The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชิ้นที่2-วัฒนธรรมไทยจริง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dewwiee17, 2021-11-05 02:14:36

ชิ้นที่2-วัฒนธรรมไทยจริง

ชิ้นที่2-วัฒนธรรมไทยจริง

วัฒนธรรมไทย

เสนอ
ผศ.ดร.สรุ ชัยภัทรดษิ ฐ์ ภมู ภิ ักดิเมธี

ความหมายของวัฒนธรรม เงอ่ื นไขสาํ หรบั พัฒนา
การวัฒนธรรม
วัฒนธรรม หมายรวมถึง ทุกสิ่งทุกอย่าง
ที่มนุษย์สร้างข้ึนมานับต้ังแต่ภาษา ขนบธรรมเนียม 1. มีเสรที ่ีไม่ตอ้ งตอบสนองตอ่ สิ่งแวดล้อมโดย
ประเพณี ศาสนา กฎหมาย ศิลปะ จริยธรรม สญั ชาตญิ าณ
ตลอดจนวิทยาการและเทคโนโลยีต่าง ๆ อาจกล่าวได้
ว่าวัฒนธรรมเป็นเคร่ืองมือที่มนุษย์ คิดค้นข้ึนมาเพ่ือ 2. ความสามารถในการเรยี นรู้
ช่วยให้มนุษย์สามารถดารงอยู่ต่อไปได้ เพราะการจะมี 3. การคดิ ออกมาเป็นสัญลกั ษณ์
ชีวิตอยู่ในโลกนี้ได้ มนุษย์จะต้องรู้จักใช้ประโยชน์จาก 4. มภี าษา
ธรรมชาติและจะต้องรู้จักควบคุมความประพฤติของ 5. สามารถประดษิ ฐ์สิ่งใหม่ (Invention)
มนษุ ย์ด้วยกัน

ความสาํ คัญของวัฒนธรรม 5. ท า ใ ห้ มี พ ฤ ติ ก ร ร ม เ ป็ น แ บ บ เ ดี ย ว กั น
6. ทาให้เข้ากับคนพวกอื่นในสังคมเดียวกันได้
1. วัฒนธรรมเป็นเคร่ืองกาหนดความเจริญหรือ 7. ทาให้มนุษย์มีสภาวะท่ีแตกต่างจากสัตว
ความเส่ือมของสังคม และเป็นเครื่องกาหนดชีวิตความ
เปน็ อยขู่ องคนในสังคม

2. การศึกษาวัฒนธรรมจะทาให้เข้าใจชีวิตความ
เป็นอยู่ค่านิยมของสังคมเจตคติความคิดเห็นและความ
เชือ่ ถอื ของบุคคลไดอ้ ย่างถูกต้อง

3. ทาให้มีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกันและให้ความ
ร่วมมือกนั ได้

4. ทาให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคมเพราะ
วัฒนธรรมคือกรอบหรือแบบแผนของการดารงชีวิต

สาเหตการเกดิ วฒั นธรรม 2. ความจาเป็นในการดารงชีวิตและการประกอบ
ชีวิตคนไทยส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมมา
1. สิ่งแวดล้อมและความเป็นอยู่ภูมิประเทศส่วนใหญ่ ตง้ั แต่อดตี และมชี ีวิตความเป็นอยู่เรยี บง่ายชาวบ้านได้
ของไทยเป็นที่ราบลุ่มมีแม่น้าลาคลองมากมาย ชาวบ้าน ประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ขึ้นเอง และพัฒนา
จึงประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก รู้จักประดิษฐ์ รปู แบบใหเ้ หมาะสมกบั การใช้งาน
เครื่องมือเพื่อใช้จับสัตว์น้า ประดิษฐ์เร่ือรูปแบบต่างๆ
เป็นพาหนะทางน้าปลูกสร้างบ้านที่เหมาะสมกับสภาพ
ภูมิศาสตร์ เช่น บ้านยกพื้นสูงเพื่อป้องกันน้าท่วมหลังคา
มีจั่วสูงเพื่อระบายน้าเวลาฝนตก และให้อากาศถ่ายเท
สะดวกเหมาะสมกับภูมอิ ากาศทเ่ี ป็นเมอื งร้อน

