The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนากระบวนการนิเทศภายใน
โดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning community : PLC) และการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน(Lesson Study) โรงเรียนเทพอุดมวิทยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การพัฒนากระบวนการนิเทศภายใน โดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning community : PLC) และการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน(Lesson Study)

การพัฒนากระบวนการนิเทศภายใน
โดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning community : PLC) และการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน(Lesson Study) โรงเรียนเทพอุดมวิทยา

Keywords: Professional Learning communityม,PLC,Lesson Study,โรงเรียนเทพอุดม,เทพอุดม,วิทยา



คำนำ

รายงานฉบบั นี้ จัดทำขึ้นเพ่ือเปน เอกสารรายงานการดำเนินการพัฒนากระบวนการนิเทศภายใน
โดยใชก ระบวนการชมุ ชนแหงการเรยี นรทู างวิชาชีพ(Professional Learning community : PLC) และ
การพัฒนาบทเรียนรวมกนั (Lesson Study) รูปแบบโครงการ “การยกระดับคุณภาพการจดั การเรียนรู
ดวยชุมชนแหง การเรยี นรูทางวชิ าชพี และการพัฒนาบทเรียนรวมกนั ดว ยรปู แบบ T-PDSR3 รวมกับระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศe-Classroom เพ่อื พฒั นาทักษะการคิดขน้ั สงู ของนักเรยี น” จนประสบผลสำเรจ็
ทง้ั ในระดับ เขตพนื้ ที่ และ ในระดบั ประเทศ แลวนน้ั

เพือ่ ใหการดำเนนิ งานมกี ารพัฒนา ปรับใชในปก ารศึกษา ตอ ไป มีคุณภาพมากยิ่งข้นึ โรงเรียนได
เผยแพรในรูปแบบรายงานนวัตกรรม/วิธีปฏิบัติที่ดี (Best Practices) เพื่อรับคำเสนอแนะจาก
ผูเชี่ยวชาญในดานการจัดการเรียนการสอนที่จะพัฒนาผูเรียนใหมีทักษะความรูความสามารถเต็มตาม
ศกั ยภาพของแตล ะบุคคลตอ ไป

ขาพเจาหวังเปนอยางยิ่งวา รายงานฉบับนี้จะเปนประโยชนแกคณะครู บุคลากรทางการศึกษา
และผูสนใจไดเปนอยางดี และขอขอบคุณ คณาจารย คณะศึกษานิเทศก ผูเชี่ยวชาญ คณะครูและ
บคุ ลากรทกุ ทานทมี่ สี วนรว มในการดำเนนิ งาน ในครั้งน้จี นสำเร็จ ไว ณ โอกาสน้ี

ทานสามารถดาวนโหลดไฟลอิเล็กทรอนิกสเอกสารฉบับนี้ไดที่ https://bit.ly/3BkTcTa และ
รับชมตัวอยางกิจกรรมถอดบทเรียนฯ ไดที่ https://youtu.be/3fgdmVxMR4c หรือที่ QR-Code
ดานลาง

ลงชื่อ
( นายภานุวฒั น แปน จนั ทร)

ตำแหนง ผอู ำนวยการโรงเรยี นเทพอุดมวทิ ยา
วันท่ี 26 ตลุ าคม 2564



สารบัญ

หนา

คำนำ ............................................................................................................................... ก
สารบญั ............................................................................................................................ ข
ความสำคัญของนวัตกรรม/วิธกี ารปฏิบัตทิ ่ีเปนเลิศ ........................................................ 1
วัตถุประสงคแ ละเปา หมายการดำเนินงาน........................................................................ 2
ขน้ั ตอนการดำเนินงาน..................................................................................................... 3
ผลการดำเนนิ งาน............................................................................................................. 6
ปจจัยแหงความสำเร็จ....................................................................................................... ๖
บทเรยี นที่ไดรับ................................................................................................................. 7
การเผยแพรแ ละรางวลั ที่ไดรับ........................................................................................... 8
ภาคผนวก ......................................................................................................................... 11
11
- QR code และ ลงิ กคลปิ VDO ............................................................................ 12
- ภาพกจิ กรรม PLC ……………................................................................................ 18
- ประกาศรางวลั ไดร ับรางวัล ...................................................................................

แบบรายงานนวตั กรรม/วิธปี ฏิบัตทิ ดี่ ี (Best Practices)

ประเภทของนวตั กรรม/วธิ ีปฏิบัตทิ ี่เปนเลิศ การพัฒนากระบวนการนเิ ทศภายใน

โดยใชก ระบวนการชุมชนแหง การเรยี นรูทางวิชาชีพ

(Professional Learning community : PLC)

และการพฒั นาบทเรียนรวมกัน(Lesson Study)

ชอ่ื วธิ ีปฏิบตั ิทีเ่ ปนเลศิ (Best Practices) การยกระดบั คุณภาพการจัดการเรียนรูดว ยชมุ ชน

แหง การเรียนรูทางวิชาชพี และการพฒั นาบทเรียนรวมกนั

ดวยรูปแบบ T-PDSR3 รว มกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

e-Classroom เพือ่ พฒั นาทกั ษะการคดิ ขนั้ สงู ของนักเรยี น

สถานศกึ ษา โรงเรียนเทพอุดมวิทยา สหวทิ ยาเขต 8 ศรีนครอจั จะ

ช่อื – สกุล ผูบ รหิ าร นายภานุวัฒน แปน จนั ทร

จำนวนครูทั้งหมด 20 คน จำนวนนกั เรยี นทงั้ หมด 272 คน

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. ความสำคัญของนวัตกรรม/วธิ กี ารปฏบิ ัติที่เปนเลศิ

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พุทธศักราช 2545

มาตรา 22 ระบถุ ึงหลักการจัดการศึกษาวา ผเู รยี นทกุ คนสามารถเรยี นรูและพฒั นาตนเองได ตองจัดการศึกษา

ทพ่ี ัฒนาผูเรยี นตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ซึง่ ครทู กุ คนมีความจำเปนอยางยิง่ ทจี่ ะตองแสวงหาวิธีการท่ีจะ

