The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสาร PLC : Professional Learning Community กับการพัฒนาครูเพื่อศิษย์ ยุค Thailand 4.0 ผู้เรียบเรียง ดร.นัตยา หล้าทูนธีรกุล ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5 เป็นศึกษานิเทศก์ผู้รับผิดชอบการขับเคลื่อนจุดเน้นการปฏิรูปการศึกษา 6 ยุทธศาสตร์ ของกระทรวงศึกษาธิการ ได้จัดทำขึ้น เพื่อใช้ในการอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ครูในนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การจัดการเรียนรู้ แนว Active Learning แนว STEM Education และการจัดการเรียนรู้ภายใต้กรอบแนวคิด Thailand 4.0 โดยนำกระบวนการของ PLC : Professional Learning Community สู่สถานศึกษา ผ่านภาระงานการออกแบบหน่วยการเรียนรู้และการจัดการเรียนรู้สู่คุณภาพผู้เรียนยุค Thailand 4.0

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wasan5859, 2019-06-09 22:56:03

หนังสือ-PLC-กับการพัฒนาครูเพื่อศิษย์-ยุค-Thailand-4.0

เอกสาร PLC : Professional Learning Community กับการพัฒนาครูเพื่อศิษย์ ยุค Thailand 4.0 ผู้เรียบเรียง ดร.นัตยา หล้าทูนธีรกุล ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5 เป็นศึกษานิเทศก์ผู้รับผิดชอบการขับเคลื่อนจุดเน้นการปฏิรูปการศึกษา 6 ยุทธศาสตร์ ของกระทรวงศึกษาธิการ ได้จัดทำขึ้น เพื่อใช้ในการอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ครูในนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การจัดการเรียนรู้ แนว Active Learning แนว STEM Education และการจัดการเรียนรู้ภายใต้กรอบแนวคิด Thailand 4.0 โดยนำกระบวนการของ PLC : Professional Learning Community สู่สถานศึกษา ผ่านภาระงานการออกแบบหน่วยการเรียนรู้และการจัดการเรียนรู้สู่คุณภาพผู้เรียนยุค Thailand 4.0

PLC สู่ ครูเพ่อื ศษิ ย์ 0

เผยแพร่ 12 มีนาคม 2560

PLC สู่ ครูเพอื่ ศษิ ย์ 1

คานา

เอกสาร PLC : Professional Learning Community กับการพัฒนาครูเพ่ือศิษย์
ยุค Thailand 4.0 ฉบับนี้ ผู้เรียบเรียง ดร.นัตยา หล้าทูนธีรกุล ศึกษานิเทศก์ สานักงาน
เขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแก่น เขต 5 เปน็ ศกึ ษานิเทศก์ ผู้รับผิดชอบการขับเคลื่อน
จุดเน้นการปฏิรูปการศึกษา 6 ยุทธศาสตร์ ของกระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์ที่ 1
ด้านหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ และยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการผลิตพัฒนากาลังคนและ
งานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการของการพัฒนาประเทศ ได้จัดทาขึ้น เพื่อใช้ในการอบรม
เชิงปฏิบัติการแก่ครูในนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การจัด
การเรียนรู้ แนว Active Learning แนว STEM Education และการจัดการเรียนรู้ภายใต้
กรอบแนวคิด Thailand 4.0 โดยนากระบวนการของ PLC : Professional Learning
Community สู่สถานศึกษา ผ่านภาระงานการออกแบบหน่วยการเรียนรู้และการจัดการ
เรยี นรสู้ ูค่ ุณภาพผเู้ รียนยคุ Thailand 4.0

สาระสาคญั ในเอกสารน้ี ประกอบด้วย เนอ้ื หาสาคัญ 14 ประการ ดงั น้ี
1. ความหมาย PLC : Professional Learning Community
2. PLC สู่ ครเู พ่อื ศษิ ย์
3. แผนงาน PLC สู่ ครูเพ่ือศษิ ย์
4. ความหมาย Thailand 4.0
5. แนวทางทางการปฏิรูปการศึกษาไทยสู่ผลลัพธ์Thailand 4.0
6. ความหมายActive Learning
7. Active Learning สู่ หลักสตู รระดบั ชนั้ เรียน
8. ตวั ชว้ี ดั ช้ันปชี ี้ตาแหน่ง Active Learning ส่งิ ท่ีไดป้ ฏิบตั ิจรงิ
9. Active Learning กบั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้แนว STEM Education
10. การนา Active Learning ไปเสรมิ ประสทิ ธิภาพการขับเคล่อื นนโยบาย
“ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้”
11. การเชอ่ื มโยงหลักสตู ร : Curriculum Alignment กุญแจสาคัญของการ
เข้าถึงผลลพั ธ์ Thailand 4.0
12. การออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ ภายใตก้ รอบแนวคิด Thailand 4.0
13. ใบงานทใ่ี ชป้ ระกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการของครู
14. ใบงาน แผนงาน PLC สู่ครูเพื่อศษิ ย์

PLC สู่ ครเู พือ่ ศษิ ย์ 2

การนากระบวนการ PLC : Professional Learning Community มาใชใ้ นการพัฒนา
ครูเพื่อศษิ ย์ ยคุ Thailand 4.0 นี้ ถือว่าเปน็ กา้ วแรกของโรงเรยี นสว่ นใหญ่ในประเทศไทย
ทตี่ ้องขับเคลอื่ นนโยบายเหลา่ น้ีไปพร้อมๆกัน อย่างชัดเจนและม่ันใจ ซง่ึ สาระทนี่ าเสนอใน
เอกสารน้ี สามารถนาไปประยกุ ต์ใชไ้ ดใ้ นทกุ บรบิ ทของโรงเรยี นทจี่ ัดการเรียนร้ตู ามหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ท้ังระดับประถมศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษา
เนอื่ งจากมกี รณีตัวอยา่ งหลากหลาย และออกแบบการนาเสนอแบบงา่ ยๆ สามารถศึกษาได้
ดว้ ยตนเอง ซ่ึงผู้เรยี บเรยี ง มีความยนิ ดีบรกิ ารวิชาการ ในเนอ้ื หา/เรื่องราว ตา่ งๆ ที่เช่อื มโยง
กบั เน้ือหา ในเอกสารน้ี ได้ตลอดเวลา ผ่าน facebook นาม ศน.นตั ยา หล้าทูนธรี กลุ ทพี่ รอ้ ม
เปน็ แหล่งส่งเสรมิ งานวชิ าการอย่างต่อเนอื่ ง

ดร.นตั ยา หล้าทนู ธรี กุล
Ph.D in Curriculum & Instruction

PLC สู่ ครเู พ่อื ศษิ ย์ 3

สารบัญ

เนื้อหา หนา้

คานา 1
สารบญั 3
α ความหมาย PLC : Professional Learning Community 4
α PLC สู่ ครเู พ่ือศษิ ย์ 5
α แผนงาน PLC สู่ ครูเพ่ือศษิ ย์ 6
α Thailand 4.0 คือ อะไร 8
α การปฏริ ปู การศึกษาไทยสผู่ ลลพั ธ์Thailand 4.0 มแี นวทางอย่างไร 9
α Active Learning คอื อะไร 10
α Active Learning สู่ หลักสตู รระดบั ชน้ั เรียน 11
12-13
α ตัวช้ีวัดชนั้ ปีช้ีตาแหน่ง Active Learning สิ่งทีไ่ ดป้ ฏิบตั จิ ริง 14-16
α Active Learning กับ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้แนว STEM Education 17-18
α การนา Active Learning ไปเสรมิ ประสทิ ธภิ าพการขบั เคล่ือนนโยบาย
19
“ลดเวลาเรยี น เพ่มิ เวลารู้”
α การเชอื่ มโยงหลกั สตู ร : Curriculum Alignment กญุ แจสาคัญของการเข้าถึง 20-47
48-52
ผลลพั ธ์ Thailand 4.0 53
α ตวั อย่างการออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้ภายใตก้ รอบแนวคดิ Thailand 4.0 54
55
α ใบงานที่ใชป้ ระกอบการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารของครู
α ใบงาน แผนงาน PLC ส่คู รูเพอื่ ศิษย์
เอกสารอ้างองิ
ประวัติผู้เขียน/วิทยากร

PLC สู่ ครูเพ่อื ศษิ ย์ 4

PLC : Professional Learning Community คอื อะไร

Professional Learning Community (PLC) ตรงกับข้อความในภาษาไทย ว่า
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มีความหมายตรงกับเหตุการณ์ว่า “เกิดการรวมตัว รวมใจ รวม
พลัง ร่วมมือกัน ในการช่วยเหลือ แนะนา ให้กาลังใจกัน ของครู ผู้บริหาร และนักการศึกษา
ในโรงเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เกิดผลดีมีคุณภาพในยุคศตวรรษท่ี 21 :
Teachers, administrators, teacher educators, and communities seeking advice
and motivation for restructuring schools for the 21st century would be well
advised to consult this work." (Sergiovanni,1994)

ความหมาย Professional Learning Community (PLC) ในองค์กรระดับโรงเรียน
ที่นาเสนอมานั้น เม่ือพิจารณารูปแบบ (Model) ของ Hiatt-Michael, D. (Ed.). (2001)
เราจะเหน็ ภาพของกระบวนการ PLC ไดล้ ึกซึ้ง ชัดเจน ดังภาพ

ดังนั้น PLC ในองค์กรระดับโรงเรียน จะต้องเกิดจากความเป็นตัวตนในวิชาชีพของ
บุคลากรในโรงเรียนทุกคน ภายใต้โครงสร้างการบริหารจัดการของโรงเรียนในช่วงเวลา 3-5 ปี
ตามแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรยี น

PLC สู่ ครเู พอื่ ศษิ ย์ 5

PLC สู่ ครูเพื่อศิษย์

ระบบของ PLC (Professional Learning Community) กรณีตัวอย่างของโรงเรียน
แห่งหน่ึง ท่ีมีความต้องการจาเป็นให้เกิด “ระบบ PLC ให้ทีมครูจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
โดยใชS้ TEM Education เพือ่ พัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียนยคุ Thailand 4.0” มีกรอบแนวคดิ ดงั น้ี

ปจั จยั ของPLC กระบวนการของPLC

วินยั 5 ประการ ของบุคลากรในโรงเรยี น ขนั้ ตอนที่ 1 Community
1. ความรอบรูแ้ หง่ ตน (Personal Mastery) สร้างทมี ครูบูรณาการ STEM Education
2. แบบแผนความคดิ อา่ น (Mental Models)
3. วิสัยทัศนร์ ว่ ม (Shared Vision) ข้ันตอนท่ี 2 Practice
4. การเรยี นรขู้ องทมี (Team Learning) จดั การเรยี นรบู้ รู ณาการ STEM Education
5. การคิดอย่างเปน็ ระบบ ขน้ั ตอนท่ี 3 Reflection
สะท้อนคิดเพื่อการพฒั นาการปฏิบตั ิ
(Systematic Thinking) ข้นั ตอนที่ 4 Evaluation
ประเมนิ เพือ่ การพฒั นาสมรรถนะครู
Senge (1990) ข้นั ตอนท่ี 5 Network Development
สร้างเครือข่ายการพฒั นา
ผลลัพธ์ของPLC

คุณภาพผ้เู รียนยคุ Thailand 4.0

ผลผลิตของPLC

ครมู สี มรรถนะในการจัดการเรียนรู้
บรู ณาการ STEM Education

-คิดเองได้
-ทาเองได้

-ผลติ ผลงานอย่างสรา้ งสรรค์ได้

PLC สู่ ครูเพ่อื ศิษย์ 6

แผนงาน PLC สู่ ครเู พื่อศิษย์

แผนงาน/ปฏิทินงาน PLC กรณีตัวอย่างของโรงเรียนแห่งหนึ่ง ท่ีมีความต้องการ
จาเป็นให้เกิด “ระบบ PLC ให้ทีมครูจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ โดยใช้STEM Education
เพ่อื พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ยคุ Thailand 4.0” มีแผนงาน/ปฏทิ ินงาน ดงั นี้

