อทา่ ความสะอาด
ขึ้นไป บคุ คล ๑ - ๒ ม. ๒. เปดิ ห้องเรียนอ่นื ๆ Onsite ได้
๒. ประเมิน TST ทุกวนั ตามปกติ ๓. สมุ่ ตรวจเฝ้าระวงั
๓. ระบายอากาศทกุ ๒ ชวั่ โมง กรณใี ช้ Sentinel Surveillance ทกุ ๒ ครงั้ /
เครือ่ งปรับอากาศ สัปดาห์
๔. กรณี High Risk Contact : งดเรียน ๔. ปฏบิ ตั ิเข้มตามมาตรการ TST Plus
Onsite และกักตวั ทีบ่ า้ น ๑๔ วนั ๕. ปิดหอ้ งเรยี นทพ่ี บผูต้ ิดเชอ้ื ๓ วนั
๕. กรณี Low Risk Contact : เพ่อื ท่าความสะอาดหรอื มากกว่าตาม
ให้สงั เกตอาการของตนเอง และปฏิบตั ิ ขอ้ สง่ั การของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ ๖. ปฏบิ ตั ิเข้มตามมาตรการ TST Plus
มผี ้ตู ดิ เช้อื ๑. ปฏิบตั ิเขม้ ตามมาตรการ DMHTT * ๑. พิจารณาการเปิดเรยี น Onsite โดย
เปน็ กลมุ่ เน้นใสห่ น้ากาก *เว้นระยะห่างระหว่าง เขม้ มาตรการทุกมติ ิ
กอ้ น บุคคล ๑-๒ ม. ๒. สา่ หรบั พน้ื ทร่ี ะบาดแบบ กลุ่มกอ้ น
๒. ประเมิน TST ทุกวนั พิจารณาปดิ โดย คณะกรรมการ
16
ระดับการแพรร่ ะบาด มาตรการป้องกนั
ในชมุ ชน ในสถานศึกษา ในชมุ ชน ในสถานศึกษา
๓. ระบายอากาศทุก ๒ ช่วั โมง กรณี ๓. สมุ่ ตรวจเฝา้ ระวงั Sentinel
ใช้เครื่องปรับอากาศ Surveillance ทุก ๒ สปั ดาห์
๔. กรณี High Risk Contact : งดเรียน
Onsite และกักตวั ทบ่ี า้ น ๑๔ วนั
๕. กรณี Low Risk Contact : ให้
สงั เกตอาการของตนเอง
มีการแพร่ ๑. ปฏิบตั เิ ขม้ ตามมาตรการ DMHTT ๑. พิจารณาการเปดิ เรยี น Onsite โดย
ระบาดใน ๒. เฝ้าระวังอาการเสย่ี งทุกวนั Self เขม้ ตามมาตรการทุกมติ ิ
ชมุ ชน Quarantine ๒. ส่าหรับพนื้ ที่ระบาดแบบ กลุ่มก้อน
๓. ประเมิน TST ทุกวนั
พิจารณาปิดโดย คณะกรรมการ
ควบคุม การแพร่ ระบาดระดบั พืน้ ที่
หากมี หลักฐานและความจา่ เปน็
๓. สุม่ ตรวจเฝา้ ระวงั Sentinel
Surveillance ทกุ ๒ สปั ดาห์
ที่มา: กระทรวงสาธารณสุข. (๒๕๖๔). คู่มือการปฏิบัติมาตรการ Sandbox Safety Zone in School เปิดเรียนมัน่ ใจ ปลอดภัย ไร้โควดิ ๑๙
ในสถานศึกษา.กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.
