The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by รัชนิกร บุญใบ, 2019-12-19 16:28:59

Financial Market ตลาดการเงิน

Keywords: Financial Market,ตลาดการเงิน

STEKRAM LAICNANIF FO SEPYTFINANCIAL TEKRAM LAICNANIF FO SEGATNAVDA
MARKET

ต ล า ด ก า ร เ งิ น
TODAY

UNDERSTANDING
THE FINANCIAL
MARKETS

SURATTHANI RAJABHAT UNIVERSITY

ต ล า ด เ งิ น
คื อ อ ะ ไ ร ?

ต ล า ด ก า ร เ งิ น บาททีสาํ คัญของตลาดการเงิน
ส่งเสรมิ การออม (Saving Function)
Financial Market สนับสนุนการระดมเงินทุน
(Liquidity Function)
คือ ตลาดทีทําหน้าทีเชือมโยงระหว่างผู้มีเงิน
เหลือกับผู้ทีต้องการเงิน โดยเปนแหล่งทีผู้มี เปนคลังเพือรกั ษาความมังคัง
เงินเหลือและผู้ทีต้องการเงินมาพบและตกลง (Wealth Function)
ซือขายหลักทรพั ย์หรอื ตราสารทางการเงินรูป
แบบต่างๆ ระหว่างกัน ช่วยอํานวยความสะดวก บรกิ ารด้านการชําระราคา
ในการโอนหรอื เปลียนมือของหลักทรพั ย์หรอื (Payment Function)
ตราสารทางการเงินจากบุคคลหนึงไปยังอีก
บุคคลหนึง ซึงถือว่าเปนกลไกทีสาํ คัญในการขับ การประเมินเครดิต
เคลือนกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้สามารถดาํ เนิน (Credit Function)
การไปได้อย่างราบรนื
ช่องทางในการบรหิ ารความเสียง
(Risk Function)

เปนส่วนประกอบหนึงในการดําเนินนโยบาย
ทางเศรษฐกิจของภาครฐั
(Policy Function)

ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง ต ล า ด ก า ร เ งิ น

Types of financial markets

ตลาดการเงินตามทีเข้าใจกันทัวไปแล้วแย่งออกเปน 2 ส่วนกว้างๆ คือ ตลาดการเงินในประเทศ และตลาดการเงินระหว่าง
ประเทศ ในทางทฤษฎีจะแบ่งตลาดการเงินทัง 2 ดังกล่าวแบ่งออกเปน 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ตลาดเงินนอกระบบ และ
ตลาดเงินในระบบ

ต ล า ด ก า ร เ งิ น ดึ ง ดู ด เ งิ น ทุ น จ า ก นั ก ล ง ทุ น แ ล ะ
เ ป น ช่ อ ง ท า ง ใ ห้ กั บ บ ริ ษั ท ต่ า ง ๆ

ตลาดเงินนอกระบบ (Unorganized Financial ตลาดเงินในระบบ (organized Financial
Market)  เปนแหล่งการติดต่อทางการเงินทีเกิดขึน
โดยไม่ได้อยู่ในการกํากับดูแลของทางการ เกิดขึน Market)  หมายถึง แหล่งการติดต่อทางการเงิน
เองตามความจาํ เปนของสภาพแวดล้อม และสภาพ
เศรษฐกิจของท้องถินนันๆ และเกิดขึนก่อนตลาด โดยสถาบันตัวกลางต่างๆ ซึงส่วนใหญ่ก็เปนสถาบัน
เงินในระบบ เปนตลาดเงินทีไม่มีระเบียบปฏิบัติ กฎ
เกณฑ์ หรอื สัญญาทีถูกต้อง อยู่นอกเหนือการ ทางการเงิน เช่น บรษิ ัทเงินทุน บรษิ ัทหลักทรพั ย์
ควบคุมของทางการจึงมีความเสียงสูง ทําให้ผู้เข้าไป
เกียวข้องต้องการผลตอบแทนทีสูงเพือให้คุ้มกับ บรษิ ัทประกันชีวิต สหกรณ์ออมทรพั ย์ บรรษัทเงิน
ความเสียง อัตราดอกเบียในตลาดเงินนอกระบบจึง
สูง ลักษณะของตลาดเงินนอกระบบได้แก่ การกู้ยืม ทุนอุตสาหกรรมฯ ตลาดหลักทรพั ย์ เปนต้น สถาบัน
กันโดยตรง การเล่นแชร์ การซือขายเช็คทีไม่ผ่าน
สถาบันการเงินทีถูกต้องเปนทางการ เปนต้น การเงินต่างๆ เหล่านีจะทําหน้าทีระดมเงินออมจากผู้