ชว ยใหนกั เรียนทกุ คนสามารถเรยี นรูไดต ามเจตนารมณข องพระราชบญั ญตั ิดังกลาว

“ครูและบุคลากรทางการศึกษา” มีความสำคัญยิ่งตอการพัฒนาคุณภาพผูเรียน และคุณภาพ

การศึกษาของประเทศ เพื่อใหการเพิ่มคุณภาพของผูเรียน และคุณภาพการศึกษาประสบความสำเร็จ ครูและ

บุคลากรทางการศึกษาจึงตองพัฒนาตนเองทั้งดานวิชาการและวิชาชีพที่สอดคลองกับภารกิจการปฏิบัติงาน

ตามบทบาทหนา ทแี่ ละเปนการพฒั นาที่องิ พ้นื ท่ีอยางสม่ำเสมอและตอเน่ือง การพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการ

ศึกษาที่ประสบความสำเร็จ ในหลายประเทศตางใหความสำคัญกับการพัฒนาวิชาชีพที่มุงใหครู ผูบริหาร นัก

การศึกษา และผูเกี่ยวของ รวมมือรวมพลังกันพัฒนาวิชาชีพอยางตอเนื่องและสม่ำเสมอ ในรูปแบบ “ชุมชน

แหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC)” โดยสมาชิกชุมชนวิชาชีพรวมกัน

กำหนดวิสัยทัศน เปาหมาย พันธกิจ และกิจกรรม การพัฒนาวิชาชีพรวมกัน และภารกิจการพัฒนารวมกัน

สมาชิกรวมพลังเรียนรูแบบกัลยาณมิตร ลงมือปฏิบัติบนฐานการทำงานจริงที่อิงพื้นที่การปฏิบัติงานมากกวา

การพัฒนาในรูปแบบอื่นที่ไดจากภายนอกหองเรียน ผลลัพธและผลกระทบที่เกิดจากการพัฒนาตามแบบ

“ชุมชนแหง การเรยี นรูทางวชิ าชีพ” กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงระดบั บุคคล คือ การเปล่ยี นแปลงเชิงพฤติกรรม

ทางบวกแกครู ผูบริหาร ผูเรียน และผูเกี่ยวของ ใหเปน “คนคุณภาพ” ซึ่งสงผลตอการ พัฒนาคุณภาพของ

ผูเรียน คณุ ภาพการศกึ ษา และคุณภาพของประเทศในท่สี ุด

2

ผลการจัดการศึกษาปการศกึ ษาที่ผา นมาของโรงเรียนเทพอุดมวิทยา เมื่อพิจารณาผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรยี นของกลุมสาระการเรียนรทู ุกกลุมสาระ สมรรถนะสำคัญของผูเรยี น คุณลกั ษณะอันพึงประสงค พฤติกรรม
การเรยี นในชน้ั เรยี นของนักเรียน และ ชิ้นงานของนกั เรียน พบวา ยงั ไมสะทอ นถงึ การมีทักษะการคิดวิเคราะห
คิดอยา งมีวิจารณญาณ คิดสรางสรรค ทชี่ ัดเจนและโดดเดน กิจกรรมขั้นการนำเสนอผลงานของนกั เรียนนน้ั ไม
สามารถอธิบายการทำงานของตนเองไดอยางเหมาะสมและดีเทาที่ควร การนำเสนอขาดลำดับขั้นตอน ไม
สัมพันธกัน ไมสะทอนใหเห็นถึงกระบวนการแกปญหาที่เปนระบบ ขาดการคิดวิเคราะห การพิจารณาความ
นาเชื่อถือของขอมูล และการกลาคิดสรางสรรคผลงานที่แตกตางออกไป อันจะสงผลตอทักษะที่จำเปนใจการ
นำไปประกอบการเรยี นรูใ นระดับท่ีสูงข้นึ การเปน ผเู รียนรูไ ดดว ยเองตลอดชีวติ และการปรับประยกุ ตใ ชในการ
ทำงานเพ่ือดำรงชีพในอนาคตตอ ไป

ดวยความสำคัญและปญหาดังกลาว โรงเรียนเทพอุดมวิทยาจึงไดดำเนินโครงการการยกระดับ
คุณภาพการจัดการเรียนรูดวยชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพและการพัฒนาบทเรียนรวมกันดวยรูปแบบ
T-PDSR3 รวมกบั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ e-Classroom เพอื่ แกปญ หาทกั ษะการคิดขน้ั สูงของผเู รยี น

2. วัตถปุ ระสงคและเปา หมายการดำเนนิ งาน
2.1 วตั ถุประสงค
2.1.1 เพ่อื การยกระดับคุณภาพดานทกั ษะการคิดขัน้ สงู ของนักเรียน โรงเรยี นเทพอุดมวิทยา โดยใชการ

จัดการเรียนรูดวยชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพและการพัฒนาบทเรียนรวมกัน ดวยรูปแบบ T-PDSR3
รว มกับระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ e-Classroom

2.1.2 เพ่อื การยกระดบั คณุ ภาพดานการจัดการเรยี นรูของคณะครูผสู อนของโรงเรยี นเทพอุดมวิทยา ให
มีนวัตกรรมในการจัดการเรียนการรูดวยรูปแบบ Active Learning เพื่อใชพัฒนาทักษะกระบวนการคิดขั้นสูง
แกน กั เรียน

2.2 เปาหมาย
2.2.1 ผลผลิต (Outputs)
1) เชงิ ปรมิ าณ
- นักเรียนรอยละ 90 ไดรับการจัดการเรียนรูโดยใชนวัตกรรมในการจัดการเรียนการรูดวย

รูปแบบ Active Learning เพ่ือใชพ ฒั นาทักษะกระบวนการคดิ ข้นั สงู ของครูผสู อน
- ครูผูสอนทุกกลุมสาระการเรียนรู จำนวน 20 คน มีนวัตกรรมดานการจัดการเรียนรูเพ่ือ

พฒั นาทกั ษะกระบวนการคิดขน้ั สูงแกผเู รียน
- มกี ารจดั ตั้งกลมุ เครอื ขา ยชมุ ชนการเรยี นรทู างวิชาชีพ(PLC) อยา งนอย จำนวน 5 เครือขา ย
- มีบุคลากรภายนอกสถานศึกษารว มเปนผเู ช่ียวชาญของเครือย อยางนอย จำนวน 6 คน