17
ส่วนท่ี 7
บทบาทของบคุ ลากรและหนว่ ยงานทเี่ กี่ยวข้อง
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ยังคงมีการแพร่ระบาด
อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เพอื่ ให้สถานศกึ ษามีแนวทางการปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-
19) ส่านักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน จงึ ก่าหนดบทบาทของบุคลากรและหนว่ ยงานที่ เกีย่ วข้อง ดังน้ี
๑. บทบาทของนักเรียน
นักเรียนเป็นหัวใจส่าคัญที่ต้องได้รับความคุ้มครอง ดูแลในเร่ืองความปลอดภัยอย่างสูงสุด ท้ังนี้ นักเรียน
จะต้องถือปฏิบัติตนตามมาตรการความปลอดภัยของกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการ อย่าง
เคร่งครัด ต้ังแต่การเดินทางออกจากบ้านมาเรียน ขณะอยู่ในโรงเรียน จนถึงการกลับบ้าน บทบาทของนักเรียน
ควรมดี ังนี้
๑) เตรียมความพร้อมในเรอื่ งอปุ กรณก์ ารเรยี น เคร่อื งใช้สว่ นตวั และอนื่ ๆ ทีจ่ า่ เป็นส่าหรับการเรยี น
การสอน
๒) ปฏบิ ัติตาม 6 มาตรการหลกั 6 มาตรการเสรมิ ของกระทรวงสาธารณสขุ และกระทรวงศึกษาธกิ าร
กา่ หนดอยา่ งเครง่ ครดั
๓) ตดิ ตามขอ้ มลู ขา่ วสารสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
และสร้างความรู้ความเข้าใจของค่าแนะน่าในการป้องกันตนเอง และลดความเส่ียงจากการแพร่กระจายของโรค
ตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) จากแหลง่ ข้อมูลท่เี ชือ่ ถือได้
๔) ประเมินความเสี่ยงของตนเองผา่ นแอพพลเิ คชน่ั Thai Save Thai (TST) อยา่ งสม่าเสมอ และสังเกต
อาการปว่ ยของตนเอง หากมอี าการไข้ ไอ มีนา้่ มกู เจ็บคอ หายใจล่าบาก เหนือ่ ยหอบ ไมไ่ ดก้ ลน่ิ ไม่รู้รส รบี แจ้ง ครู
หรอื ผู้ปกครองใหพ้ าไปพบแพทย์ กรณมี ีคนในครอบครวั ปว่ ยด้วยโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) หรือ
กลบั จากพ้นื ที่เสย่ี ง และอยู่ในชว่ งกกั ตัว ให้ปฏิบัตติ ามคา่ แนะนา่ ของเจ้าหน้าท่ีสาธารณสขุ อยา่ งเคร่งครัด
๕) ขอคา่ ปรึกษาจากครูผูส้ อนเมื่อพบปัญหาเกีย่ วกับการเรยี น อุปกรณ์การเรยี นเรยี น เครอ่ื งใช้สว่ นตัว
หรอื พบความผิดปกตขิ องร่างกายท่ีอาจเส่ียงต่อการตดิ เช้อื ของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ทันที
๒. บทบาทของครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
ครูและบุคลากรทางการศึกษานั้น ซ่ึงถืออยู่ใกล้ชิดนักเรียน มีหน้าที่ส่าคัญในการจัดการเรียนรู้ให้แก่
นักเรียนทุกรูปแบบ จึงต้องเตรียมความพร้อมการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน
นอกจากจะต้องดูแลตนเองแล้ว ยังต้องดูแลนักเรียนอีกด้วย โดยเฉพาะด้านสุขอนามัยตามมาตรการที่
กระทรวง สาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการกา่ หนด บทบาทของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ควรมีดงั นี้
๑) ประชุมออนไลน์(Online) ชี้แจงผู้ปกครองนักเรียนเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน ในการป้องกัน
การเฝ้าระวงั การเตรียมตัวของนักเรียนให้พร้อมก่อนเปดิ เรยี น
18
๒) ประเมินความเสี่ยงของตนเองผ่านแอพพลิเคชัน Thai Save Thai (TST) อย่างสม่าเสมอและสังเกต
อาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน่้ามูก เจ็บคอ หายใจล่าบาก เหน่ือยหอบ ไม่ได้กล่ินไม่รู้รส
ให้หยุด ปฏิบัติงาน และรีบไปพบแพทย์ทันที กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(Covid-19) หรือกลับจากพื้นที่เส่ียงและอยู่ในช่วงกักตัว ให้ปฏิบัติตามค่าแนะน่าของเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข
อย่างเครง่ ครัด
๓) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
และสร้างความรู้ความเข้าใจของค่าแนะน่าในการป้องกันตนเอง และลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจาย
ของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (โควดิ -19) จากแหลง่ ขอ้ มลู ทีเ่ ชอ่ื ถอื ได้
๔) จัดหาส่อื ประชาสมั พันธใ์ นการป้องกนั และลดความเส่ียงจากการแพร่กระจายโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) ให้แก่นักเรียน เช่น สอนวิธีการล้างมือท่ีถูกต้อง การสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากาก อนามัย
ค่าแนะน่าการปฏิบัติตัว การเว้นระยะห่างทางสังคม การท่าความสะอาด หลีกเลี่ยงการท่ากิจกรรม ร่วมกัน
จา่ นวนมากเพอื่ ลดจา่ นวนคน
๕) ปฏิบัติตาม 6 มาตรการหลัก 6 มาตรการเสริมของกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการ
กา่ หนดอยา่ งเครง่ ครดั
๖) คอยดูแล สอดส่องช่วยเหลือนักเรียนในเร่ืองสุขอนามัยให้เป็นไปตามมมาตรการท่ี
กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธกิ ารก่าหนด ได้แก่
(๑) ทา่ การตรวจคัดกรองสขุ ภาพนกั เรียนทกุ คนที่เข้ามาในโรงเรียนในตอนเช้า ใช้เครอ่ื งวดั
อุณหภูมิร่างกายพร้อมสังเกตอาการและสอบถามอาการของระบบทางเดินหายใจ เช่น ไข้ ไอ มีน่้ามูก เจ็บคอ
หายใจลา่ บาก เหน่ือยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส โดยติดสญั ลักษณ์ สติกเกอร์หรอื ตราป๊มั แสดงให้เหน็ ชัดเจนว่า ผ่าน
การคัดกรองแลว้
(๒) กรณพี บนกั เรยี นหรือผูม้ อี าการมีไข้ อุณหภูมิร่างกายตัง้ แต่ ๓๗.๕ องศาเซลเซียสขนึ้ ไป
ร่วมกับอาการระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง จัดให้อยู่ในพ้ืนที่แยกส่วน ประสานโรงพยาบาลส่งเสริม
สขุ ภาพประจา่ ต่าบล หรอื เจา้ หน้าท่สี าธารณสุข เพอ่ื ตรวจคัดกรองอีกคร้งั หากพบวา่ ผลตรวจเบอื้ งเปน็ บวกจึง แจ้ง
ผู้ปกครองมารับ จากน้ันแจ้งผู้บริหารหรือผู้มีส่วนเก่ียวข้อง เพ่ือด่าเนินการตามแผนเผชิญเหตุ และมาตรการ
ป้องกนั ตามระดบั การแพร่ระบาดโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)ของสถานศึกษา
(๓) บันทึกผลการคดั กรองและส่งต่อประวัติการปว่ ย ตามแบบบันทึกการตรวจสุขภาพ
(๔) จัดอุปกรณ์การลา้ งมือ พรอ้ มใชง้ านอย่างเพียงพอ เช่น เจลแอลกอฮอลว์ างไว้บรเิ วณ ทางเข้า
สบ่ลู ้างมือบรเิ วณอา่ งลา้ งมือ
๖) ตรวจสอบ ก่ากับ ตดิ ตามการมาเรียนของนกั เรยี นขาดเรยี น ถูกกกั ตัว หรอื อยู่ในกลุ่มเส่ยี ง ตอ่ การ
ติดโรคโควิด 19 และรายงานต่อผ้บู รหิ าร
7) ปรบั พฤติกรรมส่าหรบั นักเรียนทไี่ มร่ ว่ มมอื ปฏิบตั ติ ามมาตรการทค่ี รูก่าหนด ดว้ ยการแก้ปญั หา
การเรียนรใู้ หม่ให้ถูกตอ้ ง นั่นคอื “สร้างพฤตกิ รรมทพ่ี ึงประสงค์” หรือ “ลดพฤติกรรมท่ไี ม่พึงประสงค์”
8) สรา้ งความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั ความเครยี ด ว่าเป็นปฏิกริ ยิ าปกติทเี่ กิดข้ึนได้ในภาวะวิกฤติ ท่มี ี
19
การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) และน่ากระบวนการการจดั การความเครยี ด การ
ฝึกสติให้กลมกลืนและเหมาะสมกับนักเรียนแต่ละวัยร่วมกับการฝึกทักษะชีวิตท่ีเสริมสร้างความเข้มแข็งทาง ใจ
(Resilience) ให้กบั นกั เรยี น ได้แก่ ทกั ษะชีวิตด้านอารมณ์ สงั คม และความคดิ เป็นต้น
9) สงั เกตอารมณ์ความเครียดของตวั เอง เนื่องจากภาระหน้าทก่ี ารดูแลนักเรียนจา่ นวนมาก และก่ากับ