ทีมีเงินออม โดยออกสินทรพั ย์ทางการเงินต่างๆ ที

มีผลตอบแทนเปนการจูงใจและนาํ เงินออมทีระดม

มาได้จัดสรรต่อไปแก่ผู้ลงทุนทีต้องการใช้เงินในรูป

ของการให้สินเชือแบบต่างๆ โดยสถาบันการเงิน

เหล่านันก็จะได้รบั ผลตอบแทนจากการให้สินเชือใน

รูปของดอกเบียรบั ค่าบรกิ ารหรอื ส่วนลด ทีสาํ คัญก็

คือการดาํ เนินธุรกิจทังด้านการระดมเงินออมแลการ

ปล่อยเงินกู้ของสถาบันทีเปนตัวกลางต้องอยู่ใน

ขอบเขตของกฎหมาย ภายใต้การควบคุมของ

สถาบันทีมีหน้าทีกํากับดูแลเปนทางการ

A&B COMPANY PAGE 02

Based on security
types

โครงสร้าง
ตลาดการเงิน

การแบง่ ประเภทของตลาดการเงินทําไดห้ ลายวธิ ี วธิ ี
หนงึ ทีเปนทีนยิ ม คือ การแบง่ ตามอายุของสนิ ทรพั ย์
ทางการเงิน โดยแบง่ ออกเปนตลาดเงินและตลาด
ทนุ ซงึ มรี ายละเอียดดงั นี

การแบง่ ประเภทของตลาดการเงินทําได้หลายวธิ ี - ตลาดรอง (Secondary Market) เปนตลาด
วธิ หี นงึ ทีเปนทีนยิ ม คือ การแบง่ ตามอายุของ ทีสนิ ทรพั ยท์ างการเงินที SSU ถือครองอยูแ่ ต่
สนิ ทรพั ยท์ างการเงินโดยแบง่ ออกเปน ตลาดเงิน และ ต้องการขาย ดว้ ยเหตผุ ลทีต้องการไดร้ บั เงินทนุ หรอื
ตลาดทนุ ซงึ มรี ายละเอียดดงั นี ต้องการขายเพอื ทํากําไร จงึ ต้องหา SSUรายอืนที
ตลาดเงิน (Money Market) เปนตลาดทีมี ต้องการลงทนุ หรอื ซอื สนิ ทรพั ยท์ างการเงินนนั แทน
การซอื ขายตราสารทางการเงินทีมอี ายุไมเ่ กิน 1 ป เชน่ ตลาดรองยงั สามารถแบง่ ออกเปน
ตัวแลกเงิน ตัวสญั ญาใชเ้ งิน บตั รเงินฝาก ตัวเงินคลัง
เปนต้น โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เพอื ระดมทนุ ไปใชใ้ นระยะสนั ตลาดทีเปนทางการ (Organized Market)
หรอื เพอื การหมุนเวยี นภายในกิจการ คือ ตลาดทีมกี ารจดั ตังอยา่ งเปนระบบ มขี อ้ บงั คับ
ตลาดทนุ (Capital Market) เปนตลาดทีมี กฎเกณฑ์ในการซอื ขายสนิ ทรพั ยท์ างการเงิน หรอื หลัก
การซอื ขายตราสารทางการเงินทีมอี ายุมากกวา่ 1 ปขนึ ทรพั ยท์ างการเงินอยา่ งชดั เจน
ไป เชน่ หนุ้ สามญั หนุ้ กู้ พนั ธบตั รรฐั บาล เปนต้น เพอื นาํ
งินทนุ ทีไดไ้ ปใชใ้ นการลงทนุ โครงการระยะยาวต่างๆ ตลาดรองทีไมเ่ ปนทางการ (Over-the-
ตลาดทนุ แบง่ ออกไดเ้ ปนตลาดแรกและตลาดรอง Counter Market) เชน่ ตลาดตราสารหนี
- ตลาดแรก (Primary Market) เปนตลาดที สาํ หรบั Dealers ซงึ ทําการซอื ขายตราสารหนี ้ในมูลค่า
สนิ ทรพั ยท์ างการเงินถกู ซอื ขายครงั แรกระหวา่ งDSU มาก ๆ สามารถโทรศัพท์ต่อรอง กันเองได้ โดยไมต่ ้อง
กับ SSU โดย DSU เปนผอู้ อกหลักทรพั ยม์ าขายเพอื นํ ผา่ นหนว่ ยงานใด
าเงินทีไดไ้ ปลงทนุ ในโครงการลงทนุ ต่าง ๆ