3

2) เชิงคุณภาพ
- นกั เรยี นรอ ยละ 70 มีผา นเกณฑก ารประเมนิ ทกั ษะคิดขน้ั สูงในรายวชิ าท่ี
- ครูผูสอนรอ ยละ 80 มคี วามสามารถในการจัดการเรียนการรดู วยรปู แบบ Active Learning

และสง เสรมิ พฒั นาทกั ษะกระบวนการคดิ ขน้ั สูงแกผูเรียน
2.2.1 ผลลัพธ (Outcomes)
1) นกั เรยี นมผี ลงานท่ีสะทอนใหเหน็ ถึงการมที ักษะคิดข้นั สูง ประกอบดว ย การคดิ วิเคราะห การ

คิดสรางสรรค และคดิ อยางมีวิจารณญาณ
2) นักเรียนไดเรียนรูจากการปฏบิ ัติดวยการลงมือปฏิบัติ ผานกระบวนการกลุม มีบทบาทอยาง

ตามความถนดั และชดั เจน ไดท ำหนา ท่ีที่ไดรบั มอบหมายในกลมุ ไดสำเรจ็
3) นกั เรยี นไดร ับแกไขปญหาหรอื พัฒนาคณุ ภาพการจัดการเรียนรูใ หส งู ข้นึ

3. ขน้ั ตอนการดำเนินงาน
โรงเรียนเทพอุดมวิทยา ไดดำเนินโครงการการยกระดับคุณภาพการจัดการเรยี นรูดวยชมุ ชนแหงการเรยี นรู

ทางวิชาชีพและการพัฒนาบทเรียนรวมกันดวยรูปแบบ T-PDSR3 รวมกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ e-
Classroom เพื่อพัฒนาทกั ษะการคดิ ข้ันสูงของนักเรยี น ตามขน้ั ตอน ดงั นี้

3.1 ข้ันเตรยี มการ
3.1.1 ประชุมชี้แจง ใหความรู คณะครู และรวมอภิปรายถึงวัตถุประสงคและคุณคาของการสราง

ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพครู โดยเนนการเรียนรูของนักเรียนเปนหัวใจสำคัญ มุงเนนการพัฒนาการเรียนรู
ของบคุ คลและองคก ร

3.1.2 ศกึ ษาและวเิ คราะหเอกสาร งานวจิ ยั และผลงานทางวิชาการทเี่ กี่ยวของ ไดแก มาตรฐานทาง
วิชาชีพครู การดำเนินงานชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) และวิธีการเปดชั้นเรียน (Lesson Plan)
ทักษะทสี่ ำคัญของผูเรียนในศตวรรษท่ี 21 กระบวนการสอนแบบ Active Leaning กระบวนการจัดการเรียนรู
ที่ประสบผลสำเร็จ หลักการและแนวคิดในการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ และ เทคนิคการสอนท่ี
หลากหลาย เชน การสอนแบบสืบเสาะ การสอนแบบคอนสตรคั ตวิ สิ ต และ การนอ มนำหลักปรัชญาของเศษรฐ
กจิ พอเพยี งในในกระบวนการปฏิบตั งิ านของครูและนักเรียน

3.1.3 ศึกษาวิเคราะหสภาพการดำเนินงานของโรงเรียนเทพอุดมวิทยา วิเคราะหจุดแข็ง จุดออน
โอกาส อุปสรรค ของโรงเรียนเพื่อกำหนดวิสัยทัศน เปาหมาย และพันธกิจที่สอดคลองกับบริบทของโรงเรียน
อยา งแทจรงิ และเปน ท่ยี อมรบั จากทกุ ฝา ยอนั จะนำสูก ารรวมแรงรวมใจกนั ในการปฏิบตั งิ าน

3.1.4 สังเคราะหแนวปฏิบัติเพื่อเปนรูปแบบการดำเนินงานที่สอนที่เหมาะสมเพื่อใหเปนไปตาม
เปาหมายและวัตถุประสงคที่วางไว คือ การยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนรูดวยชุมชนแหงการเรียนรูทาง
วิชาชีพและการพัฒนาบทเรียนรวมกันดวยรูปแบบ T-PDSR3 รวมกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
e-Classroom เพ่ือพฒั นาทักษะการคิดขัน้ สูงของนักเรียน

4

3.2 ข้นั ดำเนินการ
โรงเรียนเทพอุดมวิทยา ไดพิจารณาวิเคราะหและสังเคราะหกระบวนการดำเนินงานกระบวนการ

การยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนรูดวยชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพและการพัฒนาบทเรียนรวมกันท่ี
เหมาะสมกับบรบิ ทของโรงเรียน คือ รปู แบบ T-PDSR3 5 ซ่งึ มีขัน้ ตอน ดงั นี้

3.2.1 ขั้นตอนที่ 1 Team : T คือ ขั้นการสรางทีมในชุมชนแหงการเรียนรู ซึ่งประกอบดวย
บทบาท ครผู สู อน (Model teacher) ครเู พ่ือนรวมเรยี นรู (Buddy teacher) ครูพเ่ี ล้ยี ง (Mentor) ผเู ชีย่ วชาญ
(Expert) และ ผบู รหิ ารสถานศึกษา (Administrator) โรงเรยี นไดจ ดั ใหมกี ารจัดตั้งโดยคำนึงถึงความเหมาะสม
ทำการลงทะเบียนในระบบ Google classroom ในแตละกลุมมีการสลับบทบาทใหทุกคนไดเปน ครูผูสอน
(Model teacher) และเพื่อใหการดำเนินการของชุมชนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ แตละกลุมมีคุณลักษณะ
สำคญั ทที่ ำใหเ กิดชุมชนการเรยี นรูท างวิชาชพี อยางสมบรู ณ 4 ประการ ดังน้ี