นตอน ผ้เู ก่ยี วข้อง ระยะเวลา
ของกระบวนการPLC ในขั้นตอนของกระบวนการPLC เครอ่ื งมอื พัฒนา

ขนั้ ตอนที่ 1 Community 1.สาระการพฒั นา คือ สร้างทีมครบู รู ณาการ สัปดาห์ที่ 1
วัน/เดอื น/ปี
สร้างทีมครบู ูรณาการ 2.ผ้รู ับการพฒั นา คือ ครู แบบบนั ทกึ
ทมี ครูบรู ณาการ
STEM Education 3.ผูเ้ ปน็ พเ่ี ล้ียง (Mentor Coaching) คอื

ผู้อานวยการสถานศึกษา และครวู ิชาการ

ขนั้ ตอนท่ี 2 Practice 1.สาระการพฒั นา คอื สรา้ งหนว่ ยการเรียนรู้ สัปดาหท์ ่ี 2-4
จัดการเรียนรู้บูรณาการ และจดั การเรยี นรู้บรู ณาการ วนั /เดือน/ปี
STEM Education 2.ผรู้ บั การพฒั นา คือ ครู แบบประเมินคณุ ภาพ
3.ผเู้ ป็นพเี่ ลี้ยง (Mentor Coaching) คอื หนว่ ยการเรยี นรูแ้ ละ
ขั้นตอนท่ี 3 Reflection ผู้อานวยการสถานศึกษา ครูวชิ าการ และ จัดการเรยี นรบู้ รู ณาการ
สะท้อนคดิ ศกึ ษานเิ ทศก์
เพื่อการพฒั นาการปฏบิ ตั ิ
1.สาระการพัฒนา คือ การพบกลุ่มเพ่ือสะทอ้ น สัปดาหท์ ี่ 2-4
ขน้ั ตอนที่ 4 Evaluation
ประเมินเพอ่ื การพัฒนา คดิ จากการจดั การเรยี นรบู้ ูรณาการ วัน/เดอื น/ปี
สมรรถนะครู
2.ผู้รบั การพฒั นา คือ ครู แบบบนั ทกึ
ขนั้ ตอนท่ี 5 3.ผเู้ ปน็ พีเ่ ล้ยี ง (Mentor Coaching) คือ การสะท้อนคิด
Network ผู้อานวยการสถานศึกษา และครูวชิ าการ
Development
สร้างเครือข่ายการพัฒนา 1.สาระการพฒั นา คือ การประเมนิ สปั ดาห์ที่ 2-4
เพอื่ การพัฒนาสมรรถนะครู วนั /เดือน/ปี
2.ผู้รบั การพัฒนา คือ ครู แบบบนั ทกึ การประเมิน
3.ผู้เปน็ พ่ีเลย้ี ง (Mentor Coaching) คือ สมรรถนะครู
ผอู้ านวยการสถานศึกษา และครูวิชาการ

1.สาระการพฒั นา คอื การประเมิน สัปดาห์ที่ 5
การสรา้ งเครือขา่ ยการพัฒนา แบบบนั ทึกการสร้าง
2.ผูร้ บั การพฒั นา คือ ครู เครอื ข่ายการพฒั นา
3.ผู้เป็นพ่เี ลี้ยง (Mentor Coaching) คือ
ผู้อานวยการสถานศึกษา และครวู ชิ าการ

PLC สู่ ครเู พ่อื ศิษย์ 7

PLC สู่ ครูเพอ่ื ศิษย์ 8

Thailand 4.0 คอื อะไร

Thailand 4.0 คือ Model การพัฒนาเศรษฐกิจ ภายใต้การบริหารประเทศไทย
ของรัฐบาล พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และหัวหน้าคณะรักษาความสงบ
แห่งชาติ (คสช.) บนวิสัยทัศน์ภายใน 5-6 ปี ที่ระบุว่า “มั่นคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน” ให้เป็นประเทศ
ท่ีมีเศรษฐกิจใหม่ (New Engines of Growth) มีรายได้สูง จากเศรษฐกิจท่ีขับเคลื่อนด้วย
นวัตกรรม (Value Based Economy)

ที่มา : http://www.drborworn.com/articledetail.asp?id=16223

Value Based Economy คือ การขับเคลื่อนเศรษฐกิจแนวใหม่ท่ีเปลี่ยนจากการ
ผลิตสินค้า “โภคภัณฑ์” ไปสู่สินค้าเชิง “นวัตกรรม” เปล่ียนจากการขับเคล่ือนประเทศ
ด้วยภาคอุตสาหกรรม ไปสู่การขับเคล่ือนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และ
นวตั กรรม และเปลีย่ นจากการเนน้ ภาคการผลิตสินค้า ไปส่กู ารเน้นภาคบรกิ ารมากขน้ึ

Thailand 4.0 พฒั นาเรอ่ื งสาคัญ 5 กลมุ่ ดังน้ี
1. กลุ่มอาหาร เกษตร และเทคโนโลยีชวี ภาพ
2. กลุ่มสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์
3. กลมุ่ เคร่อื งมือ อุปกรณ์อัจฉรยิ ะ หุน่ ยนต์ และระบบเครอื่ งกล
ทใ่ี ชร้ ะบบอิเลก็ ทรอนกิ สค์ วบคุม
4. กลุม่ ดจิ ติ อล เทคโนโลยีอินเตอรเ์ นต็ ที่เชอื่ มต่อและบังคบั อปุ กรณ์ตา่ งๆ
ปญั ญาประดิษฐ์และเทคโนโลยีสมองกลฝังตวั
5. กลุ่มอตุ สาหกรรมสร้างสรรค์ วัฒนธรรม และบรกิ ารท่ีมมี ลู ค่าสงู

PLC สู่ ครเู พอ่ื ศษิ ย์ 9

การปฏริ ปู การศกึ ษาไทยสูผ่ ลลัพธ์Thailand 4.0 มแี นวทางอย่างไร

กระทรวงศึกษาธกิ าร ไดก้ าหนดกรอบแนวคิดเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบตั กิ ารปฏริ ปู
การศกึ ษาไทยสผู่ ลลพั ธ์ Thailand 4.0 ท่ีครอบคลุมภารกจิ การจัดการศกึ ษาใน 4 องค์กรหลัก
ทม่ี ีกรอบบทบาท หนา้ ที่ เก่ียวขอ้ งกบั การจัดการเรียนร้สู คู่ ุณภาพผู้เรียนใหเ้ ปน็ พลเมืองไทย4.0
ได้แก่ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน(สพฐ.) สานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอก
ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั (กศน.) สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา(สอศ.) และ
สานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา(สกอ.) โดยให้ทกุ องคก์ ร จัดการศึกษาให้ได้ผลผลิตทดี่ ี
ตามระดบั หลกั สตู ร และเกดิ ผลลัพธ์ในเป้าหมายการขบั เคลื่อนประเทศโมเดล Thailand 4.0

ดังนั้น สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน(สพฐ.) จาเป็นต้องส่งเสริม
สถานศึกษา ให้จัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ให้ได้คุณภาพในผลผลิตท่ีดีและเกิดผลลัพธ์ในเป้าหมายการขับเคล่ือนประเทศโมเดล
Thailand 4.0 ดว้ ยนวัตกรรมการจัดการเรียนรแู้ นวActive Learning ท่เี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ

PLC สู่ ครเู พือ่ ศิษย์ 10

Active Learning คอื อะไร

Active Learning คือ กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ลงมือกระทาและได้ใช้
กระบวนการคิดเก่ียวกับสิ่งที่เขาได้กระทาลงไป : Active learning is "anything that
involves students in doing things and thinking about the things they are doing"
(Bonwell & Eison, 1991, p. 2)

Active Learning คือ การเรียนรู้ภายใต้สมมติฐาน 2 ประการ คือ 1) การเรียนรู้
เป็นความพยายามโดยธรรมชาติของมนุษย์ และ 2) บคุ คล แตล่ ะบคุ คลมีแนวทางในการเรียนรู้
ที่แตกต่างกัน : Active learning is based on two assumptions : (1) that learning
is by nature an active endeavour and (2) that different people learn in different
ways" (Mayers and Jones, 1993).

PLC สู่ ครูเพ่ือศษิ ย์ 11

Active Learning สู่ หลกั สตู รระดับชั้นเรยี น

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นหลักสูตรแบบอิง
มาตรฐาน (Standards-based curriculum) ท่ีมีมาตรฐานเป็นเป้าหมาย ในการพัฒนาผู้เรียน
และเป็นกรอบทิศทางในการกาหนดโครงสร้าง เน้ือหา กิจกรรมการเรียนการสอน ตลอดจน
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จากหลักสูตรระดับชาติ จนถึงหลักสูตรระดับชั้นเรียน
ซึ่งการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรระดับช้ันเรียน จะต้องจัดการเรียนการสอนให้อิง
มาตรฐาน (Standards-based instruction) และการประเมินผลจะต้องอิงมาตรฐาน
(Standards-based assessment)

Active Learning สู่ หลักสูตรระดับช้ันเรียน จะปรากฏชัดเจนในหน่วยการเรียนรู้และ
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ครูออกแบบไว้สาหรับการจัดการเรียนรู้ โดยแต่ละหน่วยการเรียนรู้
จะมเี ปา้ หมายคณุ ภาพผู้เรียนท่ีกาหนดไว้ในตัวชี้วัดช้ันปี ท่ีมุ่งให้ผู้เรียนเกิดทั้งความรู้/ความคิด
รวบยอด (K : Knowledge) ทักษะ/การปฏิบัติ (P : Performance) และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ (Desirable Characteristic) หรอื คุณลักษณะ (A : Attribute)

PLC สู่ ครเู พอ่ื ศิษย์ 12

ตวั ชว้ี ัดชั้นปีชี้ตาแหน่ง Active Learning สิ่งท่ไี ด้ปฏิบัติจรงิ

กรณีตัวอย่างหน่วยการเรียนรู้ “มุมสูงภาพสวยด้วยมือเรา”

ตัวชว้ี ดั ชน้ั ปี ตวั ช้วี ดั ช้นั ปี
ว 7.2 ป.6/1 สืบคน้ อภปิ ราย ง 3.1 ป.6/2 ใช้คอมพวิ เตอร์
ความกา้ วหน้าและประโยชน์ ในการคน้ หาขอ้ มูล
ของเทคโนโลยี อวกาศ กจิ กรรมการเรยี นรู้
กจิ กรรมการเรียนรู้ แนว Active Learning
แนว Passive Learning คือ ใชค้ อมพวิ เตอร์สืบคน้ ความรู้
คอื อ่านหนงั สอื อ่านใบความรู้
แนว Active Learning ตวั ช้วี ัดชนั้ ปี
ค 3.2 ป.6/3 เขียนแผนผงั แสดง
คอื สบื คน้ ความรู้ ตาแหน่งของส่งิ ตา่ งๆและแผนผงั
จากการใช้คอมพิวเตอร์ แสดงเสน้ ทางการเดนิ ทาง
ค 6.1 ป.6/2 ใช้ความรู้ ทักษะ
ตวั ชว้ี ดั ช้ันปี และกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ว 8.1 ป.6/3 เลอื กอปุ กรณแ์ ละวธิ กี าร และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหา
สารวจ ตรวจสอบ ทถี่ กู ต้องเหมาะสม ในสถานการณ์ต่างๆได้อยา่ งเหมาะสม
ให้ได้ผลทีค่ รอบคลุมและเช่ือถือได้ ง 3.1 ป.6/5 ใช้คอมพิวเตอรช์ ่วยสร้าง
กิจกรรมการเรียนรู้ ชิ้นงานจากจนิ ตนาการหรืองานที่ทา
แนว Active Learning คือ เลือก ในชีวติ ประจาวันอย่างมีจิตสานึก
และมีความรับผดิ ชอบ
อุปกรณ์ทาการถา่ ยภาพมมุ สูง กิจกรรมการเรียนรู้
แนว Active Learning
คอื ใชค้ อมพิวเตอร์สรา้ งช้ินงาน