รู้ จั ก
สิ น ท รั พ ย์
ท า ง ก า ร เ งิ น

ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง สิ น ท รั พ ย์ ท า ง ก า ร เ งิ น

Financial Assets

เงิน (Money) ตราสารหนี(Debt Instruments)
- เปนสือกลางในการชาํ ระราคาค่าสินค้าหรอื ค่า - ผู้ถือมีฐานะเปนเจ้าหนีของผู้ออกตราสาร
บรกิ ารและการชาํ ระหนี - ได้รบั ผลตอบแทน ซึงประกอบด้วยเงินต้น และรายได้
- สินทรพั ย์ทางการเงินทีจัดว่าเปนเงินมีหลายรูป ในรูปดอกเบีย
แบบ มีความหมายครอบคลุมกว้างกว่าเงินสด - ตราสารหนีแบ่งออกเปน

ตราสารทุน (Equities) 1. ตราสารหนีทีสามารถเปลียนมือได้
- บ่งบอกถึงความเปนเจ้าของกิจการ (Negotiable Debt Instruments)
- รบั ส่วนแบ่งเงินสดจากผลกําไรของกิจการในรูป
เงินปนผล 2. ตราสารหนีทีไม่สามารถเปลียนมือได้ (Non-
- ได้รบั มูลค่าคงเหลือของกิจการ กรณีทีบรษิ ัทจะ Negotiable Debt Instruments)
ต้องปดกิจการแล้วมีการชาํ ระบัญชี ตราสารอนุพันธ์ (Derivative Instruments)
- ตราสารทุนแบ่งออกเปน
- ให้สิทธิแก่ผู้ถือตราสารในการรบั สิทธิประโยชน์ตามที
1. หุ้นสามัญ (Common Stocks) กําหนดไว้ในอนาคต
2. หุ้นบุริมสิทธิ (Preferred Stocks) - ผูกผลตอบแทนเอาไว้กับราคาของสินค้าอ้างอิง
(Underlying Assets)

- มีประโยชน์ในการเพิมอํานาจทางการเงิน
- การซือขายตราสารอนุพันธ์นันจึงมีความเสียงสูงมาก

ความ บทบาทในการกําหนดราคาสนิ ทรพั ยท์ างการเงิน
สั ม พั น ธ์ ราคาของสนิ ทรพั ยท์ างการเงินจะถกู กําหนดจาก
ระหว่าง อุปสงค์ และอุปทานของสนิ ทรพั ยท์ างการเงิน
สิ น ท ร ัพ ย์ ผลู้ งทนุ จะประเมนิ ผลตอบแทนทีต้องการจากการ
ท า ง ก า ร เ งิ น ลงทนุ ในสนิ ทรพั ย์ โดยจะนาํ เอาคณุ ลักษณะของ
และตลาด สนิ ทรพั ยท์ างการเงินเขา้ มาพจิ ารณาประกอบดว้ ย โดย
ก า ร เ งิ น เฉพาะอยา่ งยงิ คณุ ลักษณะดา้ นความ เสยี ง และผล
ตอบแทนจากการลงทนุ

