The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่ม รายงานผลปฏิบัติงานครั้งที่ 1 ปี 65 นรินทร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ร่าง รายงานผลปฏิบัติงานครั้งที่ 1 ปี 65 นรินทร์

เล่ม รายงานผลปฏิบัติงานครั้งที่ 1 ปี 65 นรินทร์

Keywords: นรินทร์ อนงค์ชัย,รายงานการปฏิบัติงานม,เทพอุดม,วิทยา,lr,สพม,.สุรินทร์

แบบรายงานผลการปฏิบัติงานของขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา

สายงานการสอน : โรงเรียนเทพอุดมวิทยา สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษาสรุ นิ ทร์

✓ ครั้งท่ี 1 (1 ต.ค. 2564 – 31 ม.ี ค. 2565)  คร้งั ท่ี 2 (1 เม.ย. 2565 – 30 ก.ย. 2565)

สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู ส่วนตัว

1.1 ช่อื – สกลุ ผูร้ บั การประเมิน นายนรินทร์ อนงคช์ ยั อายุ 47 ปี
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพเิ ศษ รบั เงนิ เดือน บาท
เกษียณอายุราชการวนั ท่ี 30 กันยายน 2578 พ.ศ.2565

1.2 ได้รบั มอบหมายใหป้ ฏิบัติหนา้ ที่การสอน
1.2.1 รายวิชาออกแบบและเทคโนโลยี รหสั วชิ า ว21104 ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 2 ช่ัวโมง/สัปดาห์
1.2.2 รายวิชาโครงงานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหสั วชิ า ว21202 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1
จำนวน 2 ชวั่ โมง/สปั ดาห์
1.2.3 รายวิชาออกแบบและเทคโนโลยี รหัสวิชา ว22104 ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1 จำนวน 2 ชวั่ โมง/สัปดาห์
1.2.4 รายวิชาโครงงานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รหสั วชิ า ว22202 ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2
จำนวน 1 ชวั่ โมง/สัปดาห์
1.2.5 รายวชิ าออกแบบและเทคโนโลยี รหัสวชิ า ว23104 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 จำนวน 2 ชัว่ โมง/สปั ดาห์
1.2.6 รายวชิ าโครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวชิ า ว23202 ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 2
จำนวน 1 ชวั่ โมง/สปั ดาห์
1.2.7 รายวิชาวทิ ยาการคำนวณ รหสั วิชา ว31182 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 จำนวน 4 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
1.2.8 รายวิชาการเขยี นโปรแกรมด้วยภาษาไพธอน รหสั วิชา ว31192 ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3
จำนวน 4 ชว่ั โมง/ สัปดาห์
1.2.9 รายวิชาวิทยาการคำนวณ รหสั วชิ า ว32182 ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 5 จำนวน 2 ชัว่ โมง/สัปดาห์
1.2.10 รายวิชาการผลติ ส่ือวดี โิ อ รหสั วชิ า ว33296 ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 จำนวน 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์

1.3 ได้รบั มอบหมายให้ปฏบิ ัติหน้าทีก่ จิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น
1.3.1 กิจกรรมชมุ นุม โครงงานคอมพิวเตอร์ จำนวน นกั เรียน 20 คน ช้นั ม.1-6.จำนวน 1 ชัว่ โมง
1.3.2 กจิ กรรมอบรมจรยิ ธรรม ชัน้ ม.1-6.จำนวน 1 ชวั่ โมง
รวมชั่วโมงการสอนใน 1 สัปดาห์ ทงั้ สิ้น 25 ชว่ั โมง

1.5 จำนวนวันลาในรอบการประเมินดงั น้ี
1.5.1 ลาป่วย จำนวน 2 ครงั้ 3 วัน
1.5.2 ลากิจส่วนตวั จำนวน 1 คร้ัง 1 วัน
1.5.3 ลาคลอด จำนวน - ครง้ั - วนั
1.5.4 ลาอุปสมบท จำนวน - คร้งั - วนั
1.5.5 มาสาย จำนวน - ครัง้ - วนั

2

ส่วนที่ 2 สรปุ ผลการประเมนิ

องคป์ ระกอบที่ ๑ การประเมินประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลการปฏบิ ัติงานตามมาตรฐานตำแหน่ง

ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการพิเศษ

ตอนที่ 1 ระดบั ความสำเร็จในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง (60 คะแนน)
1. ด้านการจดั การเรยี นการสอน

1.1 สรา้ งและหรือพัฒนาหลกั สตู ร
ข้าพเจ้าได้ จัดทำรายวิชาและหน่วยการเรียนรูใ้ ห้สอดคล้อง กบั มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดหรือ

ผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาสมรรถนะและการเรียนรู้ เต็มตามศักยภาพ โดยมีการพัฒนา
รายวิชาและหน่วยการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับ บริบทของ สถานศึกษา ผู้เรียน และท้องถิ่น และสามารถแก้ไข
ปัญหาในการจัดการเรียนรูไ้ ด้

1.1.1 ได้พัฒนาหลักสูตรในรายวิชาออกแบบและเทคโนโลยี การพัฒนาทักษะการคิดของนักเรียน
ผ่านการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (PBL) ร่วมกับรูปแบบการสอน IDPRS Model รายวิชาออกแบบ
และเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่บูรณาการ ระบบ Smart farm ในการเรียนรู้ มีหน่วยการ
เรียนรดู้ ังนี้

o หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 สรา้ งแรงบนั ดาลใจ
o หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 2 สถานการณ์ท้าทาย
o หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 สืบเสาะความรู้
o หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 4 สรา้ งสรรคช์ นิ้ งาน
o หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 เสริมสรา้ งประสทิ ธภิ าพ
o หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 6 สรุปผลและรายงาน
o หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 7 สอ่ื สาร แบ่งปนั และชนื่ ชม