ใหป้ ฏิบตั ิตามมาตรการป้องกนั การตดิ โรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) เป็นบทบาทสา่ คัญอาจจะ สรา้ ง
ความเครียดวิตกกังวลท้ังจากการเฝา้ ระวังนกั เรยี น และการปอ้ งกนั ตัวเองจากการสมั ผสั กบั เช้ือโรค ดังน้ัน เมอ่ื ครมู ี
ความเครยี ด จากสาเหตุต่างๆ มขี ้อเสนอแนะ ดังน้ี
(๑) กรณมี คี วามสับสนกับมาตรการของโรงเรยี นทไี่ มช่ ัดเจน แนะน่าใหส้ อบถาม กับผู้บรหิ าร
โรงเรียนหรอื เพ่ือนร่วมงาน เพอ่ื ให้เข้าใจบทบาทหน้าทีแ่ ละขอ้ ปฏบิ ัตทิ ี่ตรงกนั
(๒) กรณีมคี วามวิตกกังวล กลัวการตดิ เชอ้ื ในโรงเรียน ให้พดู คยุ ส่อื สารถงึ ความไมส่ บายใจ และ
ร้องขอส่งิ จา่ เปน็ สา่ หรับการเรยี นการสอนท่ีเพียงพอต่อการป้องกันการติดโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-
19) เชน่ สถานที่ สือ่ การเรียนการสอน กระบวนการเรียนรู้ การส่งงานหรอื ตรวจการบา้ น เปน็ ตน้ หาก ตนเองเปน็
กลุ่มเสี่ยง หรือมีโรคประจ่าตัวก็สามารถเข้ารับการตรวจ รักษาตามมาตรการที่กระทรวงสาธารณสุข และ
กระทรวงศกึ ษาธิการกา่ หนด
(๓) จัดให้มกี ิจกรรมบา่ บดั ความเครียด โดยการฝึกสติใหเ้ ปน็ กจิ วตั รกอ่ นเรมิ่ การเรยี นการสอน
เพอ่ื ลดความวิตกกงั วลต่อสถานการณ์ทีต่ ึงเครยี ดนี้
๑0) ก่ากับและตดิ ตามการได้รบั วคั ซนี ของนักเรียนและผู้ปกครองนักเรียนให้เป็นไปตามมาตรการ
ท่กี า่ หนดและเป็นปจั จุบนั
๓. บทบาทของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา
ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้ท่ีมีบทบาทส่าคัญในการขับเคล่ือนต้ังแต่การวางแผน การก่าหนดนโยบาย
สถานศกึ ษา การเตรียมความพร้อมการเปิดเรยี น การส่งเสรมิ ครูในการออกแบบการจดั การเรยี นการสอนการกา่ กบั
ติดตามช่วยเหลือ การประเมินผลการจดั การเรียนการสอน การแก้ไขปญั หา การประเมนิ สถานการณ์ การรายงาน
ตลอดจนร่วมมือกับครูและบุคลากร ผู้ปกครองนักเรียน ให้การตรวจสอบสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด
เชื้อ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) เพื่อความปลอดภัยของนกั เรียน โดยบทบาทของผ้บู ริหารสถานศึกษา ควร
มี ดังน้ี ๑) จัดให้มีการประชุมหารอื รว่ มกันของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ครู ผู้ปกครอง นักเรียน ผู้น่า
ชมุ ชน และมีมตใิ หค้ วามเห็นชอบร่วมกันในการจดั พืน้ ท่ี และรูปแบบการจัดการเรยี น
การสอน ๒) ประกาศนโยบายและแนวปฏิบัติการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(Covid-19) ในโรงเรยี น
๓) แต่งต้ังคณะท่างานด่าเนินการควบคุมดูแลและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) ประกอบดว้ ย นกั เรียน ครู ผูป้ กครอง เจ้าหน้าท่สี าธารณสุข ทอ้ งถน่ิ ชุมชน และผเู้ กี่ยวข้อง
๔) ประเมินความพร้อมผ่าน Thai Stop Covid Plus (TSC+) และรายงานการติดตามการประเมินผล
ผ่าน MOE Covid
20
๕) ทบทวน ปรับปรุง ซกั ซ้อมปฏิบัติตามแผนเผชญิ เหตุของโรงเรยี นในภาวะท่ีมีการระบาด ของโรคติดเชอ้ื
ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
๖) จัดให้มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์แนวทางการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) เกี่ยวกับนโยบาย มาตรการ แนวปฏิบัติ และการจัดการเรียนการสอนให้แก่ครู นักเรียน
ผู้ปกครอง และคณะกรรมการโรงเรยี น ผา่ นช่องทางสื่อทเี่ หมาะสม และติดตามข้อมลู ขา่ วสารท่เี กยี่ วข้อง
จากแหล่งขอ้ มูลท่เี ชอ่ื ถือได้
7) สนับสนนุ ใหน้ ักเรียน ครแู ละบุคลากรได้รบั วัคซีนครบโดส ต้งั แต่ร้อยละ 85 ข้นึ ไป