“ภาพมุมสูงโรงเรยี นของเรา”

PLC สู่ ครูเพือ่ ศิษย์ 13

Active Learning สผู่ ลลพั ธ์ Thailand 4.0

กรณีตวั อยา่ งหนว่ ยการเรียนรู้ “หอ้ งเรยี นสะอาดและสวยด้วยอนั ใด”

ตวั ช้วี ัดชน้ั ปี
ค 6.1 ป.3/2 ใช้ความรู้ ทักษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ในการแกป้ ัญหา

Active Learning สูผ่ ลลพั ธ์ Thailand 4.0 ในสถานการณ์ต่างๆไดอ้ ย่างเหมาะสม

ตัวชว้ี ดั ชน้ั ปี
ว 8.1 ป.3/2 วางแผนการสังเกต เสนอวธิ ี สารวจ ตรวจสอบ ศกึ ษาคน้ คว้า โดยใช้ความคิด

ของตนเอง ของกลุม่ และคาดการณส์ ิง่ ทีจ่ ะพบจากการสารวจตรวจสอบ

Active Learning สผู่ ลลพั ธ์ Thailand 4.0

ตัวชว้ี ัดชั้นปี

ว 2.1 ป.3/1 สารวจส่งิ แวดลอ้ มในท้องถน่ิ ของตนและอธิบายความสัมพันธข์ องสง่ิ มีชีวติ กับ

พ 4.1 ป.3/1 ส่งิ แวดลอ้ ม Active Learning
อธิบายการติดต่อและวิธกี ารป้องกนั และแพรก่ ระจายของโรค

ตวั ชี้วัดชัน้ ปี
ง 3.1 ป.3/1 คน้ หาข้อมลู อยา่ งมขี ัน้ ตอน และนาเสนอข้อมูล ในลักษณะต่างๆ

Active Learning สผู่ ลลัพธ์ Thailand 4.0

ตัวชว้ี ดั ชน้ั ปี
ค 2.2 ป.3/3 อ่านและเขยี นบนั ทึกกจิ กรรมหรือเหตุการณ์ทร่ี ะบุเวลา

ค 6.1 ป.3/6 มีความคดิ ริเร่ิมสร้างสรรค์ Active Learning สผู่ ลลพั ธ์ Thailand 4.0

ตวั ชว้ี ดั ช้นั ปี
ว 2.2 ป.3/3 อภิปรายและนาเสนอการใชท้ รัพยากรธรรมชาติอยา่ งประหยดั คุม้ ค่า และมี

Active Learning สผู่ ลลพั ธ์ Thailand 4.0 สว่ นรว่ มในการปฏบิ ตั กิ าร

PLC สู่ ครเู พอื่ ศิษย์ 14

Active Learning กบั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
แนว STEM Education

กรณีตวั อยา่ งหน่วยการเรียนรู้ “ห้องเรยี นสะอาดและสวยด้วยอันใด”

กิจกรรมแนว STEM Education เป็นกิจกรรมท่ีสะท้อน Active Learning ได้ชัดเจน
ผลผลิตและลัพธ์ที่เกิดจากการเรียนรู้ จะได้คุณภาพผู้เรียนตามโมเดล Thailand 4.0
คือ เป็นผู้ท่ีมีความรู้ดี มีความสามารถสูง และมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ จนสามารถสร้าง
นวตั กรรม ทนี่ ามาใชแ้ ล้วเกดิ คณุ คา่ กับคุณภาพชีวิตได้ มีขนั้ ตอนการเรียนรู้ 6 ขัน้ ตอน ดังนี้

ข้ันตอนที่ 1 ระบุปญั หาในชีวิตจริงทีพ่ บหรือนวตั กรรมท่ีตอ้ งการพัฒนา

………เราจะทาอย่างไร ห้องเรยี นของเราจงึ จะมีความสะอาด
และสวยงามอยู่เสมอ น่าอยู่ น่าเรยี น และมคี วามสขุ สามัคคี
ในหมู่คณะนกั เรยี นของเรา………

ข้ันตอนท่ี 2 รวบรวมข้อมูลและแนวคิดท่ีเก่ียวข้องกับปัญหาหรือนาไปสู่การ
พัฒนานวัตกรรมน้นั

ขั้นตอนท่ี 3 ออกแบบวิธีการแกป้ ญั หาโดยเชอื่ มโยงความรดู้ ้านวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี กระบวนการทางวศิ วกรรมและคณติ ศาสตร์

ขนั้ ตอนที่ 4 วางแผนและดาเนินการแกป้ ัญหาหรือพัฒนานวตั กรรม

ขน้ั ตอนท่ี 5 ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแกไ้ ขวธิ กี ารแก้ปญั หาหรอื
พฒั นานวตั กรรมได้

ข้นั ตอนที่ 6 นาเสนอวิธกี ารแกป้ ญั หา ผลการแก้ปัญหาหรอื ผลของนวัตกรรม
ทพ่ี ัฒนาได้

PLC สู่ ครเู พอื่ ศษิ ย์ 15

Active Learning กบั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
แนว STEM Education

กรณตี ัวอยา่ งหน่วยการเรยี นรู้ “ภาพสงู มุมสวยด้วยมอื เรา”

ข้ันตอนที่ 1 ระบปุ ญั หาในชวี ติ จรงิ ที่พบหรือนวตั กรรมที่ต้องการพฒั นา

………เราจะทาอย่างไร โรงเรยี นของเราจงึ จะมี “ภาพมมุ สูง
โรงเรียนของเรา” ทดี่ ูแลว้ สวยงาม สาหรับประชาสัมพันธ์
ทศั นียภาพของโรงเรียน………

ขั้นตอนท่ี 2 รวบรวมข้อมูลและแนวคิดท่ีเก่ียวข้องกับปัญหาหรือนาไปสู่การ
พัฒนานวัตกรรมน้ัน

ขน้ั ตอนท่ี 3 ออกแบบวิธีการแก้ปญั หาโดยเช่ือมโยงความร้ดู ้านวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี กระบวนการทางวิศวกรรมและคณติ ศาสตร์

ขนั้ ตอนท่ี 4 วางแผนและดาเนินการแกป้ ญั หาหรือพัฒนานวตั กรรม

ข้ันตอนท่ี 5 ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรับปรุงแก้ไขวธิ ีการแก้ปัญหาหรือ
พัฒนานวัตกรรมได้

ขัน้ ตอนท่ี 6 นาเสนอวธิ กี ารแกป้ ญั หา ผลการแก้ปัญหาหรอื ผลของนวัตกรรม
ท่พี ัฒนาได้

PLC สู่ ครูเพือ่ ศษิ ย์ 16

Active Learning กบั การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
แนว STEM Education

กรณตี วั อยา่ งหนว่ ยการเรยี นรู้ “ผลิตภัณฑ์ปลา วถิ ีใหม่ไทอีสาน”

ข้นั ตอนท่ี 1 ระบุปัญหาในชีวิตจริงทีพ่ บหรือนวัตกรรมท่ตี ้องการพฒั นา

………โรงเรียนของเราตอ้ งการพัฒนานวตั กรรมเชิงผลติ ภณั ฑ์ ภายใต้
กรอบแนวคิด “ผลติ ภัณฑป์ ลา วิถีใหม่ไทอีสาน” ทบี่ ริโภคแลว้ ปลอดภยั
จากโรคโดยเฉพาะโรคพยาธใิ บไม้ตับและมะเร็งทอ่ น้าดี………

ขน้ั ตอนท่ี 2 รวบรวมขอ้ มูลและแนวคดิ ทเ่ี ก่ียวข้องกับปัญหาหรอื นาไปสู่
การพฒั นานวตั กรรมนั้น

ขั้นตอนที่ 3 ออกแบบวธิ กี ารแกป้ ัญหาโดยเชอ่ื มโยงความรู้ดา้ นวทิ ยาศาสตร์
เทคโนโลยี กระบวนการทางวศิ วกรรม และคณิตศาสตร์

ข้นั ตอนที่ 4 วางแผนและดาเนนิ การแก้ปัญหาหรือพัฒนานวัตกรรม
ข้นั ตอนที่ 5 ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรงุ แกไ้ ขวิธกี ารแกป้ ญั หา
หรอื พฒั นานวตั กรรมได้
ขนั้ ตอนท่ี 6 นาเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปญั หาหรอื ผลของนวัตกรรม
ทพ่ี ัฒนาได้

PLC สู่ ครูเพื่อศิษย์ 17

การนา Active Learning ไปเสริมประสทิ ธิภาพ
การขบั เคลอื่ นนโยบาย“ลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลารู้”

นโยบาย “ลดเวลาเรียน เพ่มิ เวลาร”ู้ เปน็ นโยบายทก่ี ระตนุ้ ใหส้ ถานศกึ ษา โดยครูผสู้ อน
ต้องออกแบบกจิ กรรมใหม้ ีความเชอ่ื มโยงระหว่างกจิ กรรมลดเวลาเรียนและกิจกรรมเพิ่มเวลารู้
โดยกิจกรรมลดเวลาเรียน เป็นการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถ
ตามมาตรฐานการเรียนร้แู ละตวั ชีว้ ดั ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช
2551 ท่ีลดบทบาทผู้สอนในการบรรยายหรือให้ความรู้เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียน
ได้เรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) และกิจกรรมเพิ่มเวลารู้เป็นการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ โดยเน้นเป้าหมายหลัก 4H ได้แก่ กิจกรรมที่มุ่งพัฒนาสมอง (Head)
กจิ กรรมทีม่ ุ่งพัฒนาจิตใจ (Heart) กิจกรรมท่ีมุ่งพัฒนาทักษะการปฏิบัติ (Hand) และกิจกรรม
ท่ีมุ่งพัฒนาสุขภาพ (Health) ซ่ึงผู้เรียนจะได้ฝึกทักษะและเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ทเี่ ชอื่ มโยงจากกจิ กรรมลดเวลาเรียน

การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้มีความเช่ือมโยงระหว่างกิจกรรมลดเวลาเรียนและ
กิจกรรมเพ่ิมเวลารู้ ผู้สอนสามารถเชื่อมโยงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในช่วงลดเวลาเรียน
จ า ก ตั ว ช้ี วั ด ช้ั น ปี ใ น แ ต่ ล ะ ร า ย วิ ช า ท่ี มุ่ ง ใ ห้ ผู้ เ รี ย น เ กิ ด ท้ั ง ค ว า ม รู้ / ค ว า ม คิ ด ร ว บ ย อ ด
(K : Knowledge) ทักษะ/การปฏิบัติ (P : Performance) และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
(Desirable Characteristic) หรือ คุณลักษณะ (A : Attribute) สู่การจัดกิจกรรม
เพ่ิมเวลารู้ท่ีให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติ (Active Learning) ตามความถนัดความสนใจจากการได้มี
ส่วนร่วมในประสบการณ์ที่สอดคล้องกับชีวิตจริง ยกตัวอย่าง กรณีพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง
จากการลงมือปฏิบัติจริง การทางานสามารถพัฒนาเป็นอาชีพ หรือเลือกแนวทางการศึกษา
ต่อในระดับที่สูง และเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่พร้อมสู่การเป็นพลเมืองท่ีมีคุณภาพ
ในยุคแห่งศตวรรษที่ 21 ภายใต้โมเดล Thailand 4.0 ดังความชัดเจนที่นาเสนอในภาพกรอบ
แนวคิดแสดงความเชือ่ มโยงระหว่างกจิ กรรมลดเวลาเรยี นและเพม่ิ เวลารู้