3. ทรัพยากรในทอ้ งถิ่นทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ 4. ความเชื่อ ศาสนา และประเพณีคนไทยมีความเช่ือ
รอบตัวผู้คนในภูมิภาคต่างๆ จึงนามาใช้ให้เกิด ดงั้ เดมิ ในเรือ่ งผีสางเทวดาและส่ิงเหนือธรรมชาติ ตอ่ มารับ
ประโยชน์ และเลือกวสั ดใุ หเ้ หมาะสมกับการนาไปใช้ ความเช่ือในศาสนาพราหมณ์ฮินดูพระพุทธศาสนาเข้ามา
ผสมผสานกัน เห็นได้จากประเพณีและพิธีกรรมต่างๆ พิธี
ทางพทุ ธคือการาพธิ สี งฆ์ มีพิธีทางพราหมณ์

ประเภทของวัฒนธรรม 2. วฒั นธรรมทไี่ มใ่ ชว่ ัตถุ (Non – Material
Culture) หมายถงึ ส่งิ ตา่ งๆ ท่ีไม่มีรูปร่าง ไมส่ ามารถ
วฒั นธรรมแบ่งเปน็ 2 ประเภท คอื มองเหน็ ได้ ไมส่ ามารถสมั ผัสหรือจบั ต้องได้ เช่น
1. วัฒนธรรมทางวัตถุ (material culture) ความรู้ คา่ นิยม แนวความคดิ ขนบธรรมเนียม
หมายถึง สิ่งของหรือวัตถุอันเกิดจากความคิดและ ประเพณี เปน็ ต้น วัฒนธรรมที่ไม่ใชว่ ัตถุเรยี กอีกอย่าง
การประดิษฐ์ข้ึนมาของมนุษย์ เช่น อาหาร บ้าน ยา หนึง่ ว่านามธรรมแบ่งเปน็
รกั ษาโรค เครอื่ งมือ เคร่อื งใช้ เป็นต้น
2.1 คตธิ รรม เกย่ี วขอ้ งกับคุณงามความดี
จิตใจหรอื คณุ ธรรมในชีวิต

2.2 เนตธิ รรม เกย่ี วกบั ประเพณแี ละ
กฎหมาย

2.3 สหธรรม เกย่ี วข้องกับมารยาทในการอยู่
รว่ มกนั ในสงั คม

ปัญหาพน้ื ฐานของมนุษย์ ปัญหาพ้ืนฐาน ส่วนของวัฒนธรรม
ก่อใหเ้ กดิ ปญั หาทางสงัคม
6. ปัญหาเรือ่ งลี้ลับอานาจ ระบบศาสนาและความเชอื่
ปัญหาพืน้ ฐาน สว่ นของวฒั นธรรม เหนือธรรมชาติ
7. ปัญหาเรือ่ งโรคภยั ไขเ้ จบ็ ระบบการแพทย์และ
1. ปญั หาความสมั พันธท์ าง ระบบเครอื ญาติ สาธารณสุข
เพศและการควบคมุ เพศ 8. ปัญหาเร่อื งการส่อื สาร
สัมพนั ธ์ ระบบเศรษฐกิจ ระบบการสอ่ื สาร
ระบบการเมืองการปกครอง
2. ปญั หาเรื่องปากทอ้ ง 9. ปญั หาเร่ืองความคดิ สรา้ ง ศลิ ปะ
ระบบการศกึ ษา สรรค์ และการแสดงออก กีฬา และนันทนาการ
3. ปัญหาความขดั แย้งและ
การควบคมุ ทางสังคม 10. ปญั หาเรอ่ื งการพกั ผ่อน
หยอ่ นใจ
4. ปัญหาเร่อื งการอบรมส่ัง
สอนสมาชกิ ใหมข่ องสงั คม