1) Team คือ การมบี รรทัดฐานและคานิยมรวมกัน
2) Empathize คือ การเอาใจใสและรบั ผิดชอบตอการเรียนรขู องนักเรียน
3) Achievement คอื การความสำเรจ็ เกิดจากการคนควา เรยี นรูและสะทอ นผลทางวิชาชีพ
และ การรวมมือรวมพลังของครูในกลมุ
4) Management คือ การบริหารจัดการ การสนับสนุน การจัดลำดับโครงสราง และ
ความสมั พันธของบคุ ลากร จะตองแขง็ แกรง แตยืดหยนุ ตามสถานการณ ใหเ กยี รติกนั แบบกัลญาณมิตร
3.2.2 ขั้นตอนที่ 2 Plan : P คือ ขั้นวิเคราะหวางแผนการจัดการเรียนรู ครูรวมปญหาคุณภาพ
ผูเรียนเปนปญหาที่มีความเชื่อมโยงกับเปาหมายการจัดการศึกษาอันจะเปนเสนทางสูความสำเร็จของการจัด
การศกึ ษา เมอื่ ผเู รยี นไดรับการพฒั นา โดยมีองคป ระกอบยอ ย ตอไปนี้
1) กำหนดเปา หมาย กำหนดปญ หา (Define)
2) วเิ คราะหสาเหตุ คิดหาวธิ แี กไ ขปญหา (Analysis)
3) กำหนดปฏิทนิ ดำเนินงาน (Schedule)
3.2.3 ขั้นตอนที่ 3 Do : D คือ ขั้นออกแบบและจัดทำแผนการจัดการเรียนรูรวมกัน สมาชิกใน
ทีม PLC รวมพลังออกแบบกลยุทธก ารจดั การเรยี นร(ู Learning Management Strategy) ใหไ ดนวัตกรรมทจ่ี ะ
นำไปจัดการเรียนรูสูเปาหมายคุณภาพผูเรียนที่ตองการ ซึ่งกลยุทธการจัดการเรียนรูอันเปน นวัตกรรมการ
จัดการเรียนรู นี้ มี 3 ลักษณะ คือ เทคนิคการสอน วิธีการสอน และรูปแบบการสอน และมีความสัมพันธกัน
โดย ไดกำหนดรูปแบบการสอนรวมกัน โดย ทุกรายวิชานำไปปรับประยุกตใช คือ “การพัฒนาทักษะการคิด
และทักษะแกปญหาของนักเรียนผานกระบวนการเรียนรู แบบใชคำถามเปนฐานที่ยึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งดว ยรูปแบบ IDPRS model” โดยมีขัน้ การสอน ดงั น้ี
1) ขนั้ Inspiration คอื ขั้นสรางแรงบันดาลในใจการเรียนรู โดยครูผสู อนควรใชค ำถามเพอ่ื
การเรียนรู (Question to learn) ในขัน้ น้ี ดงั นี้ - มปี รากฏการณอะไรเกิดขน้ึ ทีน่ า สนใจ? - เราเกีย่ วของกับ
เร่ืองนัน้ อยางไร ท้ังมิติทางเศรษฐกิจ มติ ิทางสังคม มิติทางสิ่งแวดลอม และ มิติทางวัฒนธรรม) - แลว เราจะทำ
อะไร? - ทำไมจึงตองทำ?

5

2) ขั้น Determination คือ ข้ันตัดสินใจในการทำงาน โดยครูผูสอนควรใชค ำถามเพ่อื การ
เรยี นรู (Question to learn) ในขน้ั นี้ ดงั นี้

- ความรูทีต่ อ งใช คือเร่ืองอะไรบา ง? - มีคณุ ธรรมเร่อื งใดบางท่เี กย่ี วของ?
- ชน้ิ งานนมี้ ีผลในมิตทิ างเศรษฐกิจ มติ ิทางสังคม มิติทางสิ่งแวดลอม และ มติ ทิ าง
วัฒนธรรมอยา งไรบา ง?
3) ขั้น Pratice คือ ขน้ั ฝกฝน โดยใชค ำถามเพื่อการเรียนรู โดยครผู สู อนควรใชคำถามเพื่อ
การเรยี นรู (Question to learn) ในขนั้ น้ี คือ ลงมือทำงานอยางไรใหส ำเรจ็ อยางมปี ระสิทธิภาพ?
4) ข้นั Result คือ ขั้นผลลัพธจากการเรยี นรู โดยครูผสู อนควรใชคำถามเพ่อื การเรียนรู
(Question to learn)
- สิ่งใดที่นกั เรียนทำไดดี
- ส่งิ ใดทีน่ ักเรียนยงั ตองปรบั ปรงุ
- สิ่งใดที่นักเรียนควรเรียนรอู ะไรเพม่ิ เติม?
5) ข้นั Share คอื ขัน้ เผยแพรผลงาน โดยครผู ูสอนควรใชคำถามเพอื่ การเรียนรู (Question
to learn)
- ชิ้นงานมคี ุณคา ตอสังคมและผูอ นื่ อยา งไร?
- ขอเสนอแนะในการทำงานตอไปมีอะไรบา ง?
3.2.4 ขนั้ ตอนท่ี 4 See : S คือ ขน้ั สังเกตการจัดการเรยี นรใู นหองเรยี นจริง โดยโรงเรียนได
กำหนดการดำเนินการของครูผูสอน จำนวน 3 วงรอบ โดยมหี ลักในการดำเนินการ ดงั น้ี
1) การประชมุ กอนการสงั เกตการสอน (Pre - Observation)
2) การสงั เกตการสอน (Observation)
3) การประชุมหลังการสงั เกตการสอน (Post – Observation)
3.2.5 ขั้นตอนท่ี 5 R : Reflect คือ ขนั้ ประเมนิ ผล สะทอนผลการจัดการเรียนรู โดยมี
องคป ระกอบตอไปน้ี
1) สะทอนความสำเร็จกบั เปา หมาย และสังเคราะหบทสรุปที่ไดเรยี นรูรวมกัน (Open)
2) สะทอนปญ หาและอุปสรรค ขอ ควรปรับปรุง และสง่ิ ท่ีตองพึงระวงั (Care)
3) เผยแพรผลงานท่ีดคี วรรกั ษาไวใ หม ตี อไปหรือนำไปพัฒนาตอ ยอด (Share)

3.3 ข้ันหลังดำเนินการ
3.3.1 สรุปถอดบทเรียนเพื่อคนหานวัตกรรมการแกปญหาท่ีสอดคลองกับวัตถุประสงคและ

เปา หมายการดำเนนิ งาน มาตรฐานวชิ าชีพครู แนวนโยบายของเขตพ้นื ที่การศึกษา และของ สพฐ. โดยคำถงึ ถึง
ผลผลิต ผลลัพธ และผลกระทบท่เี กิดข้ึนในการดำเนินการกระบวน PLC ตอไป