8) สนับสนนุ ให้มกี ารตรวจคัดกรอง Antigen Test Kit (ATK) ตามมาตรการของภาครฐั
9) สนับสนุน ส่งเสริม ให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครองประเมินตนเองผ่าน Thai
Save Thai (TST) ตามเกณฑ์จ่าแนกเขตพ้นื ทก่ี ารแพรร่ ะบาด
10)สอื่ สารสร้างความรูค้ วามเข้าใจ เพอ่ื ลดการรังเกยี จ และลดการตีตราทางสงั คม (Social Stigma) กรณี
พบว่ามีบุคลากรในโรงเรยี น นักเรียน หรือผูป้ กครองติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
11)ก่าหนดมาตรการคัดกรองสุขภาพทุกคน บริเวณจุดแรกเข้าไปในโรงเรียน (Point of Entry) ให้แก่
นักเรียน ครู บุคลากร และผู้มาติดต่อ และจัดให้มีพื้นท่ีแยกโรค อุปกรณ์ป้องกัน เช่น หน้ากากผ้า หรือหน้ากาก
อนามัย เจลแอลกอฮอล์ อย่างเพียงพอ รวมถึงเพ่ิมช่องทางการสื่อสารระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และ
เจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสุข ในกรณที ่ีพบนักเรยี นกลุ่มเส่ยี งหรอื สงสยั
12) จัดให้นักเรียนสามารถเข้าถึงการเรียนการสอนที่มีคุณภาพเหมาะสมตามบริบทได้อย่างต่อเนื่อง
ตรวจสอบ ตดิ ตาม กรณนี กั เรยี นขาดเรียน ลาปว่ ย การปดิ โรงเรยี น การจัดใหม้ ีการเรียนการสอนทางไกล
สอ่ื ออนไลน์ การตดิ ตอ่ ทางโทรศัพท์ หรือ Social Media เปน็ รายวัน หรอื รายสัปดาห์
13) กรณพี บนกั เรียน ครู บคุ ลากร หรือผปู้ กครองอยใู่ นกล่มุ เสี่ยงหรอื ผปู้ ่วยยนื ยันเข้ามาในโรงเรยี น
ให้ รีบแจ้งเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขในพ้ืนที่เพื่อด่าเนินการสอบสวนโรค และพิจารณาด่าเนินการตามแผนเผชิญเหตุ
และมาตรการปอ้ งกันตามระดบั การแพร่ระบาดโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ของสถานศกึ ษา
14) มีมาตรการให้นักเรียนได้รับอาหารกลางวันและอาหารเสริมนม ตามสิทธิท่ีควรได้รับ กรณีพบอยู่ใน
กลุ่มเส่ยี งหรืออยูใ่ นชว่ งกกั ตวั
15) ควบคุม ก่ากับ ติดตาม ตรวจสอบ และรายงานผลการด่าเนินงาน ตามมาตรการป้องกัน การแพร่
ระบาดภายในโรงเรียนอย่างเครง่ ครดั และตอ่ เนอื่ ง
๑๖) เยย่ี มบา้ น สรา้ งขวญั กา่ ลงั ใจนักเรียน ทงั้ นกั เรียนทีม่ าเรยี นแบบปกติ และทไ่ี ม่สามารถมาเรยี น
แบบปกตไิ ด้.
21
๔. บทบาทของผู้ปกครองนักเรยี น
ผู้ปกครองนกั เรยี นเป็นบุคคลที่มีส่าคัญยิง่ มีหน้าที่ต้องดูแลเอาใจใส่นักเรียนและตนเอง ในด้านสขุ อนามัย
และการปอ้ งกันความเสีย่ งจากการแพร่ระบาดของเช้ือโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)อย่างเคร่งครัด
ต้องให้ความร่วมมือกับโรงเรียน ครูประจ่าช้ัน หรือครูที่ปรึกษา เก่ียวกับมาตรการการดูแลนักเรียน ผู้ปกครอง
นักเรียนจึงมีบทบาทส่าคัญร่วมกับครูเพ่ือช่วยนักเรียนทั้งในเร่ืองการเรียนรู้และการดูแลความปลอดภัยของ
นกั เรยี น บทบาทของผ้ปู กครองนกั เรยี น ควรมดี งั น้ี
๑) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
และสร้างความรู้ความเข้าใจของค่าแนะน่าในการป้องกันตนเอง และลดความเส่ียงจากการแพร่กระจายของโรค
ติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) จากแหล่งข้อมลู ทีเ่ ชื่อถือได้
๒) ประเมนิ ความเสยี่ งของตนเอง นกั เรยี น และคนในครอบครัวผ่านแอปพลเิ คชนั Thai Save Thai (TST)
อย่างสม่าเสมอ สังเกตอาการป่วยของนักเรียน ของตนเอง และของคนในครอบครัว หากมีอาการไข้ ไอ มี น้่ามูก
เจ็บคอ หายใจล่าบาก เหน่ือยหอบ ไม่ได้กลิน่ ไม่รู้รส ให้รีบพาไปพบแพทย์ ควรแยกเด็กไมใ่ หไ้ ปเลน่ กับคนอ่ืน ให้
พักผ่อนอยู่ที่บ้านจนกวา่ จะหายเป็นปกติ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยดว้ ยโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-