ราคาของสินทรัพย์ทางการเงินจะเปนกลไกสาํ คัญใน
การชีนาํ การจัดสรรเงินทุน และชีว่าใครควรจะได้รับ
การจัดสรรเงินทุน

บทบาทในการเสริมสร้างสภาพคล่องของการซือขาย
ตลาดการเงินอํานวยความสะดวกในการซือขาย
สินทรพั ย์ทางการเงินให้ทุกฝาย
ทําให้ผู้ถือสินทรพั ย์ไม่ต้องถือสินทรพั ย์ไปตลอด
โดยผู้ถือสามารถขายเพือเปลียนสภาพกลับเปน
เงินสดได้โดยสะดวกเมือผู้ถือต้องการจะใช้เงินทุน

รู้ แ ล ะ เ ข้ า ใ จ
ตลาดแรก
และ
ตลาดรอง

BASED ON MARKET LEVELS

ตลาดแรก เสนอขายแก่ผู้ลงทุนประเภทสถาบันทีทางสาํ นักงาน
ก.ล.ต. กําหนดไว้ ซึงในปจจุบันนีมี 17 ประเภท อาทิ
Primary Market ธนาคารพาณิชย์ บรษิ ัทเงินทุน บรษิ ัทหลักทรพั ย์
บรษิ ัทประกันภัย กองทุนรวม เปนต้น
ตลาดแรก เปนตลาดทีเสนอขายหลักทรัพย์ทีมี การเสนอขายหลักทรพั ย์แก่ประชาชนทัวไป
การออกใหม่และนาํ ไปขายในตลาดเปนครังแรก (Public Offering หรอื PO) บรษิ ัททีต้องการจะ
ของบริษัทผู้ต้องการเงินทุน เสนอขาย หลักทรพั ย์จะต้องดาํ เนินการขออนุญาต
โดยมีการเสนอขายตราสารทุนในตลาดนี 2 วิธีคือ ต่อสํานักงาน ก.ล.ต. และดําเนินการตามขันตอนที
การเสนอขายหลักทรพั ย์แก่บุคคลในวงจํากัด สํานักงาน ก.ล.ต.กําหนด
(Private Placement หรอื PP) โดยผู้ออก
ตราสารสามารถ เสนอขายได้ 2 แบบ คือ
เสนอขายให้กับผู้ลงทุนโดยเฉพาะเจาะจงไม่เกิน 35
รายในระยะเวลา 12 เดือน

ตลาดรอง

Secondary Market or Trading Market

ตลาดรอง เปนตลาดทีทําการซอื ขายตราสารทางการ และยงั เปนแหล่งซอื ขายหลักทรพั ยท์ ีมกี ารออก
เงินทีเคยถกู ทําการซอื ขายผา่ น จาํ หนา่ ยและหมุนเวยี นอยูใ่ นระบบอยูแ่ ล้ว
ตลาดแรกมาแล้ว กล่าวอีกนยั หนงึ ตลาดรองก็คือ ทําใหเ้ กิดสภาพคล่อง และเกิดการเปลียนมอื ระหวา่ งผู้
ตลาดขายของมอื สองนนั เอง การซอื ขายตราสารใน ลงทนุ อาทิ ตลาดหลักทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย (SET)
ตลาดรองจงึ เปนการซอื ขายทีทําใหเ้ ปลียนมอื ของนกั ตลาดหลักทรพั ยเ์ อ็ม เอ ไอ (MAI) ตลาดตราสารหนี
ลงทนุ ผถู้ ือครองตราสาร (BEX) เนอื งจากการซอื ขายหลักทรพั ยม์ ผี ลกระทบต่อ
ตลาดรองเปนตลาดทีสรา้ งสภาพคล่องของการ สาธารณชน จงึ มกี ารดแู ลทังในดา้ นการใหข้ อ้ มูล การ
เปลียนมือ รวมถึงการเปนตลาดเพือหากําไรจากการ เปดเผยขอ้ มูลเพอื ประกอบการตัดสนิ ใจ โดยมี
เปลียนแปลงของราคา ตลาดรองของตราสารหนี สาํ นกั งาน ก.ล.ต. เปนผกู้ ํากับในภาพรวม และ
และตราสารทุนทีจัดตังขึนอย่างเปนทางการจะแยก ตลาดหลักทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทยเปนผดู้ แู ลการซอื ขาย
ออกจากกัน