PLC สู่ ครูเพอื่ ศษิ ย์ 18

Knowledge
K ความรู้แกน

P Performance
ทกั ษะ/การ

กิจกรรม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ A ปAฏttบิ rัตibิ ute
ลด คุณลักษณะ
เวลา
เรยี น ตวั ชี้วดั ตวั ช้วี ดั กจิ กรรมการเรียนรู้
ต้องรู้ ควรรู้ Active Learning

KP A

กจิ กรรมเพิ่มเวลารู้

กจิ กรรมทก่ี าหนดใหเ้ รียน กจิ กรรมเลอื ก

ตวั ช้ีวดั Head Heart ตวั ชีว้ ดั ตัวชว้ี ัด
ตอ้ งรู้ ต้องรู้ ควรรู้

PA P A

Theme / หัวข้อ

Health Hand

สมรรถนะสาคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์

กรอบแนวคิดแสดงความเชือ่ มโยงระหว่างกิจกรรมลดเวลาเรียนและเพิ่มเวลารู้

PLC สู่ ครเู พื่อศษิ ย์ 19

การเชอ่ื มโยงหลักสูตร : Curriculum Alignment
กุญแจสาคญั ของการเขา้ ถงึ ผลลพั ธ์ Thailand 4.0

มาตรฐานระดับชาติ มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวช้ีวดั ชั้นปี
ผลลพั ธ์Thailand 4.0 คิดได้ ทาได้ อยา่ งสรา้ งสรรค์
ความสนใจ
ความต้องการ หลกั สตู รและการประเมิน การเชื่อมโยงหลกั สตู ร(Curriculum Alignment)
ของนักเรียน ระดับโรงเรยี น

- แหลง่ ข้อมูล การเรยี นการสอนในชัน้ เรียน
- ปญั หา
- เหตกุ ารณส์ าคญั สะทอ้ นผลลพั ธT์ hailand 4.0
ผู้เรยี นคิดได้ ทาได้ อย่างสร้างสรรค์
ในชมุ ชน
กิจกรรมการเรยี นรู้ ชิ้นงานหรอื ภาระงาน
ทน่ี กั เรยี นปฏบิ ตั ิ

การประเมนิ
- เกณฑ์การประเมิน (Criteria)
- คาอธบิ ายคณุ ภาพ (Descriptions)
- แนวการใหค้ ะแนน (Scoring guide)

ผลงานตวั อยา่ งทไี่ ด้มาตรฐาน
(Exemplars)

แผนภูมินี้ เป็นแผนภูมิแสดงความสอดคล้องเชื่อมโยงของหลักสูตร (Curriculum Alignment)
ระหว่างหลกั สตู ร การเรียนการสอน และการประเมิน แบบอิงมาตรฐานการเรียนรู้ ของแฮร์ริส, ดักลาส อี.
ซง่ึ รุ่งนภา นุตราวงศ์ (2545 : 18) ได้แปลและเขียนไว้ในหนังสือ หลักสูตรมาตรฐานแห่งชาติ...สู่ชั้นเรียน
โดยกรมวชิ าการได้จดั พมิ พ์ และส่งใหส้ ถานศกึ ษาทุกแหง่ เม่อื ปกี ารศกึ ษา 2546

จากแผนภูมิแสดงให้เห็นว่า หลักการเชื่อมโยงหลักสูตรจะรับประกันคุณภาพผลผลิตของระบบ
หลกั สตู ร คือ การบรรลุมาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชีว้ ดั ชนั้ ปี ของผู้เรียนทุกคน ซึ่งในแผนภูมินี้ อธิบายให้เห็น
ว่า เมื่อออกแบบหน่วยการเรียนรู้ที่มีมาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัดช้ันปี ระบุผลลัพธ์Thailand 4.0
“ผู้เรียนคิดได้ ทาได้ อย่างสร้างสรรค์” การจัดการเรียนการสอน และการวัดผลประเมินผล ต้องสะท้อน
ผลลัพธ์ Thailand 4.0 “ผเู้ รียนคิดได้ ทาได้ อยา่ งสรา้ งสรรค์” ด้วย

PLC สู่ ครเู พ่อื ศิษย์ 20

PLC สู่ ครูเพอ่ื ศิษย์ 21

ตวั อย่างการออกแบบหน่วยการเรยี นรู้

หนว่ ยการเรยี นรู้บรู ณาการSTEM เร่ือง “ห้องเรยี นสะอาดและสวยด้วยอนั ใด”

ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 เวลา 8 ชว่ั โมง

…..……………………………………………………………………………………………………………

1. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชวี้ ัดชัน้ ปี
1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้
พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ

การป้องกันโรค และการสร้างเสริมสมรรถภาพเพ่ือสุขภาพ
ว 2.1 เข้าใจส่ิงแวดล้อมในท้องถิน่ ความสัมพันธร์ ะหว่างสงิ่ แวดล้อมกับสง่ิ มีชวี ิต

ความสัมพนั ธ์ระหว่างส่ิงมชี วี ิตต่างๆในระบบนิเวศน์ มีกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ และจติ วิทยาศาสตร์
สอ่ื สารส่งิ ที่เรยี นร้แู ละนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ว 2.2 เขา้ ใจความสาคญั ของทรัพยากรธรรมชาติ การใชท้ รัพยากรธรรมชาติในระดบั
ทอ้ งถิ่น ประเทศ และโลก นาความร้ไู ปใช้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมในท้องถ่นิ
อยา่ งยัง่ ยนื

ว 8.1 ใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และจติ วทิ ยาศาสตร์ ในการสืบเสาะหาความรู้
การแก้ปัญหา ร้วู ่าปรากฏการณท์ างธรรมชาตทิ ่ีเกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบท่ีแนน่ อน สามารถอธิบายและ
ตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมลู และเครื่องมือท่มี ีอยู่ในชว่ งเวลานั้นๆ เขา้ ใจวา่ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
สังคม และสงิ่ แวดล้อม มีความเก่ยี วข้องสมั พันธ์กนั

ค 2.2 แก้ปญั หาเกย่ี วกบั การวดั
ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปญั หา การให้เหตุผล การสือ่ สาร การส่อื ความหมาย
ทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชอ่ื มโยงความรตู้ า่ งๆ ทางคณิตศาสตร์ และเช่อื มโยงคณติ ศาสตร์
กับศาสตร์อืน่ ๆ และมีความคิดรเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์
ง 3.1 เขา้ ใจ เห็นคณุ คา่ และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมลู
การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปญั หา การทางาน และอาชีพอยา่ งมีประสิทธิภาพ ประสิทธผิ ล และ
มคี ุณธรรม

1.2 ตวั ชว้ี ัดชน้ั ปี

พ 4.1 ป.3/1 อธิบายการตดิ ต่อและวิธกี ารป้องกันและแพร่กระจายของโรค
ว 2.1 ป.3/1 สารวจสงิ่ แวดล้อมในท้องถิ่นของตนและอธิบายความสมั พันธ์
ของสงิ่ มชี ีวติ กับส่งิ แวดลอ้ ม
ว 2.2 ป.3/3 อภิปรายและนาเสนอการใช้ทรัพยากรธรรมชาตอิ ย่างประหยดั ค้มุ ค่า
และมีสว่ นร่วมในการปฏบิ ัติการ
ว 8.1 ป.3/2 วางแผนการสงั เกต เสนอวธิ ี สารวจ ตรวจสอบ ศึกษาคน้ คว้า โดยใช้

ความคิดของตนเอง ของกลุ่ม และคาดการณส์ ่งิ ทจี่ ะพบจากการสารวจตรวจสอบ

ค 2.2 ป.3/3 อา่ นและเขยี นบันทึกกิจกรรมหรอื เหตุการณ์ท่ีระบเุ วลา

PLC สู่ ครเู พอ่ื ศษิ ย์ 22

ค 6.1 ป.3/2 ใช้ความรู้ ทกั ษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ในการแกป้ ญั หา
ในสถานการณต์ า่ งๆได้อย่างเหมาะสม

ค 6.1 ป.3/6 มีความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์
ง 3.1 ป.3/1 ค้นหาขอ้ มลู อยา่ งมีขนั้ ตอน และนาเสนอข้อมลู ในลกั ษณะต่างๆ

2. สาระสาคัญ / ความคิดรวบยอด

การสารวจสงิ่ แวดลอ้ มในทอ้ งถ่นิ ของตน ด้วยการวางแผน การสังเกต การนาเสนอวธิ ีการสารวจ
ตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้า โดยใช้ความคิดของตนเอง ของกลุ่ม และคาดการณ์สิ่งท่ีจะพบจากการสารวจ
ตรวจสอบ รวมถึงการใช้ความสามารถในการค้นหาข้อมูลอย่างมีข้ันตอน และนาเสนอข้อมูล ในลักษณะ
ต่างๆ ตลอดจนการใช้ความรู้ ทักษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ในการแก้ปัญหา ในสถานการณ์
ต่างๆได้อย่างเหมาะสม จะทาให้ได้แนวทางการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถ่ิน สาหรับการพัฒนา
สิ่งแวดล้อมรอบตัวให้ดีขึ้น อย่างประหยัด คุ้มค่า และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการ ด้วยการอภิปราย และ
อธิบายความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม รวมถึงอธิบายการติดต่อและวิธีการป้องกันและ
แพร่กระจายของโรค ผ่านทักษะอ่านและเขียนบันทึกกิจกรรมหรือเหตุการณ์ท่ีระบุเวลาอย่างมีความคิด
ริเริ่มสร้างสรรค์ อันจะส่งผลให้คุณภาพชีวิตดีข้ึน และเกิดวัฒนธรรมของสังคมในการพิทักษ์ รักษา
สง่ิ แวดลอ้ ม เพื่อชีวิตท่ีดี

3. สาระการเรยี นรู้

3.1 ดา้ นความรู้
3.1.1 ความรู้เกีย่ วกบั สิง่ แวดลอ้ มในหอ้ งเรยี น

3.1.2 แนวทางการการใชท้ รัพยากรธรรมชาติในทอ้ งถ่ิน

3.1.3 การตดิ ตอ่ และวธิ กี ารป้องกนั และแพรก่ ระจายของโรค

3.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ
3.2.1 ทักษะและกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
มีความสามารถในการสังเกต การวัด การจาแนกประเภท การหา

ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสเปสกับสเปสและสเปสกบั เวลา การคานวณ การจดั ทาและสอ่ื ความหมายข้อมลู
การลงความคิดเหน็ จากข้อมลู การพยากรณ์ การต้ังสมมตฐิ าน การกาหนดนยิ ามเชิงปฏิบตั ิการ
การกาหนดและควบคุมตัวแปร การทดลอง การตีความหมายขอ้ มลู และลงข้อสรปุ

3.2.2 ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
มีความสามารถในการแก้ปญั หา การให้เหตุผล การสอ่ื สาร การสอื่ ความหมาย

ทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์
กับศาสตรอ์ ื่นๆ และมีความคดิ ริเรมิ่ สร้างสรรค์

PLC สู่ ครเู พอ่ื ศิษย์ 23

3.2.3 ทักษะและกระบวนการทางเทคโนโลยี
มีความสามารถกาหนดปัญหา รวบรวมข้อมูล เลือกวิธีการ ออกแบบและ

ปฏิบตั ิการ ทดสอบ ปรบั ปรุงแก้ไข และประเมินผล
3.2.4 ทักษะการ ใช้คอมพิวเตอรเ์ พื่อการคน้ หาข้อมลู อยา่ งมีขนั้ ตอน