19) หรอื กลับจากพ้ืนท่เี ส่ยี งอยูใ่ นชว่ งกกั ตวั ให้ปฏบิ ตั ิตามค่าแนะน่าของเจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสุข อย่างเคร่งครัด
๓) จดั หาของใช้ส่วนตัวใหน้ กั เรียนอย่างเพียงพอในแต่ละวนั ท่าความสะอาดทุกวัน เช่น หน้ากากผา้ ชอ้ น
สอ้ ม แกว้ น่้า แปรงสีฟนั ยาสีฟัน ผา้ เช็ดหน้า ผ้าเช็ดตวั เปน็ ตน้
๔) จัดหาสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์และก่ากับดูแลนักเรียนให้ล้างมือบ่อย ๆ ก่อนกินอาหาร หลังใช้ส้วม
หลกี เล่ยี งการใช้มือสมั ผัสใบหน้า ตา ปาก จมกู โดยไมจ่ า่ เป็น และสร้างสขุ นิสยั ท่ีดี หลังเลน่ กับเพอื่ น และเมือ่ กลับ
มาถงึ บ้าน ควรอาบนา่้ สระผม และเปลยี่ นชดุ เส้อื ผา้ ใหมท่ ันที
๕) ดูแลสุขภาพนักเรียน จัดเตรียมอาหารปรุงสุก ใหม่ ส่งเสริมให้กินอาหารร้อน สะอาด อาหารครบ ๕
หมูแ่ ละผัก ผลไม้ ๕ สี และควรจัดอาหารกล่อง (Box Set) ใหแ้ ก่นักเรียนในช่วงเช้าแทนการซอ้ื จากโรงเรยี น (กรณี
ที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้าจากที่บ้าน) เพ่ือเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ออกก่าลังกาย อย่างน้อย ๖๐ นาที ทุกวันและ
นอนหลบั อยา่ งเพยี งพอ ๙ - ๑๑ ชว่ั โมงตอ่ วัน
๖) หลีกเล่ียงการพานักเรียนไปในสถานเสี่ยงต่อการติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) สถานที่
แออัดที่มีการรวมกันของคนจ่านวนมาก หากจ่าเป็นต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อย ๆ ๗
ข้ันตอน ด้วยสบู่และน่า้ นาน ๒๐ วินาที หรือใชเ้ จลแอลกอฮอล์
๗) กรณีนักเรียนเดินทางมาโรงเรียน โดยรถโรงเรียน รถตู้ หรือรถอื่น ๆ ผู้ปกครองและโรงเรียนต้องขอ
ความรว่ มมือกับคนขบั รถใหป้ ฏิบตั ิตามมาตรการของสาธารณสขุ อยา่ งเคร่งครดั
๘) กรณีมีการจัดการเรียนการสอนทางไกล ออนไลน์ ผู้ปกครองควรให้ความร่วมมือกับครูในการ ดูแล
จดั การเรยี นการสอนแก่นกั เรียน เช่น การส่งการบา้ น การรว่ มทา่ กจิ กรรม เปน็ ตน้
22
๕. บทบาทขององค์กรสนบั สนนุ
๕.๑ สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา
๑) ประชาสัมพนั ธส์ ร้างความรคู้ วามเขา้ ใจให้โรงเรยี นในสงั กดั เกีย่ วกบั การป้องกนั ตนเอง การ
ดูแล สุขอนามยั ของตนเอง และบคุ คลในครอบครวั
๒) ประสานงานองคก์ รต่างๆ ในเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาในการชว่ ยเหลือสนบั สนนุ โรงเรยี น
๓) นิเทศ กา่ กับ ติดตาม โรงเรยี นในสังกดั ดา้ นการบรหิ ารโรงเรียนภายใตส้ ถานการณก์ าร
แพร่ระบาด ของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
๔) ก่ากบั ตดิ ตาม โรงเรียนในสงั กดั ดา้ นการบรหิ ารขอ้ มลู สารสนเทศเกีย่ วกบั การไดร้ บั วัคซนี
ของนกั เรยี น ครู ผบู้ รหิ ารโรงเรียน และผปู้ กครองนักเรียนใหไ้ ด้รับวคั ซนี ตามมาตรการทีก่ า่ หนด
๕) รายงานผลการดา่ เนินการตอ่ หนว่ ยงานตน้ สังกดั ใหท้ ราบความเคลอื่ นไหวอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
สม่าเสมอ
๗) ประชุม ตรวจเยยี่ มสถานศกึ ษา สร้างขวญั กา่ ลงั ใจในการเตรยี มความพร้อมกอ่ นเปดิ ภาคเรยี น
ทงั้ แบบปกติและแบบทางไกล
๕.๒ สานักงานสาธารณสขุ
๑) ให้คา่ แนะนา่ เก่ยี วกับข้อควรปฏบิ ตั ิของสถานศกึ ษา สนบั สนนุ การดา่ เนนิ งานของโรงเรยี นให้
สอดคล้องตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ และกระทรวงศกึ ษาธกิ ารกา่ หนด
๒) สนบั สนนุ อุปกรณท์ างการแพทย์ อาทิ ชดุ ตรวจ Antigen Test Kit (ATK) อุปกรณว์ ัดอณุ หภูมิ