6

3.3.2 การสรปุ และรายงานผล
3.3.3 การยกยอ งชมเชย ผลงานการสรา งชุมชนแหง การเรียนรูท่ีถูกคน พบวามีผลงานการปฏิบัติที่ดี
(Good Practice) หรือทเ่ี ปน เลศิ (Best Practice) มอบเกียรติบตั รใหเปนขวัญกำลงั ใจ

4. ผลการดำเนนิ งาน
4.1 ผลท่ีเกดิ กับผูเ รียน
4.1.1 นกั เรียนไดเ รียนรจู ากการปฏบิ ตั ผิ านกระบวนการกลุม ท่ีมกี ารวางแผน บทบาทอยางชัดเจน
4.1.2 นักเรียนมีทักษะคิด คิดเปน คิดเองได อยางเปนขั้นตอนผานกระบวนการคิดมากยิ่งขึ้น ชิ้นงาน

จากการเรียนรูท ่สี ะทอนการคิดวเิ คราะห คิดสรา งสรรค ทักษะการคิดอยา งมวี ิจารณญาณ
4.1.3 นกั เรยี นรอยละ 80 ไดรับแกไ ขปญ หาหรือพฒั นาคุณภาพการจดั การเรียนรูใหส ูงขนึ้

4.2 ผลที่เกิดกับครู
4.2.1 ครมู นี วตั กรรมการสอนและสมรรถนะในการจดั การเรยี นรูท่ีมีขนั้ ตอนชัดเจนและมีประสทิ ธภาพ
4.2.2 ครูไมโดดเดี่ยวงานสอน กระตือรือรนที่จะรวมกันปฏิบัติใหบรรลุพันธกิจการพัฒนาคุณภาพ

ผูเรยี นอยางแข็งขนั มากยิง่ ขนึ้
4.2.3 ครูคนพบความรูในดานวิธีการสอนและคุณลกั ษณะผูเรียน ซึ่งที่เกิดจากการรวมกันสังเกตการณ

วเิ คราะหพฤติกรรมของผเู รียนท่มี ีตอ กจิ กรรมการเรียนรทู ่จี ดั อยางลึกซง้ึ ในกิจกรรมเปด ชนั้ เรียน
4.2.4 ครูรวมถึงเขาใจในดานเนื้อหาสาระ ที่ตองจัดการเรียนรูไดแตกฉานยิ่งขึ้นจนตระหนักถึงบทบาท

และพฤตกิ รรมการสอนท่จี ะชวยใหน กั เรยี นเกดิ การเรียนรูไดดีขน้ึ
4.3 ผลที่เกดิ กับสถานศกึ ษา
4.3.1 เกดิ วัฒนธรรมใหมในการทำงาน องคก รมกี ารรว มมือ รวมใจ กลา พูด กลา คดิ แสดงความคิดเห็น

ในเรื่องงาน การวิพากษวจิ ารณใ นเชิงสรา งสรรคท ุกครง้ั ทีม่ โี อกาส แสดงออกถึงความรบั ผดิ ชอบในการวางแผน
ปรบั ปรุงงานในหนาท่ี มกี ารชวยเหลอื ซึ่งกนั และกนั อยูตลอดเวลา เพอื่ พัฒนางานในหนา ที่ใหด ยี ่งิ ๆ ขน้ึ ไป

4.3.2 โรงเรียนมีระบบเทคโนโลยีในการดำเนินงาน PLC ดวยระบบ e-Classroom โดยไดใช
แพลตฟอรม Google Classroom ซึ่งมีความเหมาะสมในการการปฏิบัติงานของครูผูสอนและติดตามผลการ
ดำเนินงานในภาพรวมของโรงเรียน มีระบบเรียงลำดบั การปฏบิตัการ และมแี จงเตือน เพื่อกระตนุ ใหสมาชิกใน
กลมุ ไดรบั ทราบขอ มลู และสว นรวมในการดำเนนิ การของครผู สู อนไดอยา งดี

5. ปจ จยั แหงความสำเร็จ
5.1 คณะครูผูสอน ผูบริหาร และผูเกี่ยวของ ตองเชื่อมั่นในกระบวนการ PLC ตองมีวิสัยทัศนรวมกัน

หมายถึง มเี ปา หมาย ทศิ ทางเดยี วกัน มุง สูการพฒั นาการเรยี นการสอน มงุ เนนทีก่ ารเรยี นรูของนักเรยี น
5.2 สรางการมีโอกาสเสวนา ระหวางกันซ่ึงเปนการนำเอาประเด็นปญหาที่พบเห็น จากการปฏิบัติงานดา น

การเรียนการสอนของครูแตละทาน ขึ้นมาพูดคุยแลกเปลี่ยนระหวางกัน ชวยใหแตละคนไดวิเคราะหและ
สะทอ นมมุ มองของตนในประเดน็ นนั้ ตอกลมุ เพื่อนรวมงานทำใหทุกคนไดมีโอกาสเกิดการเรยี นรู และไดข อสรุป

7

ตอปญหาจากหลากหลายมุมมอง กอใหเกดิ ความรว มมือรว มใจ เพ่ือชว ยกนั ปรับปรงุ ดา นการเรียนการสอนใหมี
ผลดีย่งิ ข้นึ

5.3 ตองปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองคกร หมายถึง ตองเนนการทำงานที่เปดโอกาสชวยเหลือกันมากกวาการ
สั่งการ มีชั่วโมงพูดคุย ตองลดความโดดเดี่ยวระหวางปฏิบัติงานสอนของครู เปนกิจกรรมที่ชวยเสริมสราง
สัมพันธภาพที่ดีระหวางครู กลาวคือ ครูมีโอกาสแสดงบทบาททั้งเปนผูใหขอมูลและไดแสดงบทบาทการเปน
Model teacher, Buddy teacher หรือ Expert กไ็ ด ในระหวางที่ใหค วามชว ยเหลือเพ่อื นดวยกนั