ลักษณะสาํ คัญของวฒั นธรรม 5. เปน็ แบบแผนในการดารงชีวิตอยู่ร่วมกันสร้าง
ความเป็นเอกลักษณข์ องสังคมนัน้ ๆ
1. วัฒนธรรมเกิดจากการเรียนรู้ของ สมาชิกใน
สังคม วัฒนธรรมมิได้เกิดโดยสัญชาตญาณของมนุษย์ 6. วฒั นธรรมมกี ารเปลี่ยนแปลง และปรับปรุงอยู่
แตเ่ กิดจากการที่มนุษย์เป็นสมาชิกของสงั คมรว่ มกนั เสมอเพอื่ ใหเ้ หมาะสมกบั ส่งิ แวดล้อมทางธรรมชาติ
และทางสงั คมของแตล่ ะสงั คม
2. วัฒนธรรมมีการถ่ายทอดจากสมาชิกรนุ่ หน่ึงไปสู่
สมาชกิ รนุ่ ต่อไป 7. วัฒนธรรมมีทง้ั ระดับใหญแ่ ละระดบั รอง
หมายถงึ วฒั นธรรม โลกกาหนดใหเ้ ป็นอารยธรรม
3. วัฒนธรรมเกิดข้ึนเพ่ือสนองความต้องการของ วัฒนธรรมประจาชาติวัฒนธรรมทอ้ งถิ่น
สมาชิกในสังคม

4. วัฒนธรรมเป็นแบบแผนการดารงชีวิตร่วมกัน
ของสมาชกิ ในสงั คม

การเปล่ยี นแปลงทางวัฒนธรรม 4. การเปล่ียนแปลงสิ่งแวดล้อมทางสังคม เช่น
ประชากรมีจานวนมากข้ึนทาให้มีการแข่งขันกันสูงเกิด
สาเหตุการเปลยี่ นแปลง ความขดั แยง้
1. ความต้องการปรุงแต่งวัฒนธรรมสังคมของตน
ใ ห้ เ จ ริ ญ ง อ ก ง า ม ขึ้ น มี ก า ร คิ ด ค้ น วั ฒ น ธ ร ร ม ใ ห ม่ 5. การแลกเปล่ียนวัฒนธรรมจากสังคมอื่นซ่ึงเกิดจาก
ดัดแปลงให้เหมาะสมกับสังคมปัจจุบันจึงทาให้เกิดการ ความเจริญในด้านการสื่อสารการคมมนาคมติดต่อถึงกัน
เปลยี่ นแปลงทางวฒั นธรรม เป็นอย่างสะดวกรวดเร็วการแลกเปล่ียนวัฒนธรรมจาก
2. การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติการดัดแปลง สงั คมอ่ืนจงึ เป็นไปอยา่ งกวา้ งขวาง
ธรรมชาติ เช่น ตู้เย็น แอร์คอนดิชั่น ปล่อยสาร CFC
ทาให้โลกร้อน 6. การพัฒนาการความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ทาให้
3. การเปลี่ยนแปลงตามความตอ้ งการของ มนษุ ย์ เกิดการเปล่ียนแปลงทางทัศนคติความเช่ือแบบเดิมหันไป
นิยมแบบใหม่เพ่ือต้องการให้เป็นผู้ท่ีเรียกว่าทันสมัยไม่ล้า
หลงั