ตราสารทุน

ต ร า ส า ร ทุ น เ ป น ต ร า ส า ร ที แ ส ด ง ค ว า ม เ ป น
เ จ้ า ข อ ง กิ จ ก า ร / มี สิ ท ธิ ใ น ก า ร แ ป ล ง เ ป น
ห รื อ ซื อ หุ้ น ส า มั ญ แ ฝ ง อ ยู่  

EQUITY

หุ้ น ส า มั ญ - ได้รบั ส่วนแบ่งในทรพั ย์สิน กรณีทีเลิกกิจการ
เปนลําดับสุดท้ายหลังจากผู้เรยี กรอ้ งอืน ๆ แล้ว
Common Stock - รบั ข้อมูลข่าวสารเกียวกับความคืบหน้าของ
บรษิ ัท: การใช้ข้อมูลภายใน (Inside
แสดงความเปนเจ้าของกิจการ โดยความเปน Information) เพือ หาประโยชน์จากการทํา
เจ้าของถูกแบ่งตามจาํ นวนหุ้น และอัตราส่วน ธุรกรรมซือขายหุ้น ถือว่าเปนการกระทําทีผิด
การถือครองหุ้น กฎหมาย
- ได้รบั ส่วนแบ่งกําไรในรูปของเงินปนผล เปน
ได้รับสิทธิต่าง ๆ ของผู้ถือหุ้นตามทีกฎหมาย ลําดับสุดท้ายหลังจากผู้เรยี กรอ้ งอืน ๆ แล้ว
กําหนด
- สิทธิออกเสียงในทีประชุมผู้ถือหุ้น0 ตาม
สัดส่วนของหุ้นทีถืออยู่0: การเลือกตังผู้บรหิ าร
เรอื งเงินปน ผล และแต่งตังผู้ตรวจสอบบัญชี

หุ้ น บุ ริ ม สิ ท ธิ ผอู้ อกมคี วามเสยี งนอ้ ยกวา่ ห้นุ กู้ เนอื งจากไมจ่ า่ ย
เงินปนผลก็ไมไ่ ด้ทําให้ต้องล้มเลิกกิจการ
Preferred Stock ผอู้ อกห้นุ บุรมิ สทิ ธไิ มส่ ามารถนาํ เงินปนผลไปหัก
เปนค่าใชจ้ า่ ยในการคํานวณภาษีได้เชน่ เดียวกับ
แสดงความเปนเจา้ ของกิจการ การออกห้นุ กู้
มลี ักษณะกึงหนีสนิ กึงห้นุ สามญั (Hybrid) ได้
รบั เงินปนผลในอัตราทีกําหนดแนน่ อน
เปนจาํ นวนคงที

- คิดเปนรอ้ ยละจากมูลค่าทีตราไว้
- ระบุเปนจาํ นวนเงินต่อหนุ้ โดยตรง ไมไ่ ดร้ บั
สทิ ธลิ งคะแนนเสยี งในทีประชุมผถู้ ือหนุ้ /ไมม่ ี
สว่ นเกียวขอ้ งกับการตัดสนิ ใจในการบรหิ าร
กิจการ
มสี ทิ ธไิ ด้รบั เงินปนผลก่อนผถู้ ือห้นุ สามญั
ในกรณีทีเลิกกิจการ มสี ทิ ธไิ ด้รบั สว่ นแบง่ ใน
สนิ ทรพั ยข์ องกิจการหลังเจา้ หนี แต่จะได้รบั ก่อน
ผถู้ ือห้นุ สามญั