หนา้ กากอนามยั เจลลา้ งมอื ฯลฯ
๓) สนบั สนนุ บุคลากรทางการแพทยใ์ นการบริการตรวจคดั กรองความเสยี่ งให้แก่ นกั เรยี น ครู
และบคุ ลากรทางการศกึ ษา
๔) จัดใหม้ ชี อ่ งทางการสือ่ สาร การให้ขอ้ มูลข่าวสารท่ถี ูกต้อง เปน็ ปจั จบุ ันให้กับสถานศกึ ษา และ
จัดระบบสนบั สนุนเมื่อมนี กั เรียน ครหู รอื บคุ ลากรมคี วามเส่ยี งต่อการตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
๕) สา่ รวจ ติดตามสถานการณใ์ นพน้ื ทบ่ี รกิ ารอยา่ งตอ่ เนอื่ ง กรณี พบผมู้ อี าการเส่ียงหรือป่วย
ต้องด่าเนินการทนั ที และรายงานใหส้ ถานศึกษาทราบเพ่ือดา่ เนินการตามมาตรการตอ่ ไป
๖) ออกใหบ้ ริการตามทสี่ ถานศกึ ษารอ้ งขอ เช่น จดั เจา้ หน้าท่ี อสม.ประจา่ หมบู่ า้ น ตา่ บล ตรวจ
เวรยาม บนั ทึกตูแ้ ดงตามจดุ ทโ่ี รงเรียนกา่ หนด และอืน่ ๆตามความต้องการจ่าเปน็
23
๕.๓ องค์กรทางปกครอง
๑) ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจให้โรงเรยี น และชุมชนในเขตการปกครองมคี วามรคู้ วาม
เข้าใจ เกี่ยวกับการป้องกันตนเอง การดูแลสุขอนามัยของตนเอง และบคุ คลในครอบครวั
๒) สนบั สนนุ ช่วยเหลอื โรงเรยี นในเขตปกครองตามคา่ สั่งของจังหวัดอยา่ งเคร่งครัด
๓) กา่ กบั ตดิ ตามการได้รบั วคั ซนี ของประชาชนในเขตปกครองและมขี ้อมลู ทางสถติ ทิ ่อี า้ งองิ
เช่ือถอื ได้
๔) ให้บริการตามทสี่ ถานศึกษารอ้ งขอตามความตอ้ งการเรง่ ดว่ นและจา่ เปน็
๕.๔ องคก์ รเอกชน
๑) สนบั สนนุ อปุ กรณ์ทางการแพทย์ อาทิ ชดุ ตรวจ Antigen Test Kit (ATK) อปุ กรณว์ ัดอณุ หภมู ิ
หนา้ กากอนามยั เจลล้างมอื ฯลฯ
๒) สนบั สนนุ งบประมาณใหแ้ กส่ ถานศึกษาในการน่าไปใชบ้ รหิ ารจดั การภายใตส้ ถานการณก์ าร
แพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
๓) อา่ นวยความสะดวกให้ความชว่ ยเหลอื กรณฉี กุ เฉนิ จา่ เปน็ ในการส่งตวั นักเรยี น ครูและ
บุคลากรที่ คาดว่าจะไดร้ บั เชอ้ื หรือเปน็ กลมุ่ เสี่ยงส่งหนว่ ยงานสาธารณสุขได้อยา่ งรวดเรว็
๔) สร้างระบบการติดต่อสอ่ื สารหน่วยงานภายในจังหวดั อ่าเภอ ต่าบล ใหม้ คี วามรวดเรว็ ใน
การช่วยเหลือ ดแู ล นักเรยี น ครู บคุ ลากร และผปู้ กครอง ทส่ี ถานศึกษาได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
24
ส่วนท่ี 8
การติดตามและประเมนิ ผล
การติดตามและประเมินผลเป็นกระบวนการส่าคัญที่จะต้องด่าเนินการ ให้เป็นไปตามแนวทางการ
เตรียมการเปิดภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) ท่ีส่านักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานก่าหนดไว้ เพ่ือติดตาม ดูแลช่วยเหลือหรือ
แกไ้ ขปัญหา รบั ทราบความกา้ วหน้า ปญั หาอุปสรรคของการด่าเนนิ งาน และข้อเสนอแนะ ดงั น้ี
การตดิ ตามและประเมินผล มี ๓ ระดับ ประกอบดว้ ย
๑. ระดับสถานศึกษา สถานศึกษาก่าหนดหรือแต่งตั้งผู้รับผิดชอบด่าเนินการตามแนวทางการเตรยี มการ
เปิดภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(Covid-19) โดยให้ มีการติดตามและประเมนิ ผล ดงั น้ี
๑) การน่าแนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ภายใตส้ ถานการณ์ การ
แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ของส่านักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานสู่
การปฏิบัติ
๒) การประเมินตนเองผา่ นระบบ Thai Stop Covid Plus :TSC+ และรายงานการติดตามการ
ประเมินผลผ่าน MOE Covid
๓) การปฏิบัติตามมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ทั้ง ๔ องคป์ ระกอบ