5.4 กิจกรรมนี้จะสำเร็จราบรืน่ ไดกต็ อเม่ือแตละคนตองยอมเปด ใจกวา ง รบั ฟงการประเมินจากเพื่อรวมกลุม
ระหวางการสนทนาเชงิ สรางสรรคดังกลาวรับฟง เสนอวิธีการนำสูการปฏบิ ัติและ ประเมินรวมกนั แบบ Open
เปดใจรบั และให Care และ Share

5.5 ผูบริหารโรงเรียนซึง่ เปนกลไกลหลักสำคญั ในการบริหารโรงเรยี น และเปนผูนำของโรงเรยี น รวมทั้งยัง
เปนปจจัยสำคัญของการสรางชุมชนแหงการเรียนรู (PLC) ใหเกิดขึ้นในโรงเรียน ผูบริหารตองภาวะผูนำรวม
และรวมการแลกเปลีย่ นเรยี นรูในฐานะ Administrator และประสานความชว ยเหลอื จากหนวยงานท่ีเก่ยี วขอ ง

6. บทเรียนท่ีไดรบั
6.1 สรุปผลการดำเนินงาน
การยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนรูดวยชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพและการพัฒนาบทเรียน

รวมกัน ดว ยรูปแบบ T-PDSR3 รว มกบั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ e-Classroom เพ่ือพฒั นาทักษะการคิดข้ัน
สูงของนกั เรยี น สรปุ ผลไดดงั นี้

6.1.1 นักเรยี นรอ ยละ 90 ไดร ับการจัดการเรียนรูโดยใชน วัตกรรมในการจัดการเรียนการรูดวยรูปแบบ
Active Learning เพื่อใชพัฒนาทักษะกระบวนการคิดขั้นสูงของครูผูสอน ไดเรียนรูจากการปฏิบัติดวยการลง
มอื ปฏบิ ตั ิ ผา นกระบวนการกลมุ มบี ทบาทอยางชัดเจน ทำหนา ที่ทไ่ี ดร บั มอบหมายไดส ำเรจ็ ไดรับแกไขปญหา
หรอื พฒั นาคุณภาพการจัดการเรียนรใู หสงู ข้นึ

6.1.2 ครูผูสอนทุกคนมีนวัตกรรมดานการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการคิดขั้นสูงแก
ผูเรียนผานการจัดตั้งกลุมเครือขาย PLC ครูทุกคนทำหนาที่เปน Model teacher ทุกคน โดยมีมีบุคลากร
ภายนอกสถานศึกษารวมเปนผเู ชีย่ วชาญของ จำนวน 6 คน คอื

6.1.3 นักเรียนรอยละ 70 มีผานเกณฑการประเมินทักษะคิดขั้นสูง ผลงานของนักเรียนสะทอนใหเหน็
ถงึ การมที ักษะคิดขนั้ สงู ประกอบดว ย การคดิ วิเคราะห การคดิ สรา งสรรค และคิดอยางมีวิจารณญาณ

6.1.4 ครูผูสอน มีความสามารถในการจัดการเรียนการรูดวยรูปแบบ Active Learning และสงเสริม
พฒั นาทักษะกระบวนการคดิ ขัน้ สูงแกผ เู รยี น

8

6.2 ขอเสนอแนะ
6.2.1 ครมู ีความสำคญั ในฐานะผูอำนวยการ (Facilitator) การเรียนรูข องผูเรยี น เพ่อื ใหก ารดำเนนิ งาน

สำเร็จการมีวินัย ความอดทน ความรอบรู การมีวิสัยทัศนรวมกัน การเรียนรูของทีม เปนสิ่งสำคัญที่ผูนำทีม
จะตองรักษาไวใ หได

6.2.2 การสังเกตชั้นเรียน มิใชเพื่อประเมินการสอนของครู ผูสังเกตการสอนไมควรใหความชวยเหลือ
หรือแทรกแซงการทำกิจกรรมของผูเรียน และควรสังเกตในประเด็นของการจัดการเรียนการสอนที่สามารถ
ปรบั ปรุงแกไขได ไมใชลกั ษณะตามธรรมชาติของครหู รือผเู รียน ที่ไมส ามารถแกไ ขได

6.2.3 ครูควรสรางบรรยากาศในชั้นเรียน แสดงออกทางพฤติกรรมและการสื่อสารที่เหมาะสม มี
คุณภาพ เสมอตนเสมอปลาย ยอมสงผลใหผูเรียนมีความรูสึกที่ดีตอครู การเรียนรูเกิดจากการมีปฏิสัมพันธ
ระหวางครูกับผูเรียนจะนำมาซ่ึงความรว มมือ ความเขาใจและยอมรบั ซึ่งกันและกัน อันจะเปนพื้นฐานที่สำคญั
ตอ การมปี ฏิสมั พันธเชิงบวก บรรยากาศในช้ันเรียนยอมราบร่ืน

6.2.4 เนื่องจากสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และสถานการณในยุค
New Normal รูปแบบการสอนออนไลนไดนำมาใชมากยิ่งขึ้น ครูควรพัฒนาทักษะการใชสื่อเทคโนโลยีและ
ทักษะการจัดการเรียนรูแบบ Active learning ชองทางออนไลนเพิ่มเติม

6.3 แนวทางในการพฒั นาตอไป
6.3.1 ขยายเครือขา ยชุมชนแหง การเรยี นรทู างวิชาชีพ (PLC) ในการพฒั นาวิชาชพี ระหวา งสถานศึกษา

อ่นื เพอื่ ใหเ กิดแลกเปลีย่ นเรียนรูนวตั กรรมการสอนและสมรรถนะในการจดั การเรียนรูหลากหลายยิ่งข้ึน
6.3.2 กำหนดปฏิทินดำเนนิ การใหช ัดเจนและดำเนนิ การตามปฏทิ ินทกี่ ำหนดไวใหไ ด เพอื่ การ
6.3.3 ในการดำเนินการเปด ชัน้ เรียนอยางนอยจำนวน 3 วงรอบ และควรใหเ กิดขึ้นในหนวยการเรียนรู

เดยี วกนั

7. การเผยแพรแ ละรางวัลทไ่ี ดรบั
7.1 การเผยแพร
7.1.1 โรงเรียนไดเผยแพรการดำเนินงานที่เว็บไซต https://sites.google.com/thepudom.ac.th