ตราสารหนี

“ สั ญ ญ า ( ต ร า ส า ร ) ที แ ส ด ง ก า ร กู้ ยื ม เ งิ น ร ะ ห ว่ า ง ผู้ กู้
( บ ริ ษั ท ผู้ อ อ ก ต ร า ส า ร ห นี ) กั บ ผู้ ใ ห้ กู้ ( นั ก ล ง ทุ น ใ น

ต ร า ส า ร ห นี ) โ ด ย ใ น สั ญ ญ า จ ะ มี ร า ย ล ะ เ อี ย ด เ กี ย ว กั บ ก า ร
กู้ ยื ม นั น ๆ ทั ง นี ก อ ง ห นี สิ น ( สิ น ท รั พ ย์ ) จ ะ ถู ก แ บ่ ง อ อ ก
เ ป น ห น่ ว ย ย่ อ ย ซึ ง แ ต่ ล ะ ห น่ ว ย ย่ อ ย จ ะ มี มู ล ค่ า เ ท่ า กั น ”

DEBT INSTRUMENTS

ต ร า ส า ร ห นี ภ า ค รั ฐ

ตราสารหนีทีออกโดยรัฐบาล ซึงประกอบด้วย
ตัวเงินคลัง (Treasury Bill) เปนตราสารหนีระยะสันอายุไม่เกิน 1 ป ทีรฐั บาลเป นผู้ออกเพือกู้
ยืมเงินระยะสันจากประชาชน เปนประเภทไม่มีดอกเบียหน้าตัว
พันธบัตรรัฐบาล (Treasury Bond) เปนตราสารหนีระยะกลางและยาวอายุเกินกว่า 1 ป ตราสาร
หนีทีออกโดยองค์กรภาครฐั เปนตราสารหนีทีออกโดยองค์กรภาครฐั และมีชือตามองค์กรทีออก
เช่น พันธบัตรรฐั วิสาหกิจ พันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย พันธบัตรกองทุนเพือการฟนฟูและ
พัฒนาระบบสถาบันการเงิน ฯลฯ ตราสารประเภทนีถือว่าเปนตราสารทีมีความเสียงจากการผิดนัด
ชําระหนีเงินต้นและดอกเบีย (Default Risk) ตํา 

ต ร า ส า ร ห นี ภ า ค เ อ ก ช น

เปนตราสารหนีทีมีอายุมากกว่า 1 ป ทีออกโดยบรษิ ัทในภาคเอกชน เพือระดมทุนจากประชาชนทัวไป
เพือนําไปใช้ในการดําเนินงานและขยายกิจการ
อัตราผลตอบแทนของหุ้นกู้ภาคเอกชนจะสูงกว่าอัตราผลตอบแทนของพันธบัตรรฐั บาลทีมีลักษณะ
และอายุ ใกล้เคียงกัน โดยส่วนต่างทีเพิมขึน (Credit Spread) เปนส่วนชดเชยทีผู้ลงทุนเรยี ก
เพิมขึนเพือชดเชยความเสียงต่างๆทีมากกว่าการลงทุนในพันธบัตรรฐั บาล
หนุ้ ก้มู กั จะมคี วามเสยี งจากการผดิ นดั ชาํ ระคืนดอกเบยี และเงินต้นมากกวา่ ตราสารหนขี องภาครฐั ซงึ จะ
สะท้อนใหเ้ หน็ ในรปู ของสว่ นต่างอัตราผลตอบแทน (Credit Spread) ทีผลู้ งทนุ ต้องการเพอื ชดเชยความ
เสยี งต่างๆ

กองทุน กองทุนรวม เปนการรวบรวมเงินทุน
รวม
จากนักลงทุนทัวไป คนละเล็กคนละน้อย
mutual fund.
เพือรวมเปนเงินก้อนขนาดใหญ่ แล้วนาํ