3.3 ด้านคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
3.3.1 มวี ินัย
3.3.2 ใฝ่เรียนรู้
3.3.3 มุ่งมน่ั ในการทางาน
3.3.4 มจี ติ สาธารณะ
3.3.5 อยอู่ ย่างพอเพียง
3.3.6 รักความเปน็ ไทย
3.3.7 ซื่อสตั ยส์ ุจริต

4. การวดั และประเมินผล

4.1 ชนิ้ งาน/ภาระงานรวบยอด
4.1.1 ชิ้นงาน Mind Mapping “หอ้ งเรยี นสะอาดและสวยดว้ ยอันใด”
4.1.2 ภาระงาน จัดนิทรรศการนาเสนอ ช้นิ งาน Mind Mapping “ห้องเรียนสะอาดและ

สวยดว้ ยอนั ใด”
4.2 ประเมินผลระหว่างเรียน

สง่ิ ที่วัด วิธีการ เครื่องมอื เกณฑก์ ารประเมนิ
ดา้ นความรู้ (K)
-การตดิ ต่อและวิธีการ - ทาใบงาน - แบบ คะแนนร้อยละเทยี บ
แพร่กระจายของโรค ระดบั คุณภาพ
เรื่อง ปฏิบัติตน ประเมนิ ร้อยละ 80 ขึ้นไป
-แนวทางการใช้ทรัพยากร ระดับดเี ยย่ี ม
ธรรมชาตใิ นท้องถ่นิ ตามหลักสขุ บญั ญัติ ใบงาน รอ้ ยละ 70-79
จดั สง่ิ แวดล้อมในห้องเรยี น ระดับดมี าก
แหง่ ชาติ รอ้ ยละ 60-69
ระดบั ดี
10 ประการ ร้อยละ 50-59
ระดับผ่าน
- ทาใบงาน - แบบ ร้อยละ 1-49
ระดบั ปรับปรงุ
เรอ่ื ง สารวจ ประเมิน

ทรัพยากรธรรมชาติ ใบงาน

ในทอ้ งถิน่ ท่จี ะใช้

ในการจดั

สง่ิ แวดลอ้ ม

ในหอ้ งเรียน

PLC สู่ ครเู พอ่ื ศิษย์ 24

4.2 ประเมนิ ผลระหวา่ งเรียน (ตอ่ ) เกณฑก์ ารประเมนิ

สิ่งที่วดั วิธกี าร เคร่ืองมือ ได้คะแนน
- การสงั เกต แบบสังเกต จากการประเมินดา้ นทกั ษะ/
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) และประเมิน กระบวนการ
-ทักษะการสืบค้นและรวบรวม - การสงั เกต ดา้ นทักษะ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน)
ข้อมูล คะแนน 9-10 ระดบั ดเี ยยี่ ม
-ทกั ษะการวิเคราะห์ - แบบบนั ทึก คะแนน 7-8 ระดับดีมาก
-ทกั ษะการวางแผน การสงั เกต คะแนน 5-6 ระดับผ่าน
-ทกั ษะการสรา้ งทางเลือก คะแนน 0-4 ระดบั ปรับปรงุ
ที่หลากหลาย
-ทกั ษะการประเมินทางเลอื ก ผา่ นการประเมิน
-ออกแบบและปฏบิ ัตกิ าร ทุกคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
-ทกั ษะความคิดรเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์
-ทักษะการนาเสนอ

ดา้ นเจตคติ (A)
-มวี นิ ัย
-มุ่งม่นั ในการทางาน
-อยู่อยา่ งพอเพียง
-ใฝเ่ รียนรู้
-รักความเป็นไทย
-ซือ่ สัตย์สุจริต
-มจี ิตสาธารณะ

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ช่วั โมงท่ี 1-2
1. นักเรยี นทากจิ กรรม Brain Gym ขยบั กายขยายสมอง
2. ครูกาหนดสถานการณ์ให้นกั เรยี น “เราจะทาอยา่ งไร ห้องเรยี นของเราจึงจะมีความสะอาด

และสวยงามอยู่เสมอ น่าอยู่ นา่ เรียน และมคี วามสุข สามัคคี ในหมู่คณะนกั เรียนของเรา”
3. นักเรยี นสนทนา อภปิ ราย เกยี่ วกบั การจัดสงิ่ แวดล้อมในห้องเรียนทปี่ ลอดภัยจากการตดิ ตอ่

และวธิ กี าร แพร่กระจายของโรคต่างๆ
4. นกั เรยี นทาใบงาน เร่ือง ปฏบิ ตั ติ นตามหลักสขุ บัญญัติแหง่ ชาติ 10 ประการ
5. ตัวแทนนกั เรียนนาเสนอผลงานหนา้ ชั้นเรียน
6. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั อภปิ ราย สรุป และแสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วกับการจัดสิ่งแวดลอ้ ม

ในหอ้ งเรยี นและการปฏิบตั ติ นตามหลกั สุขบัญญัตแิ หง่ ชาติ 10 ประการ

PLC สู่ ครูเพอ่ื ศิษย์ 25

ชัว่ โมงที่ 3-4
1. นักเรียนทากิจกรรม Brain Gym ขยับกายขยายสมอง
2. นกั เรียนคน้ หาแนวทางการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติในท้องถิน่ จัดสิง่ แวดลอ้ มในห้องเรียน
จากแหล่งเรยี นรู้ต่างๆในโรงเรียน
3. ทาใบงาน เรื่อง สารวจทรัพยากรธรรมชาติ ในท้องถนิ่ ทจ่ี ะใช้ ในการจัดสิ่งแวดลอ้ ม
ในห้องเรียน
4. ตัวแทนนกั เรยี นนาเสนอผลงานหน้าชน้ั เรยี น
5. ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั อภิปราย สรุป และแสดงความคดิ เห็นเกีย่ วกบั การจดั ส่งิ แวดลอ้ ม
ในหอ้ งเรียนจากทรพั ยากรธรรมชาติ ในท้องถ่ิน ทส่ี ง่ ผลดีต่อสุขภาพผู้อยูอ่ าศัย
ช่ัวโมงท่ี 5-8
1. นกั เรยี นทากิจกรรม Brain Gym ขยับกายขยายสมอง
2. นักเรียนทบทวนความรู้จากใบงาน เรื่อง ปฏิบัติตนตามหลกั สขุ บญั ญตั ิแหง่ ชาติ 10 ประการ
และใบงาน สารวจทรัพยากรธรรมชาติ ในท้องถนิ่ ทจี่ ะใช้ ในการจดั สิ่งแวดลอ้ มในหอ้ งเรียน
3. จัดนกั เรียนออกเป็นกลุ่มๆละ 4–5 คน ใหท้ กุ กลมุ่ ทาชิน้ งาน Mind Mapping “ห้องเรียน
สะอาดและสวยดว้ ยอันใด”
4. นกั เรียนทาภาระงาน จัดนิทรรศการนาเสนอ ชน้ิ งาน Mind Mapping “ห้องเรียนสะอาดและ
สวยด้วยอนั ใด”
5. นักเรียนแต่ละกลมุ่ นาเสนอความรู้ใหม่ แลกเปล่ียนเรียนรู้ ดว้ ยการเยยี่ มชมนทิ รรศการ
ของแต่ละกลุ่ม
6. นกั เรยี นทุกคน ร่วมสนทนา อภปิ ราย แลว้ รว่ มกนั สรา้ ง Mind Mapping “ห้องเรยี นสะอาด
และสวยดว้ ยอนั ใด” ท่ีเปน็ แนวปฏบิ ัติของทุกคนในห้องเรยี น เพ่ือตอบโจทย์สถานการณ์ “เราจะทา
อยา่ งไร ห้องเรยี นของเราจงึ จะมคี วามสะอาดและสวยงามอยเู่ สมอ นา่ อยู่ น่าเรียน และมีความสุข สามคั คี
ในหมู่คณะนกั เรียนของเรา”
7. นักเรยี น นา Mind Mapping “ห้องเรยี นสะอาดและสวยด้วยอนั ใด” ตดิ ไวป้ า้ ยนิเทศ
ในห้องเรียนเพือ่ นาไปปฏบิ ตั ิร่วมกัน

6. สอื่ และแหลง่ เรยี นรู้
1. ใบความรู้ เรอื่ ง หลกั สขุ บญั ญัติแหง่ ชาติ 10 ประการ
2. VDO สง่ิ แวดล้อมรอบตัว
3. รปู ภาพตัวอยา่ งส่ิงแวดลอ้ มรอบตัว
4. Internetเพ่ือการสืบคน้ ข้อมูล
5. แหลง่ เรยี นรตู้ ่างๆ ในชุมชน
6. ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่
7. เว็บไซด์ www.livercare.kku.ac.th
8. หนงั สือ ความรู้เกี่ยวกับการจดั สิ่งแวดล้อมในห้องเรยี น

PLC สู่ ครเู พอื่ ศิษย์ 26

ใบงาน

เรื่อง ปฏบิ ตั ติ นตามหลกั สขุ บัญญัตแิ ห่งชาติ 10 ประการ

คาชีแ้ จง : ใหน้ กั เรียนจบั คู่รปู ภาพกบั ขอ้ ความการปฏิบตั ิตนตามหลักสุขบัญญัติแหง่ ชาติ
10 ประการ

…..คูก่ ับ….. …..คู่กบั ….. …..คกู่ บั ….. …..ค่กู บั ….. …..คู่กบั …..
…..คู่กบั ….. …..ค่กู ับ….. …..ค่กู ับ….. …..คู่กบั ….. …..คกู่ บั …..

A1

ปอ้ งกนั อุบัตเิ หตุดว้ ย๑ก. ารไมป่ ระมาท

B2

ดูแลรักษาร่างกายและของใชใ้ ห้สะอาด

3
C กนิ อาหารสุก สะอาด

ปราศจากสารอันตราย
และหลกี เลีย่ งอาหารรสจดั สีฉูดฉาด

4

D รกั ษาฟนั ใหแ้ ข็งแรง
และแปรงฟนั ทุกวันอย่างถกู ตอ้ ง
๔.

PLC สู่ ครูเพ่ือศษิ ย์ 27

E 5
F
ล้างมอื ให้สะอาด
G ก่อนกินอาหารและหลงั ขบั ถ่าย

6

ทาจติ ใจให้ร่าเรงิ แจ่มใสอยู่เสมอ

7

งดบุหรี่ สุรา สารเสพตดิ
การพนนั และการสาสอ่ นทางเพศ

8

H สร้างความสัมพนั ธใ์ นครอบครวั ใหอ้ บอนุ่

9

I ออกกาลงั กายสมา่ เสมอ
และตรวจสุขภาพประจาปี

J 10
มสี านกึ ตอ่ ส่วนรวม สรา้ งสรรค์สงั คม

ชอื่ -สกลุ ..................................................................................................ชน้ั .........................เลขที่….......

PLC สู่ ครูเพอ่ื ศิษย์ 28

ใบงาน

เรือ่ ง สารวจทรัพยากรธรรมชาตใิ นท้องถ่นิ ทีจ่ ะใชใ้ นการจัดสง่ิ แวดล้อมในห้องเรยี น

คาชี้แจง : ใหน้ ักเรยี นระบชุ อ่ื ของทรัพยากรธรรมชาติในท้องถนิ่ ทส่ี ารวจได้ และเลือกท่ีจะนา
มาใช้ในการจัดสง่ิ แวดลอ้ มในหอ้ งเรยี น

ทรัพยากรธรรมชาติในทอ้ งถิ่น/วาดภาพประกอบ นามาจัดสงิ่ แวดล้อมในห้องเรียน/วาดภาพประกอบ

ช่ือ-สกุล....................................................................................................ชน้ั .........................เลขท่ี...............