๔) การปฏิบตั ติ าม ๗ มาตรการเขม้ ของสถานศึกษาระหวา่ งการจัดการเรยี นการสอน
๕) การท่าและการปฏิบตั ติ ามแผนการเผชิญเหตทุ ี่ก่าหนดไว้
๖) การรายงานข้อมลู สารเทศท่ีส่าคญั ตอ่ สา่ นกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาและหนว่ ยงานท่ี เก่ียวข้อง
๒. ระดบั เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา สา่ นักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาก่าหนดหรอื แตง่ ตง้ั ผู้รบั ผิดชอบด่าเนนิ การ
ติดตามและประเมินผลการ ด่าเนินงานตามแนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔
ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)ของสถานศึกษาในสังกดั ดงั น้ี
๑) การนา่ แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ส่กู ารปฏิบตั ิ
๒) การประเมินตนเองผ่านระบบ Thai Stop Covid Plus :TSC+ และรายงานการติดตามการ
ประเมนิ ผลผา่ น MOE Covid
๓) การปฏบิ ตั ติ ามมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ทัง้ ๔ องค์ประกอบ
๔) การปฏิบตั ิตาม ๗ มาตรการเข้มระหว่างการจัดการเรยี นการสอน
๕) การทา่ และการปฏิบัติตามแผนการเผชิญเหตทุ ่กี า่ หนดไว้
๖) การกา่ กับ ติดตาม ตรวจสอบ และรับรายงานขอ้ มูลสารเทศทีส่ ่าคญั
๗) รายงานผลการด่าเนินงานและขอ้ มลู ทส่ี า่ คัญต่อสา่ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา ขั้นพน้ื ฐาน
25
๓. ระดบั สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน สา่ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
ก่าหนดหรือแต่งต้ังผู้รับผิดชอบด่าเนินการติดตามและ ประเมินผลการด่าเนินงานตามแนวทางการเตรียมการ
เปิดภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(Covid-19) ของสา่ นกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษา และสถานศกึ ษาในสังกัด ดังน้ี
๑) การลงพน้ื ท่ีกา่ กับ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลแบบ Site Visit โดยการส่มุ เฉพาะพนื้ ที่ เปา้ หมาย
หรือเขตตรวจราชการ เพอ่ื รับรองผลการดา่ เนนิ งานของส่านักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาและสถานศึกษา เพือ่ ทราบผล
การน่าแนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรค
ติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)ไปใช้
๒) กา่ กับ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลแบบ Online ในสา่ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา ๑๐๐% โดย
ใช้เครื่องมือตดิ ตามทส่ี รา้ งขึน้
๓) รายงานผลการด่าเนินงานตามแนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรยี นท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔
ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)ต่อ กระทรวงศึกษาธิการและ
หน่วยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
ขอ้ เสนอแนะ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ส่านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา และสถานศึกษา
ควรดา่ เนนิ การ
๑. สอื่ สาร สรา้ งความรูค้ วามเข้าใจท่ถี กู ตอ้ งให้กับนกั เรียน ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ใหเ้ ข้ารบั
การฉีดวคั ชีนครบถว้ น 100%
๒. ก่าหนดมาตรการ และแนวปฏิบัติท่ีสอดคล้องกับมาตรการ และแนวปฏิบัติของกระทรวงสาธารณสุข
และกระทรวงศกึ ษาธกิ ารก่าหนด
๓. จัดให้มีระบบการรายงานและการน่าเสนอข้อมูลท่ีเป็นข้อเท็จจริงเพ่ือสร้างการรับรู้ท่ีถูกต้อง
เปน็ ปัจจบุ นั ทนั ต่อสถานการณท์ ่ีเปล่ียนแปลงตลอดเวลา
ภาคผนวก