เงินทีรวบรวมนันไปลงทุนตามทีได้

ตกลงกับนักลงทุน กองทุนทีรวบรวม

เงินทีได้นีจะได้รับการบริหารจัดการจาก

บริษัทจัดการกองทุนซึงมีหน้าทีลงทุน

แทนนักลงทุนหรือผู้ถือหน่วยลงทุน และ

มีการจัดตังผู้ดูแลผลประโยชน์เพิมขึน

มาอีกซึงกฎหมายจะกําหนดเอาไว้ เพือ

คอยดูแลเงินกองทุนนันแทนนักลงทุนที

นาํ เงินมาลงทุน ในกรณีทีบริษัทจัดการ

กองทุนล้ม ผู้ดูแลผลประโยชน์ก็จะ

ชดเชยให้กับนักลงทุน หรือบริษัทจัดการ

กองทุนไม่ได้ทําตามหนังสือชีชวนผู้ดูแล

ผลประโยชน์ก็จะเอาผิดบริษัทจัดการ

กองทุนแทนผู้ถือหน่วยลงทุนได้เช่นกัน

ตราสาร
อ นุ พั น ธุ์

ต ร า ส า ร อ นุ พั น ธ์

Derivative Instruments

ตราสารอนพุ นั ธ์ หมายถึง ตราสารทีกําเนดิ จาก ประเภทของตราสารอนุพันธุ์
หรอื ผนั แปรตามสงิ ทีอ้างอิง โดยทัวไปตราสาร แบ่งตามประเภทของสินค้าอ้างอิง
อนพุ นั ธจ์ ะมมี ูลค่าขนึ อยูก่ ับสนิ ทรพั ยอ์ ้างอิง
(Underlying Asset) หรอื ตัวแปรอ้างอิง ตราสารอนุพันธ์ทีมีสินค้าโภคภัณฑ์เปน
(Underlying Variable) สนิ ทรพั ยอ์ ้างอิงเชน่ สินค้าอ้างอิง สินค้าโภคภัณฑ์ทีรองรบั
เงินตราต่างประเทศ, พนั ธบตั ร, ตัวเงิน, หนุ้ สามญั , ตราสารอนุพันธ์มีหลากหลายทังสินค้า
ขา้ วและนม้ นั ตัวแปรอ้างอิงเชน่ อัตราแลก เกษตร ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร พลังงงาน
เปลียน, อัตราดอกเบยี และดชั นหี ลักทรพั ย์ เปน โลหะ
ตราสารทีมอี ัตราทด (Leverage Instrument) ตราสารอนุพันธ์ทีมีสินทรพั ย์หรอื ตัวแปร
ไดร้ บั ผลตอบแทน (ทังกําไรและขาดทนุ )จากการ ทางการเงินเปนสินค้าอ้างอิง เปนตราสาร
ลงทนุ สงู เมอื เทียบกับ เงินลงทนุ เรมิ ต้น อนุพันธ์ทีอ้างอิงกับ ตราสารทุนตราสารหนี
อัตราแลกเปลียนเงินตราระหว่างประเทศ