PLC สู่ ครูเพ่ือศิษย์ 29

ช้นิ งานรวบยอด
เรอ่ื ง Mind Mapping “ห้องเรียนสะอาดและสวยดว้ ยอันใด”

คาชแี้ จง : ให้นักเรียน จดั ทา Mind Mapping “ห้องเรียนสะอาดและสวยดว้ ยอันใด”

“หอ้ งเรยี นสะอาดและสวยด้วยอนั ใด”

ชอ่ื กลุ่ม…………………………………………………สมาชิกในกลมุ่ จานวน………………………….คน

ชื่อ-สกุล...................................................................................................ช้ัน.........................เลขที่......... ......
ชือ่ -สกลุ ...................................................................................................ชัน้ .........................เลขที.่ ..............
ช่อื -สกุล...................................................................................................ชน้ั .........................เลขท.่ี ..............
ชื่อ-สกุล...................................................................................................ชน้ั .........................เลขท่ี...............
ชื่อ-สกลุ ...................................................................................................ชั้น.........................เลขท.่ี ..............

PLC สู่ ครเู พ่อื ศิษย์ 30

PLC สู่ ครเู พ่ือศษิ ย์ 31

ตัวอย่างการออกแบบหน่วยการเรียนรู้

หนว่ ยการเรียนร้บู ูรณาการSTEM เร่ือง “มมุ สูงภาพสวยด้วยมือเรา”

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 เวลา 10 ช่ัวโมง

……………………………………………………………………………………………………………

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชวี้ ัดชั้นปี

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้

ว 7.2 เขา้ ใจความสาคญั ของเทคโนโลยอี วกาศทีน่ ามาใช้ในการสารวจอวกาศและ

ทรพั ยากรธรรมชาติดา้ นการเกษตร และการสื่อสาร มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์

ส่อื สารส่ิงท่เี รียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์อยา่ งมคี ุณธรรมต่อชวี ิตและสง่ิ แวดล้อม

ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวทิ ยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้

การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและ

ตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเคร่ืองมือท่ีมีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สังคม และสงิ่ แวดลอ้ ม มคี วามเกี่ยวข้องสัมพันธก์ ัน

ค 2.2 แก้ปญั หาเกีย่ วกับการวัด

ค 6.1 มคี วามสามารถในการแกป้ ญั หา การให้เหตุผล การส่อื สาร การส่อื ความหมาย

ทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์

กบั ศาสตร์อ่นื ๆ และมีความคดิ ริเริ่มสรา้ งสรรค์

ง 3.1 เขา้ ใจ เห็นคณุ ค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยสี ารสนเทศในการสืบคน้ ขอ้ มลู

การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทางาน และอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และ

มคี ณุ ธรรม

1.2 ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ปี

ว 7.2 ป.6/1 สบื ค้น อภิปราย ความก้าวหนา้ และประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ

ว 8.1 ป.6/3 เลือกอปุ กรณ์และวธิ กี ารสารวจ ตรวจสอบท่ถี ูกตอ้ งเหมาะสมให้ได้ผล

ทคี่ รอบคลุมและเชอ่ื ถือได้

ค 3.2 ป.6/3 เขยี นแผนผงั แสดงตาแหนง่ ของสงิ่ ต่างๆและแผนผังแสดงเส้นทาง

การเดนิ ทาง

ค 6.1 ป.6/2 ใชค้ วามรู้ ทกั ษะ และกระบวนการทางคณติ ศาสตร์และเทคโนโลยี

ในการแกป้ ญั หาในสถานการณ์ตา่ งๆได้อยา่ งเหมาะสม

ง 3.1 ป.6/2 ใช้คอมพวิ เตอร์ในการคน้ หาข้อมลู

ง 3.1 ป.6/5 ใช้คอมพวิ เตอร์ช่วยสรา้ งชน้ิ งานจากจนิ ตนาการหรืองานท่ีทา

ในชวี ิตประจาวันอย่างมจี ิตสานกึ และมีความรับผิดชอบ

PLC สู่ ครูเพอื่ ศษิ ย์ 32

2. สาระสาคญั / ความคิดรวบยอด

ความสามารถในการสืบค้น อภปิ ราย ความก้าวหน้าและประโยชนข์ องเทคโนโลยีอวกาศ
โดยใช้คอมพิวเตอร์ในการค้นหาข้อมูล ทาให้มีพื้นฐานความรู้ ความเข้าใจ ท่ีเช่ือมโยงไปสู่ความสามารถ
ในการเลือกอุปกรณ์และวิธีการสารวจ สภาพบริเวณโรงเรียน และตรวจสอบ ความถูกต้องเหมาะสม
ให้ได้ผลท่ีครอบคลุมและเชื่อถือได้ แล้วนามาเขียนแผนผังแสดงตาแหน่งของสิ่งต่างๆในบริเวณโรงเรียน
ดว้ ยการใช้ความรู้ ทกั ษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์
ต่างๆได้อย่างเหมาะสม ส่งผลให้มีความสามารถรวบยอดในการ ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงาน
“ภาพมมุ สงู โรงเรยี นของเรา”อย่างมจี ิตสานึกและมคี วามรบั ผดิ ชอบ อันส่งผลดตี อ่ ชอื่ เสยี งของโรงเรยี น

3. สาระการเรยี นรู้
3.1 ดา้ นความรู้

3.1.1 ความรู้เกย่ี วกบั ความกา้ วหน้าและประโยชนข์ องเทคโนโลยีอวกาศ

3.1.2 การเลือกอปุ กรณ์และวิธีการสารวจสภาพบริเวณโรงเรยี น

3.2 ดา้ นทักษะ/กระบวนการ

3.2.1 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
มคี วามสามารถในการแกป้ ญั หา การใหเ้ หตผุ ล การส่ือสาร การส่ือความหมาย

ทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ และเช่ือมโยงคณิตศาสตร์
กบั ศาสตรอ์ ่ืนๆ และมีความคิดรเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์

3.2.2 ทักษะและกระบวนการทางเทคโนโลยี
มีความสามารถกาหนดปัญหา รวบรวมข้อมูล เลือกวิธีการ ออกแบบและ

ปฏบิ ตั ิการ ทดสอบ ปรับปรงุ แกไ้ ข และประเมนิ ผล
3.2.3 ทักษะการ ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสรา้ งชิน้ งาน “ภาพมุมสูงโรงเรยี นของเรา”

3.3 ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

3.3.1 มีวินยั
3.3.2 ใฝ่เรยี นรู้
3.3.3 มงุ่ มน่ั ในการทางาน
3.3.4 มจี ติ สาธารณะ

4. การวัด / ประเมนิ ผล
4.1 ประเมนิ ผลรวบยอด (ชิน้ งาน / ภาระงาน)

ชิ้นงาน “ภาพมุมสูงโรงเรยี นของเรา”

PLC สู่ ครเู พื่อศษิ ย์ 33

4.2 ประเมินผลระหว่างเรยี น เกณฑก์ ารประเมิน

สิง่ ท่ีวดั วิธีการ/เครอื่ งมอื คะแนนร้อยละเทียบระดับคณุ ภาพ
รอ้ ยละ 80 ขึน้ ไป ระดบั ดเี ย่ยี ม
ดา้ นความรู้ (K) ร้อยละ 70-79 ระดับดมี าก
ร้อยละ 60-69 ระดบั ดี
-ความรู้เก่ียวกับความก้าวหน้า -ประเมินใบงาน รอ้ ยละ 50-59 ระดบั ผา่ น
รอ้ ยละ 1-49 ระดบั ปรับปรุง
และประโยชน์ของเทคโนโลยี -ใบงาน ผา่ นการประเมินทุกทกั ษะ
เรอื่ ง เทคโนโลยกี ารสารวจ
อวกาศ ภาพมมุ สงู ผ่านการประเมินทกุ คณุ ลักษณะ
-การเลือกอุปกรณ์และวิธีการ

สารวจสภาพบรเิ วณโรงเรยี น

ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)

-ทกั ษะและกระบวนการ -สังเกต

ทางคณติ ศาสตร์และเทคโนโลยี -แบบบนั ทกึ การสงั เกต

-ทักษะการ ใช้คอมพิวเตอร์

ชว่ ยสร้างชิน้ งาน

“ภาพมมุ สงู โรงเรยี นของเรา”

ด้านเจตคติ (A)

- มีวินัย -สงั เกต
- ใฝเ่ รียนรู้ -แบบบนั ทกึ การสังเกต

- มุ่งม่นั ในการทางาน

- มีจติ สาธารณะ

5. กิจกรรมการเรียนรู้

ชัว่ โมงท่ี 1-2
1. นกั เรียนทากจิ กรรม Brain Gym ขยบั กาย ขยายสมอง
2. ครกู าหนดสถานการณ์ ทาอยา่ งไร โรงเรียนของเรา จะมี “ภาพมุมสงู โรงเรียนของเรา”
ทส่ี วยงามสาหรบั ประชาสัมพันธท์ ศั นียภาพโรงเรยี นของเรา
3. นกั เรยี นดาเนินการสืบค้น อภิปราย ความกา้ วหนา้ และประโยชน์ของเทคโนโลยอี วกาศ
โดยใชค้ อมพิวเตอรใ์ นการค้นหาข้อมลู
4. นกั เรยี นทาใบงาน เร่อื ง เทคโนโลยีการสารวจภาพมมุ สูง
5. นกั เรียน เชือ่ มโยงความรู้จากใบงาน เร่ือง เทคโนโลยกี ารสารวจภาพมมุ สงู สู่ความสามารถ
ในการเลอื กอุปกรณ์และวธิ ีการสารวจ สภาพบริเวณโรงเรยี น และตรวจสอบ ความถูกต้องเหมาะสม
ใหไ้ ด้ผลที่ครอบคลมุ และเชอื่ ถือได้

PLC สู่ ครูเพ่อื ศิษย์ 34

ช่วั โมงที่ 3-4
1. นกั เรียนทากิจกรรม Brain Gym ขยบั กาย ขยายสมอง
2. แบ่งนกั เรียนออกเปน็ กลมุ่ ตามความเหมาะสม กลุ่มละประมาณ 3-5 คน
3. นักเรียนแต่ละกล่มุ เขยี นแผนผงั แสดงตาแหนง่ ของส่ิงต่างๆในโรงเรียน
4. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มใช้ความรู้ ทกั ษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ในการแกป้ ญั หาในสถานการณ์…ทาอยา่ งไร โรงเรยี นของเรา จะมี “ภาพมุมสูงโรงเรยี นของเรา”

ทส่ี วยงามสาหรับประชาสัมพันธท์ ศั นยี ภาพโรงเรยี นของเรา…

ชัว่ โมงท่ี 5-7
1. ครูเชญิ วทิ ยากรภายนอกมาให้ความรู้เก่ียวกบั การใช้ Drone บนิ สารวจภมู ปิ ระเทศในมุมสงู
2. วิทยากรภายนอกสาธิตการใช้ Drone บนิ สารวจสภาพบริเวณโรงเรยี นในมมุ สูง
3. วิทยากรภายนอกดาเนนิ การใช้ Drone บินสารวจสภาพบริเวณโรงเรยี นในมมุ สูง และ

บนั ทกึ ภาพ หลากหลายทิศทาง สาหรับมอบใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกลุม่ ใชใ้ นการสร้างสรรคช์ ิ้นงาน “ภาพมุมสงู

โรงเรียนของเรา”

ชว่ั โมงท่ี 8-10
1. ครเู ชิญวิทยากรภายนอกมาใหค้ วามร้เู กย่ี วกับการใช้ Drone บินสารวจภูมิประเทศในมมุ สงู
2. วิทยากรภายนอกสาธิตการใช้ Drone บนิ สารวจสภาพบริเวณโรงเรียนในมมุ สูง
3. วิทยากรภายนอกดาเนินการใช้ Drone บนิ สารวจสภาพบริเวณโรงเรยี นในมุมสูง และ

บนั ทกึ ภาพ หลากหลายทศิ ทาง สาหรับมอบให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มใชใ้ นการสรา้ งสรรค์ช้นิ งาน “ภาพมุมสงู