/plc/home และส่ือสงั คมออนไลน อยา งตอเนอื่ งตลอดการดำเนินการ
7.1.2 โรงเรยี นมีการสรางเครือขายและเผยแพรกระบวนดำเนินการชุมชนการเรียนรทู างวิชาชพี รวมกับ

โรงเรียนอ่นื ท่ีมีบริบทคลา ยกันเพื่อศึกษาคุณภาพของนวัตกรรมทีส่ รางขน้ึ ประกอบดว ย โรงเรียนมัธยมทับทิม
สยาม 04 ตำบลเทพรักษา อำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร และ โรงเรียนพระแกววิทยา ตำบลพระแกว อำเภอ
สังขะ จงั หวัดสรุ ินทร

7.1.4 โรงเรียนมีการสรา งเครือขาย รวมกับภาคีเครือขายผูเ ชียวชาญจาก มหาวิทยาลัยราชภฎั สุรินทร
และ จากครูผูเชี่ยวชาญดานการสอนพัฒนาทักษะการคิด โครงการโรงเรียนคุณภาพวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี (SMT) โดย สสวท.

9

7.2 รางวัลทไี่ ดรับ
7.2.1 ผลงานนักเรยี น
1) นักเรียนไดรับรางวัลชนะเลิศ กีฬา Esports LNWZA OF HIGH SCHOOL ของการแขงขัน

เกม Valorant ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลาย จากมหาวิทยาลัยศรปี ทุม ปก ารศกึ ษา 2564
2) นักเรียนไดรับรางวัลระดับคุณภาพเหรียญเงิน ระดับเขตพื้นที่ศึกษา ในกิจกรรมการประกวด

การนำเสนอผลงานที่เกดิ จากการเรยี นตามแนวสะเต็มศกึ ษา (STEM Education) ปการศึกษา 2563
7.2.2 ผลงานครู
1) ครูโรงเรียนเทพอุดมวิทยา ไดรับคัดเลือกเปนครูผูสอนดีเดน ระดับ สหวิทยาเขต ประจำป

พ.ศ. 2564 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร ประกอบดวย นายนรินทร อนงคชัย กลุมสาระ
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นางสาวปุณณภา พรอมแกว นางสาวณัฏฐกันยภรณ โสพัฒน กลุมสาระการ
เรียนรูคณติ ศาสตร นางสาวเยาวลักษณ ซื่อสัตย ตำแหนง ครู กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม และ นางสาวนพรัตน สายสิน ตำแหนง พนักงานราชการ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี

2) นายนรนิ ทร อนงคชัย ตำแหนง ครู ไดรบั รางวลั ชนะเลิศเหรยี ญทอง ครผู ูสอนยอดเยี่ยมระดับ
มัธยมศึกษาตอนตน สงเสริมการใชนวัตกรรม PLC ดานนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน จาก
การประกวดรางวัลหนว ยงานและแลผูมผี ลงานดีเดนประสบผลสำเร็จ เปนท่ปี ระจักษ เพ่ือรับรางวัลทรงคุณคา
สพฐ. (OBEC AWARDS) ระดับพืน้ ท่ีการศกึ ษา และ รองชนะเลศิ อันดับ 2 ในระดับ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ

3) ครูโรงเรียนเทพอุดมวิทยา ไดรับรางวัลครูผูสอนดีเดนในการนำเทคโนโลยีดิจิทัล มา
ประยุกตใชในการจัดการเรยี นการสอน ผานกระบวนการนิเทศชั้นเรียนดว ยระบบออนไลน สำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษามัธยมศึกษาสรุ ินทร จำนวน 5 คน ประกอบดวย นายนรินทร อนงคชัย กลุมสาระวิทยาศาสตรแ ละ
เทคโนโลยี นางสาวปุณณภา พรอมแกว นางสาวณัฏฐกันยภรณ โสพัฒน กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
นางสาวเยาวลักษณ ซื่อสัตย ตำแหนง ครู กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และ
นางสาวนพรตั น สายสนิ ตำแหนง พนกั งานราชการ กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

4) นางสาวเยาวลักษณ ซื่อสัตย ตำแหนง ครู ไดรับรางวัล เหรียญเงิน ครูตนแบบการจัดการ
เรียนรูบูรณาการทักษะชีวิต ระดับ ม.ตน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร วันที่ 20 สิงหาคม
2564

5) นายนรินทร อนงคชัย ไดรับรางวัลชนะเลิศ และ นายปยะพงษ พรหมบุตร ไดรับรางวัลรอง
ชนะเลศิ อนั ดบั 1 การประกวด Best Practice การจัดการเรยี นการสอนวิทยาการคำนวณ (Coding) สำนกั งาน
เขตพน้ื ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษาสุรินทร ประจำปง บประมาณ พ.ศ.2564

6) คณะครูผูส อนของโรงเรยี นเทพอดุ มวทิ ยา ไดรับรางวัล ระดับเหรยี ญทอง การนำเสนอผลงาน
สื่อ/นวัตกรรมเพื่อการเรียนการสอน Best Practice (วิธีปฏิบัติที่เปนเลิศ) ในแตละกลุมสาระตางๆ ในงาน
มหกรรมวิชาการมัธยมศึกษา สพม.สุรินทร ปการศึกษา 2563 จำนวน 11 คน คิดเปนรอยละ 55.00 ของ
จำนวนครผู สู อนทง้ั หมด

10

7) ครูไดรับการยกยองและยอมรับในการการจัดการเรียนรู ผานการเปนวิทยากรระดับชาติ
จำนวนหลายหลกั สตู ร ตลอดปก ารศกึ ษา 2563 – 2564 ประกอบดวย

- นายนรินทร อนงคชัย เปนวิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรอบรมการจัดการเรียนรู
วิทยาการคำนวณสำหรับวิทยากรแกนนำ Coding Core Trainer รุนที่ 2 รหัสหลักสูตร 63017 จำนวน 42
ชั่วโมง ระหวางวันที่ 10 - 16 พฤษภาคม 2564 วิทยากรกรรมการอบรมออนไลน OBEC 2021 Webinar
“การจดั การเรียนการสอนออนไลนในยุคปกติใหม : มุมมองของผูบรหิ าร นักวิชาการ และครู” โดย สพฐ. และ
วิทยากรกจิ กรรม GEG Thailand Live Event เรือ่ ง Creating Unlimited Files for Automatic Certificate
on Online Database โดย Google Educator Group ประเทศไทย (GEG Thailand)

- นายปยะพงษ พรหมบุตร และ นางสาวเยาวลักษณ ซื่อสัตย เปนวิทยากรกรรมการอบรม
ออนไลน OBEC2021 Webinar “การจัดการเรียนการสอนออนไลนในยุคปกติใหม : มุมมองของผูบริหาร
นักวชิ าการ และครู” โดย สพฐ.