แ บ่ ง ต า ม ลั ก ษ ณ ะ พั น ธ ะ ผู ก พั น ข อ ง สั ญ ญ า

สญั ญาซอื ขายล่วงหนา้ (Forward และ Futures Contract) สญั ญาซอื ขายล่วงหนา้ คือ สญั ญา
ทีถกู จดั ทําขนึ ระหวา่ งค่สู ญั ญา 2 ฝาย (ผจู้ ะซอื และ ผจู้ ะขาย) ทีตกลงในวนั นเี พอื ทีจะทําการซอื ขาย หรอื
แลกเปลียน สนิ ค้าอยา่ งหนงึ ในอนาคต (ต้องปฏิบตั ิตาม) เชน่ สญั ญาฟอรเ์ วริ ด์ สญั ญาฟวเจอรแ์ ละ
ออปชนั
สญั ญาสทิ ธิ (ออปชนั )สญั ญาทีตกลงในวนั นีของค่สู ญั ญา 2 ฝายระหวา่ งผซู้ อื (Long หรอื
holder) กับผขู้ าย (Short หรอื writer) โดยผซู้ อื ไดร้ บั สทิ ธิ (Contingent Claim) ทีจะซอื หรอื
ขายสนิ ค้าอ้างอิงในเงือนไขราคา(Strike/Exercise Price) จาํ นวนและระยะเวลาทีระบุไวใ้ นสญั ญา สว่ น
ผขู้ ายไดผ้ ลตอบแทนเปนค่าออปชนั พรเี มยี ม (Option premium) เปนการแลกเปลียนกับสทิ ธิ
(Contingent Claim) ทีมอบใหผ้ ซู้ อื  

ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ต ล า ด ก า ร เ งิ น สาํ ห รั บ อ ง ค์ ก ร
ดํา เ นิ น ธุ ร กิ จ

การบรหิ ารสภาพคล่อง กล่าวคือ ขณะทีองค์กรมีเงินส่วนเกินอยู่ ก็จะนาํ เงินนีไปหาผลตอบแทนใน
ตลาดเงินด้วยการลงทุนระยะสันในตราสารหนีระยะสัน เช่น สัญญาใช้เงิน ตัวแลกเงิน เปนต้น และ
ในทางกลัวกัน หากขณะใดทีองค์กรอยู่ในภาวะขาดสภาพคล่อง ก็จะออกตราสารหนีระยะสันไปเพือ
หาเงินจากตลาดเงิน
การจัดหาเงินทุนระยะยาวจากแหล่งภายนอกเพือความเติบโตขององค์กร แหล่งเงินทุนภายนอก
หมายถึง เงินทุนทีได้รบั เนืองมาจากบุคคลภายนอกกิจการนาํ เงินหรอื นาํ สินทรพั ย์อืนใดเข้ามาลงทุน
ในกิจการ อาจจะเข้ามาในรูปหนีหรอื เจ้าของกิจการ เพือมาลงทุนในโครงการระยะยาวของบรษิ ัท
การทีมีตลาดการเงินทําให้องค์กรจัดหาเงินทุนได้สะดวกขึน
การบรหิ ารความเสยี งตลาดอนพุ นั ธ์ ซงึ เปนหนงึ ในตลาดการเงินมตี ราสารอนพุ นั ธท์ ีเอือประโยชนใ์ หก้ ับ
องค์กรธุรกิจในการวางแผน และการดาํ เนนิ การปองการความเสยี ง โดยเฉพาะอยา่ งยงิ ความเสยี งทีไม่
สามารถควบคมุ ได้ กระบวนการปองกันความเสยี งหรอื การบรหิ ารความเสยี งโดยการใชต้ ราสารอนพุ นั ธน์ ี
เรยี กวา่ Hedge

คุณได้อะไรจาก
หนังสือเล่มนี?

เรามีคําถาม 5 ข้อจากเนือหาที คุณอ่ าน 

ไปตอบคําถามกั นเถอะ 

คํา ถ า ม

Let's find the answer

1 ตลาดการเงินคืออะไร?

2 ทรัพย์สินทางการเงินมี

กีประเภท?

3 จงบอกความสัมพันธ์ระหว่าง

สินทรัพย์ทางการเงินและ
ตลาดการเงิน

4 ตราสารทุนประกอบไปด้วย

หุ้นอะไรบ้าง?

5 พันธบัตรรัฐบาล Treasury

bond เปนตราสารหนีทีมี
ระยะเวลาเท่าใดและองค์กร
ใดสามารถออกตราสารหนีนี
ได้?

Good luck

Presented by

Miss Saowadee Sitthisarn 6012416002116
Mr. Teesiwa Sungkajareet 6012416002105
Mr. Wanaporn Rattanarueng 6012416002119

Mr. Rachnikorn Boonbai 6012416002125

3rd year student in Bachelor of Business Administration Business Information System


Click to View FlipBook Version