โรงเรยี นของเรา”

6. ส่อื และแหล่งเรยี นรู้

6.1 คอมพวิ เตอร์เพือ่ การสบื คน้
6.2 รูปภาพเครอื่ งร่อน (paramotor)

6.3 วิทยากรภายนอกมาใหค้ วามรู้เกย่ี วกบั การใช้ Drone บนิ สารวจภูมิประเทศในมมุ สูง

PLC สู่ ครูเพือ่ ศิษย์ 35

ใบงาน

เรื่อง เทคโนโลยกี ารสารวจภาพมมุ สูง

คาชแ้ี จง :

1. ใหน้ ักเรียนวิเคราะห์สถานการณ์ “ทาอยา่ งไร โรงเรียนของเรา จะมีภาพมุมสูง
โรงเรียนของเราท่สี วยงามสาหรบั ประชาสัมพันธ์ทัศนยี ภาพโรงเรยี นของเรา”

2. ให้นกั เรียนดาเนินการสบื ค้น อภปิ ราย ความก้าวหน้าและประโยชนข์ องเทคโนโลยี
อวกาศโดยใช้คอมพิวเตอร์ในการค้นหาข้อมลู แล้วบนั ทกึ ขอ้ มลู ใน ใบงาน เรือ่ ง เทคโนโลยีการสารวจ
ภาพมุมสงู ตามประเดน็ คาถามท่กี าหนด

ประเดน็ ข้อมลู

เทคโนโลยีอวกาศท่สี บื คน้ ได้ …………………………………………………………………………………………………
มอี ะไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

จากสถานการณ์ “ทาอย่างไร …………………………………………………………………………………………………
โรงเรยี นของเราจะมภี าพมมุ สูง …………………………………………………………………………………………………
โรงเรียนของเรา ที่สวยงาม …………………………………………………………………………………………………
สาหรบั ประชาสัมพันธ์ …………………………………………………………………………………………………
ทศั นียภาพโรงเรียนของเรา” …………………………………………………………………………………………………
อปุ กรณ์ทเ่ี กี่ยวกับเทคโนโลยี …………………………………………………………………………………………………
ภาพมุมสูงท่เี ราสามารถเลือก …………………………………………………………………………………………………
มาใชง้ านได้อย่างเหมาะสม …………………………………………………………………………………………………
คืออะไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………

อุปกรณ์ท่ีเก่ยี วกับเทคโนโลยี
ภาพมมุ สูงทเ่ี ลือกมาใชใ้ นงาน
“ภาพมมุ สงู โรงเรยี นของเรา”

ช่อื -สกุล...................................................................................................ช้นั .........................เลขท่.ี ..............

PLC สู่ ครเู พ่ือศิษย์ 36
ชน้ิ งานรวบยอด เรอ่ื ง ภาพมมุ สูงโรงเรยี นของเรา

ชื่อกลุม่ …………………………………………………สมาชกิ ในกลมุ่ จานวน………………………….คน

ชื่อ-สกลุ ...................................................................................................ชั้น.........................เลขท.ี่ ..............
ชื่อ-สกุล...................................................................................................ช้นั .........................เลขท.ี่ ..............
ช่ือ-สกลุ ...................................................................................................ชัน้ .........................เลขที่...............
ชือ่ -สกลุ ...................................................................................................ชนั้ .........................เลขที่...............
ชื่อ-สกลุ ...................................................................................................ชั้น.........................เลขท่ี...............

PLC สู่ ครเู พ่อื ศิษย์ 37

PLC สู่ ครูเพ่อื ศิษย์ 38

ตัวอย่างการออกแบบหน่วยการเรียนรู้
หนว่ ยการเรยี นรู้ บูรณาการกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษากบั STEM
เร่อื ง “ผลติ ภณั ฑป์ ลา วิถีใหมไ่ ทอสี าน” ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 เวลา 10 ชว่ั โมง

…………………………………………………

1. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ปี
1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้

พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ
การป้องกนั โรค และการสร้างเสรมิ สมรรถภาพเพื่อสุขภาพ

ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจติ วิทยาศาสตร์ ในการสบื เสาะหาความรู้
การแกป้ ัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติทเ่ี กิดข้นึ ส่วนใหญ่มรี ูปแบบที่แน่นอน สามารถอธบิ ายและ
ตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมลู และเครื่องมือทีม่ ีอย่ใู นช่วงเวลาน้ันๆ เข้าใจว่าวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความเกีย่ วข้องสัมพันธก์ ัน

ค 2.1 เข้าใจพนื้ ฐานเก่ียวกับการวดั วัดและคาดคะเนขนาดของส่งิ ท่ีตอ้ งการวดั
ค 6.1 มีความสามารถในการแกป้ ญั หา การใหเ้ หตุผล การสื่อสาร การส่ือความหมาย
ทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเช่อื มโยงความรู้ตา่ งๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณติ ศาสตร์
กบั ศาสตร์อืน่ ๆ และมีความคิดริเรมิ่ สร้างสรรค์
ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยสี ารสนเทศในการสบื คน้ ข้อมลู
การเรยี นรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทางาน และอาชีพอย่างมปี ระสิทธิภาพ ประสิทธิผล และ
มีคุณธรรม

1.2 ตวั ชวี้ ดั ชั้นปี

พ 4.1 ม.3/1 กาหนดรายการอาหารทเ่ี หมาะสมกบั วยั ตา่ ง ๆ โดยคานึงถงึ

ความประหยัดและคุณคา่ ทางโภชนาการ

พ 4.1 ม.3/3 รวบรวมข้อมูลและเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาสุขภาพในชมุ ชน

ว 8.1 ม.3/9 จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และหรืออธิบายเก่ียวกับแนวคิด

กระบวนการ และผลของโครงงานหรอื ช้ินงานใหผ้ ู้อน่ื เขา้ ใจ

ค 2.1 ม.3/4 ใชก้ ารคาดคะเนเกยี่ วกบั การวัดในสถานการณต์ า่ งๆได้อย่างเหมาะสม

ค 6.1 ม.3/6 มคี วามคดิ รเิ ริม่ สร้างสรรค์

ง 3.1 ม.3/4 ใช้คอมพวิ เตอรช์ ่วยสรา้ งช้ินงานจากจินตนาการหรืองานทที่ า

ในชีวิตประจาวนั ตามหลกั การทาโครงงานอย่างมจี ิตสานึกและมีความรับผิดชอบ

PLC สู่ ครเู พ่อื ศิษย์ 39

2. สาระสาคัญ / ความคิดรวบยอด

ความสามารถในการกาหนดรายการอาหารที่เหมาะสมกับวัยต่างๆ โดยคานึงถึงความประหยัด
และคุณค่าทางโภชนาการ จากรวบรวมข้อมูลและเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน ให้เกิด
ผลิตภัณฑ์ทางอาหารเพ่ือการบริโภคและการจาหน่าย โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างผลิตภัณฑ์
จากจินตนาการ และใช้การคาดคะเนเก่ียวกับการวัดในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม มีความคิด
ริเร่ิมสรา้ งสรรค์ อย่างมจี ติ สานึก และมีความรับผิดชอบ พร้อมจัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน หรืออธิบาย
เก่ยี วกบั แนวคิดกระบวนการ และผลของผลิตภัณฑ์ ให้ผู้อ่ืนเข้าใจ ย่อมส่งผลดีต่อคุณภาพของชีวิตในด้าน
เศรษฐกิจ สังคม และสขุ ภาพ

3. สาระการเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้

3.1.1 รายการอาหารที่เหมาะสมกับวัยต่างๆ โดยคานึงถึงความประหยัดและคุณค่า

ทางโภชนาการ

3.1.2 แนวทางแกไ้ ขปญั หาสขุ ภาพในชุมชน

3.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ

3.2.1 ทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
มคี วามสามารถในการสงั เกต การวดั การจาแนกประเภท การหา

ความสัมพนั ธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา การคานวณ การจดั ทาและส่ือความหมายข้อมูล
การลงความคิดเห็นจากข้อมลู การพยากรณ์ การตั้งสมมตฐิ าน การกาหนดนิยามเชงิ ปฏิบตั ิการ
การกาหนดและควบคุมตวั แปร การทดลอง การตคี วามหมายขอ้ มูลและลงข้อสรปุ

3.2.2 ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
มคี วามสามารถในการแก้ปัญหา การใหเ้ หตผุ ล การสื่อสาร การสือ่ ความหมาย

ทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเช่ือมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์
กับศาสตรอ์ นื่ ๆ และมคี วามคิดรเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์

3.2.3 ทกั ษะและกระบวนการทางเทคโนโลยี
มีความสามารถกาหนดปัญหา รวบรวมข้อมูล เลือกวิธีการ ออกแบบและ

ปฏบิ ัติการ ทดสอบ ปรับปรงุ แก้ไข และประเมินผล
3.2.4 ทักษะการ ใชค้ อมพวิ เตอรช์ ว่ ยสรา้ งช้ินงาน “ผลติ ภณั ฑป์ ลา วิถีใหม่ ไทอสี าน”

3.3 ด้านคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

3.3.1 มีวนิ ัย
3.3.2 ใฝ่เรียนรู้
3.3.3 มุ่งมั่นในการทางาน
3.3.4 มจี ติ สาธารณะ

PLC สู่ ครูเพื่อศิษย์ 40

4. การวัดและประเมนิ ผล
4.1 ชิน้ งาน/ภาระงานรวบยอด
4.1.1 ชน้ิ งาน “ผลติ ภัณฑ์ปลาวถิ ีใหมไ่ ทอีสาน”
4.1.2 ภาระงาน นิทรรศการ “งานสุขภาพชุมชน”
4.2 ประเมนิ ผลระหว่างเรยี น

สิง่ ท่ีวดั วิธกี าร เครือ่ งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ
ดา้ นความรู้ (K)
-กาหนดรายการอาหาร - ทาใบงาน - แบบ ผา่ นการประเมิน
เหมาะสมกับวยั ตา่ ง ๆ เรอื่ ง เมนู ประเมนิ คะแนนร้อยละ 60 ขน้ึ ไป
โดยคานงึ ถึงความประหยัด อาหารปลา ใบงาน
และคณุ ค่าทางโภชนาการ เพม่ิ คุณคา่
ทาง - แบบ ผา่ นการประเมิน
-เสนอแนวทางป้องกนั โรคทเี่ ป็น โภชนาการ ประเมนิ คะแนนร้อยละ 60 ขนึ้ ไป
สาเหตสุ าคญั ของการเจบ็ ป่วย - ทาใบงาน ใบงาน
และการตายของคนไทย เรื่อง ผลติ ภณั ฑ์
-รวบรวมข้อมลู และเสนอ ปลาวิถใี หม่ - แบบ ผ่านการประเมิน
แนวทางแก้ไขปญั หาสุขภาพ ไทอีสาน ประเมนิ คะแนนร้อยละ 60 ขน้ึ ไป
ในชุมชน - ทาสมดุ รายงาน สมดุ รายงาน
เรื่อง แนวทาง
แก้ไขปัญหา
สุขภาพ
ในชมุ ชน

ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) -การสังเกต แบบสังเกต นกั เรยี นได้คะแนน
-ทกั ษะการสืบคน้ และรวบรวม และประเมิน จากการประเมนิ ด้าน
ขอ้ มูล ด้านทักษะ ทกั ษะ/กระบวนการ
-ทกั ษะการวเิ คราะห์ (คะแนนเตม็ 20 คะแนน)
-ทักษะการวางแผน คะแนน 9-10 ระดับดเี ยยี่ ม
-ทกั ษะการสรา้ งทางเลอื ก คะแนน 7-8 ระดับดมี าก
ทีห่ ลากหลาย คะแนน 5-6 ระดบั ผา่ น
-ทกั ษะการประเมนิ ทางเลือก คะแนน 0-4 ระดบั ปรับปรงุ
-ออกแบบและปฏิบตั ิการ
-ทกั ษะความคดิ ริเริ่มสรา้ งสรรค์
-ทักษะการนาเสนอ