7.2.3 ผลงานโรงเรยี น
1) โรงเรียนไดรับทุนสนับสนุนจากสำนักงานเลขาธิการคุรุสภา เพื่อดำเนินโครงการยกระดับ

คุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาผูเรียนในศตวรรษที่ 21 อยางยั่งยืน ดวยการจัดการเรียนรูที่ยึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงรวมกับการสอนแบบโครงงานฐานวิจัย โดยใชกระบวนการ “ชุมชนแหงการเรียนรูทาง
วิชาชีพ” (Professional Learning Community : PLC) ผานระบบสารสนเทศและเทคโนโลยี

2) โรงเรียนเทพอุดมวิทยา ไดรับรางวัล รองชนะเลิศอันดับ 1 ในการประกวดการนำเสนอ
ผลงานโครงงานแคมปออนไลน “วิทยาการคำนวณและทักษะโคดดิ้ง” จากมหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร ป
การศกึ ษา 2564

3) โรงเรียนเทพอุดมวิทยา ไดรับรางวัลระดับคุณภาพ เหรียญทอง โรงเรียนที่ประสบผลสำเร็จ
และเปน แบบอยา งที่ดี (Best Practice) ในการจัดการเรียนรู Active Learning รวมกับภาคีเครือขา ย ประจำป
งบประมาณ 2564 สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาสุรินทร

4) โรงเรียนเทพอุดมวิทยา ไดรับรางวัลระดับเหรียญเงิน จากการคัดสรรผลงานหนึ่งโรงเรียน
หนึ่งนวัตกรรม ประจำป 2564 ระดับภูมิภาค เรื่อง “กระบวนการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการคิด
วิเคราะห คิดอยางมีวิจารณญาณ และคิดสรางสรรค โดยใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงดว ยรูปแบบ IDPRS
Model ผา นกระบวนการชมุ ชนแหง การเรยี นรทู างวิชาชีพ” จากสำนักเลขาธกิ ารครุ สุ ภา

5) โรงเรียนเทพอุดมวิทยา ไดรับรางวัลลำดับที่ 2 ประเภทโรงเรียนขนาดเลก็ จากการคัดเลือก
สถานศึกษารางวลั ระบบดแู ลชว ยเหลอื นกั เรียน ประจำป 2564 ระดบั สหวิทยาเขต 8 ศรนี ครอัจจะ

6) โรงเรียนเทพอุดมวิทยา ไดรับรางวัล ชนะเลิศสถานศึกษาที่มีผลงานปฏิบัติงานที่เปนเลิศ
ดานโรงเรยี นที่สงเสริมการจัดการศกึ ษาทางไกล DLTV/DLIT สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษาสุรินทร
ป พ.ศ.2563

7) โรงเรียนเทพอุดมวิทยา ไดรับรางวัลรองชนะเลศิ สถานศึกษาทีม่ ีผลงานปฏิบตั ิงานที่เปนเลิศ
ดา นโรงเรยี นทส่ี งเสริมชุมชนแหงการเรยี นรูท างวชิ าชพี PLC สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศกึ ษาสรุ นิ ทร

ภาคผนวก

12

QR – Code คลิป VDO

การดำเนนิ งานกระบวการชมุ ชนแหง การเรยี นรทู างวิชาชพี โรงเรียนเทพอุดมวิทยา

https://youtu.be/3fgdmVxMR4c

การสะทอนผลการดำเนินงาน PLC รว มกับภาคเี ครือขา ย ผูเช่ียวชาญ
ผา นการประชมุ ออนไลน Google Meet

13

การถอดบทเรียนการดำเนนิ งาน Active Learning รวมกับภาคีเครือขาย โรงเรยี นมัธยมทับทมิ สยาม ๐๔
ผา นการประชมุ ออนไลน Streamyard

การรว มเปน เครือขา ยกบั สถานศึกษาใกลเ คยี ง โรงเรียนพระแกววทิ ยา โรงเรียนมธั ยมทบั ทมิ สยาม 04
เพอื่ แลกเปล่ยี นถายทอดประสบการณ ดาน PLC

14

ศึกษาเอกสาร วเิ คราะหป ญหา และ รว มสงั เคราะหร ูปแบบการจัดการเรียนรูกับกลุม PLC
ภาพการจัดกิจกรรมเรียนรขู ัน้ Inspiration คือ ขน้ั สรา งแรงบันดาลในใจการเรยี นรู

15

ภาพการจัดกจิ กรรมเรยี นรขู ัน้ Determination คือ ขนั้ ตดั สินใจในการทำงาน
ภาพการจดั กจิ กรรมเรียนรขู นั้ Pratice คือ ข้นั ฝก ฝน

16

ภาพการจดั กิจกรรมเรยี นรูข ั้น Result คอื ข้นั ผลลัพธจากการเรียนรู
ภาพการจัดกจิ กรรมเรียนรขู ั้น Share คอื ขั้นเผยแพรผ ลงาน

17

ภาพการสะทอ นผล (Reflect) การจดั การเรยี นการสอน รวมกบั สมาชิก PLC และ ผเู ชย่ี วชาญ

18

ภาพแสดงการเปดช้ันเรยี นและการเผยแพรผาน Youtube

กิจกรรมการสอนออนไลน

19

โรงเรียนเทพอุดมวิทยา ผานการคดั เลอื กเปน เครือขายท่ีมีนวัตกรรมเปน แนวปฏบิ ัติที่ดีจากการจัด
กจิ กรรมพฒั นาวชิ าชีพแบบชุมชนแหงการเรยี นรทู างวิชาชีพ ประจำป ๒๕๖๓ “ระดบั ชาต”ิ “๒๐๒๐ PLC

20


Click to View FlipBook Version