ลักษณะสําคญั ของวัฒนธรรมไทย 4. มีวถิ ชี ีวิตเกษตรกรรม ยอมรับความสาคญั ของ
ธรรมชาติ
1. นับถือระบบเครอื ญาติ มคี ่านยิ มเคารพผ้อู าวุธ
โส 5. นิยมความสนุกสนาน ดาเนินชีวิตแบสบายๆ
6. เปน็ วฒั นธรรมแบบผสมผสาน (ไทย จนี ฝรงั่ แขก
2. ยดึ ถือในบญุ กุศล เช่อื ในกฎแห่งกรรมตาม ฯลฯ)
หลกั พระพุทธศาสนา มีไมตรจี ิตต่อผู้อ่นื ชอบทาบุญ 7. ยดึ มั่น จงรกั ภักดี เทดิ ทูนสถาบนั พระมหากษตั ริย์
ตามโอกาสสาคัญของชวี ิต

3. มแี บบแผนพิธกี รรม ในการประกอบกิจการ
หรือประเพณตี า่ งๆตังแต่เกิด จนตาย

ผลจากการเปล่ียนแปลง การเลอื กรบั วฒั นธรรม
ทางวฒั นธรรม
หลักในการเลอื กรบั วัฒนธรรม
ผลจากการเปล่ียนแปลงทางวฒั นธรรมมี 2 1. ศึกษาวัฒนธรรมไทยให้เข้าใจตนเอง : เพื่อสร้าง
ด้าน ภูมิคุ้มกันให้คนไทยให้เข้าถึงและเข้าใจวัฒนธรรม ภูมิ
ปญั ญาอันเปน็ มรดกของชาติ
1. ด้านบวก : ทาใหเ้ กิดการพัฒนา ความเปน็ อยู่ 2. เรียนรู้วัฒนธรรมสากล : เพื่อรู้เท่าทันโลก เช่น
สะดวกสบายข้นึ ภาษา เทคโนโลยี ฯลฯ

2. ด้านลบ : เกดิ ปญั หาการปรับตัว ปญั หาสงั คม

3. เลอื กรบั วัฒนธรรมสากลในกระแสโลกาภิวัตน์ อ้างอิง
ที่เป็นประโยชน:์ รับวทิ ยาการ ความเจรญิ ต่างๆ ควร
ศกึ ษาผลกระทบที่เกิดให้รอบด้านเปน็ ไป เพื่อประโยชน์ zazana. (2558). วฒั นธรรมหมายถงึ อะไร. สบื ค้นวนั ท่ี
ความสมานฉันท์ ของสังคมโดยรวม 10 สิงหาคม 2564. ทม่ี า :
https://zazana.com/1200
4. ปรบั ใชใ้ ห้เหมาะสมกบั บริบททางสงั คม : รกั ษา
ความเปน็ ตวั ของตัวเองปรบั ให้เขา้ กบั ตน ไม่ใช่การ jitiwat. (2564). การเปล่ยี นแปลงทางวฒั นธรรม. สบื คน้
ลอกเลียนแบบ วนั ที่ 10 สิงหาคม 2564. ทมี่ า :
http://jitiwat1234.blogspot.com

พนดิ า ทองคาแท้ . (2564). ลักษณะของวัฒนธรรม .
สืบคน้ วนั ท่ี 12 สิงหาคม 2564. ทีม่ า :
http://119.46.166.126/lesson.php

อา้ งอิง(ต่อ)

R-Koi. (2558). ประเภทของวัฒนธรรมไทย. สบื คน้
วนั ที่ 12 สงิ หาคม 2564. ที่มา :
http://rkoi.blogspot.com/

รจุ น์หา เรือนทรง. (2564). วฒั นธรรม. สืบคน้ วนั ที่ 12
สิงหาคม 2564. ท่มี า :
https://www.sw2.ac.th/

จัดทําโดย

นางสาวอริศรา เกษแกว้
รหัสนักศกึ ษา 6340109219

ช้นั ปีที่ 2 หม่ทู ่ี 2
คณะครศุ าสตร์ สาขาสงั คมศึกษา
CREมDหITSา:วThิทisยpาreลseยั ntรatาioชn ภtemัฏpนlaคteรwรasาชสีมา

created by Slidesgo, including icons by
Flaticon and infographics & images by Freepik


Click to View FlipBook Version