PLC สู่ ครเู พ่ือศษิ ย์ 41

4.2 ประเมนิ ผลระหวา่ งเรียน วธิ กี าร เคร่ืองมอื เกณฑ์การประเมิน
- การสงั เกต
สิ่งที่วัด - แบบบันทกึ ผ่านการประเมิน
ดา้ นเจตคติ (A) การสงั เกต ทกุ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
-มวี นิ ยั
-มงุ่ มั่นในการทางาน
-อยอู่ ยา่ งพอเพียง
-ใฝ่เรยี นรู้
-รกั ความเป็นไทย
-ซอื่ สัตยส์ ุจริต
-มจี ติ สาธารณะ

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ชวั่ โมงที่ 1-2
1. นกั เรียนทากจิ กรรม Brain Gym ขยับกายขยายสมอง
2. นักเรียนนาเสนอแนวทางการศึกษาคน้ คว้า รวบรวมข้อมลู และเสนอแนวทางแก้ไขปญั หา

สุขภาพในชุมชน
3. จัดนักเรยี นออกเป็นกลุ่มๆละ 4-5 คน ให้ทุกกลมุ่ เลือกวิธกี ารศกึ ษาคน้ คว้า รวบรวมข้อมลู

และเสนอแนวทางแกไ้ ขปัญหาสุขภาพในชมุ ชน
4. นักเรียนแต่ละกล่มุ ศึกษาคน้ ควา้ รวบรวมขอ้ มูล และเสนอแนวทางแกไ้ ขปัญหาสขุ ภาพ

ในชุมชน ตามวธิ กี ารศึกษาคน้ ควา้ ทแี่ ต่ละกลุม่ เลอื ก โดยให้นักเรยี นเนน้ เน้อื หา เรื่อง การเกดิ โรคพยาธิ
ใบไม้ตบั และมะเรง็ ทอ่ นา้ ดีจากพฤติกรรมการกินของคนอสี าน

5. นักเรียนแต่ละกล่มุ ทาใบงาน เร่ือง เมนอู าหารปลาเพ่ิมคุณคา่ ทางโภชนาการ แล้วทาใบงาน
รายบคุ คลสาหรบั รวบรวมเปน็ รูปเลม่ สมุดรายงาน เมื่อเรยี นจบหนว่ ยการเรยี นรู้

6. ตัวแทนนกั เรยี นแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงานหนา้ ชน้ั เรยี น
7. ครูและนกั เรยี นร่วมกันอภปิ ราย สรปุ และแสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกับแนวทางแกไ้ ขปญั หา
สุขภาพในชมุ ชน เก่ยี วกับการเกดิ โรคพยาธใิ บไม้ตับและมะเร็งทอ่ น้าดีจากพฤติกรรมการกินของคนอสี าน

ชว่ั โมงที่ 3-4
1. นักเรยี นทากิจกรรม Brain Gym ขยับกายขยายสมอง
2. นกั เรยี นนาเสนอรายการอาหารจากปลาท่เี หมาะสมกับวัยต่างๆ โดยคานึงถงึ ความประหยัด
และคณุ คา่ ทางโภชนาการ
3. นักเรียนคดิ เช่ือมโยงถึงการจะนาปลามาแปรรปู เปน็ ผลติ ภณั ฑป์ ลา ในแนววิถีใหม่ ไทอสี าน
คอื กนิ ปลาสุก ปราศจากเช้อื โรค และคงคุณคา่ ทางโภชนาการ
4. นกั เรยี นออกแบบผลติ ภัณฑป์ ลาวิถใี หม่ ไทอสี าน
5. นักเรยี นทาใบงาน เรื่อง ผลิตภณั ฑป์ ลาวิถใี หม่ ไทอสี าน

PLC สู่ ครูเพ่อื ศษิ ย์ 42

ชว่ั โมงท่ี 5-6
1. นักเรยี นทากจิ กรรม Brain Gym ขยับกายขยายสมอง
2. นกั เรยี นเสนอแนวทางป้องกันโรคท่ีเปน็ สาเหตุสาคญั ของการเจ็บปว่ ยและการตาย
ของคนไทย
3. จัดนักเรียนออกเป็นกลมุ่ ๆละ 4–5 คน ให้ทุกกลุม่ เลือกวธิ กี ารศกึ ษาคน้ ควา้ รวบรวมขอ้ มลู
และเสนอแนวทางปอ้ งกนั โรคท่ีเป็นสาเหตุสาคัญของการเจ็บปว่ ยและการตายของคนไทย
4. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ จัดทาสมดุ รายงาน เรือ่ ง แนวทางแก้ไขปัญหาสขุ ภาพในชุมชน
5. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ นาเสนอความรู้จากการทารายงานหนา้ ชัน้ เรยี น พร้อมสง่ สมดุ รายงาน
เรือ่ ง แนวทางแก้ไขปัญหาสุขภาพในชมุ ชน ใหค้ รปู ระเมนิ ผลงาน
6. นกั เรียนสนทนา อภปิ ราย เก่ยี วกับการวางแผนการจดั งานนิทรรศการ “งานสุขภาพชมุ ชน”

เนน้ การแสดงสนิ ค้าผลติ ภณั ฑ์ “ผลติ ภัณฑ์ปลา วถิ ีใหม่ไทอสี าน” ของนักเรียนและชุมชน

พร้อมสง่ เสริมการขายผ่าน facebook โดยจดั ให้มผี รู้ ับผิดชอบการจาหน่ายผลติ ภัณฑผ์ ่านระบบonline
ประจาชุมชน

ช่วั โมงท่ี 7-10
1. นกั เรียนทากจิ กรรม Brain Gym ขยับกายขยายสมอง
2. นักเรียนจัดงานนทิ รรศการ “งานสุขภาพชุมชน”
3. ผู้ปกครอง และชาวบ้านในชมุ ชน ร่วมงานนทิ รรศการ “งานสุขภาพชุมชน”
4. นักเรยี นสารวจความพึงพอใจของผ้ปู กครอง และชาวบ้านในชุมชน ต่องานนิทรรศการ
“งานสขุ ภาพชมุ ชน”

6. สอ่ื และแหลง่ เรียนรู้
1. ใบความรู้ เรือ่ ง วฒั นธรรมการกนิ ของคนอีสาน
2. VDO เมนูอาหารจากปลา
3. เมนูอาหารจากปลาในชุมชน
4. Internetเพ่ือการสบื คน้ และการส่ือสารเพ่ือการจาหนา่ ยผลิตภณั ฑ์
5. แหล่งเรยี นรู้ต่างๆ ในชมุ ชน
6. ภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่
7. เว็บไซด์ www.livercare.kku.ac.th
8. หนังสือ ความรพู้ ื้นฐานโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งทอ่ นา้ ดี
9. ส่อื ความรสู้ าหรับเด็ก เยาวชนและประชาชน เร่ือง ความรูเ้ ร่ืองโรคพยาธิใบไม้ตบั และมะเรง็

ทอ่ น้าดี

PLC สู่ ครเู พ่ือศษิ ย์ 43

ใบงาน

เรือ่ ง เมนอู าหารปลาเพิม่ คุณค่าทางโภชนาการ

คาชีแ้ จง : ใหน้ กั เรียนกาหนดรายการอาหารทเ่ี หมาะสมกับคนในชุมชน สาหรบั วยั ตา่ งๆ ไดแ้ ก่ วยั ทารก

วัยเดก็ วัยกอ่ นเรยี น วัยเรียน วยั รุ่น วยั ผูใ้ หญ่ และวยั ผู้สงู อายุ ทั้งนี้ ใหค้ านึงถึงความประหยดั และคุณค่า
ทางโภชนาการ ตลอดจนความปลอดภยั จากการเกิดโรคพยาธิใบไมต้ ับและมะเร็งท่อน้าดี

วยั เมนูอาหาร/ภาพประกอบ
วัยทารก

วยั เด็ก/
วัยก่อนเรยี น

วยั เรยี น
วัยรุ่น
วยั ผใู้ หญ่
วยั ผสู้ งู อายุ

ชื่อ-สกุล...................................................................................................ชัน้ .........................เลขท่ี...............

PLC สู่ ครูเพื่อศษิ ย์ 44

ใบงาน

เรอ่ื ง ผลิตภณั ฑ์ปลา วิถใี หม่ไทยอสี าน

คาช้ีแจง : ให้นักเรียนดูภาพวงจรของการเกิดโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้าดี แล้วคิดเช่ือมโยง

ถึงการออกแบบผลิตภัณฑ์ปลา แนววิถีใหม่ไทอีสาน อาหารสุก สะอาด ปราศจากเชื้อโรค และคงคุณค่า
ทางโภชนาการ โดยระบุเมนูอาหาร และบรรจภุ ณั ฑ์ ที่จะใชใ้ นการผลติ “ผลิตภัณฑป์ ลาวถิ ีใหม่ไทยอีสาน”

PLC สู่ ครูเพือ่ ศิษย์ 45

เมนอู าหาร บรรจภุ ณั ฑ์

ภาพประกอบ “ผลติ ภัณฑ์ปลาวิถใี หม่ไทอสี าน”

facebook เพ่ือการจาหน่ายผลิตภัณฑผ์ า่ นระบบonline…………………………………………………………………

ชื่อกลุ่ม………………………………………………………………………………………………………………………………………….
สมาชิกกลุม่
ชอ่ื -สกลุ ...................................................................................................ช้ัน..........................เลขท.่ี ..............
ชอ่ื -สกลุ ...................................................................................................ชั้น..........................เลขที่...............
ชอ่ื -สกุล...................................................................................................ชน้ั ..........................เลขท่.ี ..............
ชอ่ื -สกลุ ...................................................................................................ช้นั ..........................เลขท.ี่ ..............
ชื่อ-สกุล...................................................................................................ชน้ั ..........................เลขท.่ี ..............

PLC สู่ ครเู พ่อื ศิษย์ 46
สมดุ รายงาน เร่อื ง แนวทางแกไ้ ขปญั หาสุขภาพในชมุ ชน

PLC สู่ ครเู พ่อื ศษิ ย์ 47
ภาระงานรวบยอด นทิ รรศการ “งานสุขภาพชุมชน”

PLC สู่ ครูเพ่อื ศษิ ย์ 48

ใบงานทใี่ ชป้ ระกอบการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารของครู

PLC สู่ ครเู พอื่ ศษิ ย์ 49

ใบงานท่ี 1
คุณภาพผู้เรียนทสี่ ะท้อนความเป็นพลเมอื งยคุ Thailand 4.0

คาช้ีแจง ใหค้ รูวิเคราะหค์ ุณภาพผู้เรยี นทสี่ ะท้อนความเปน็ พลเมืองในยุค Thailand 4.0
ในรายวชิ าที่ครูรับผิดชอบจัดการเรียนการสอน

ความร(ู้ K : Knowledge)
……………………………………………………………………….…………………………………
…………………………………….……………………………………………………………………

ทกั ษะ/การปฏบิ ัติ (P : Performance)

…………………………………………………………
…………………………………………………………
…………………………………………………………
…………………………………………………………
…………………………………………………………

คุณลักษณะ (A : Attribute)
……………………………………………………………………….…………………………………
…………………………………….……………………………………………………………………

นวัตกรรม (Innovation) ผลลพั ธจ์ ากการเรยี นรูส้ ู่ความเป็นพลเมืองยุคThailand 4.0
นวัตกรรมผลติ ภัณฑ์ : Product Innovation
นวตั กรรมกระบวนการ : Process Innovation
นวตั กรรมการบรกิ าร : Services Innovation

ระบุประเภทนวตั กรรม……………………………………………………………………………………………..


Click to View FlipBook Version