3

1.1.2 เป็นแบบอย่างที่ดีด้านการสร้างและพัฒนาหลักสูตร เป็นคณะทำงานสร้างหลักสูตรอัจฉริย
เกษตรประณตี เพ่ือเสนอต่อ สพฐ. ในการคดั เลือกโรงเรียนแกนนำในการพฒั นาเกษตรอัฉจริยประณีตปงี บประมาณ
2565

1.2 ออกแบบการจดั การเรียนรู้
1.2.1 ริเริ่ม คิดค้น เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจำวิชา

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะ ที่สำคัญ ตามหลักสูตร โดยมีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับบริบท
ของสถานศึกษา ผ้เู รยี น และท้องถ่นิ โดยใชร้ ปู IDPRS ซึง่ มีข้ันตอนการจดั การเรียนรู้ ดงั น้ี

1) ขั้น I: Inspiration คือ ขั้นสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ ทบทวนความรู้เดิมด้วย เกม
นำเสนอชิ้นงานเดมิ คลิปวดี โิ อ ข้อสอบ หรือ เชือ่ มโยงไปหาความรู้ใหมโ่ ดยใช้ ปรากฎการณ/์ ข่าว/บทความ อาจจะ
ใช้คำถามเพื่อการเรียนรู้ (Question to learn) ว่า “อะไรจะเกิดขึ้นถ้า.. มีปรากฏการณ์อะไรเกิดขึ้นที่น่าสนใจ?”
เราเก่ยี วข้องกับเร่อื งนน้ั อย่างไร เป็นต้น

2) ขั้น D: Define คือ ขั้นวิเคราะห์สถานการณ์ ครูผู้สอนกำหนดสถานการณ์/เรื่องราว ใช้
ตัวอย่างใช้คำถามเพื่อการเรียนรู้ (Question to learn) ชวนสังเกต สำรวจ นักเรียนเห็นอะไร? แล้วใช้คำถามเพื่อ
พฒั นาทักษะการคิด เช่น อะไรคือสาเหตุของปญั หา ปัญหาใดสำคญั ที่สุด ปญั หาใดแก้ไขได้ อะไรทีแ่ ก้ไม่ได้ จะทำ
อะไรใหใ้ หม่และแตกต่าง เราร้อู ะไรแลว้ อะไรทยี่ งั ไม่รู้ จะหาความรจู้ ากแหลง่ ใด จะรู้ไดอ้ ย่างไรว่าความรูน้ ้ันเช่ือถือ
ได้ จะออกแบบวิธีแก้ปัญหาอย่างไร วิธีการแก้ปัญหามีกี่วิธี วิธีการแก้ปัญหาใดเป็นไปได้มากที่สุด จะประเมินวิธี
แก้ปัญหาอย่างไร มีคุณธรรมเรื่องใดบ้างที่เกี่ยวข้อง ชิ้นงานนี้มีผลในมิติทางเศรษฐกิจ มิติทางสังคม มิติทาง
สง่ิ แวดลอ้ ม และ มิตทิ างวัฒนธรรมอย่างไรบ้าง เป็นต้น

3) ขั้น P: Practice คือ ขั้นฝึกฝน ครูผู้สอนใช้คำถามเพื่อการเรียนรู้ โดยครูผู้สอนควรใช้
คำถามเพื่อการเรียนรู้ (Question to learn) ในขั้นนี้ เช่น ผลเป็นอย่างไร หลักฐาน คืออะไร จะนำผลไปปรบั ปรงุ
อย่างไร มปี ัญหาอะไรเพ่ิมเติมขน้ึ บา้ ง เลือกแกป้ ัญหานัน้ อย่างไร จะเลือกแก้ปญั หาใดก่อน เปน็ ต้น

4) ขั้น R: Result คือ ขั้นผลลัพธ์จากการเรียนรู้ ครูผู้สอนควรใช้คำถามเพื่อการเรียนรู้
(Question to learn) เช่น การแก้ปัญหาเป็นไปตามที่วางแผน ไว้หรือไม่ วิธีการแก้มีจุดเด่น จุดด้อยอย่างไร จะ
ปรับปรงุ อย่างไร สง่ิ ใดทนี่ ักเรียนควรเรียนรูอ้ ะไรเพม่ิ เติม เป็นต้น

5) ขั้น S: Share คือ ขั้นเผยแพร่ผลงาน ครูผู้สอนใช้คำถามเพื่อการเรียนรู้ (Question to
learn) เช่น จะนำเสนอวิธีการแก้ปัญหาอย่างไรให้คนอื่นเข้าใจ ชิ้นงานมีคุณค่าต่อสังคมและผู้อื่นอย่างไร วิธีการ
แก้ปัญหาสามารถนำไปทำซ้ำได้หรือไม่ ข้อเสนอแนะในการทำงานต่อไปมีอะไรบ้าง นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง

4

นักเรียนมีปัญหาในการเรียนรู้ในครั้งนี้อย่างไร นักเรียนอยากเรียนรู้อะไรเพิ่มเติม นักเรียนจะนำความรู้นี้ไป
ประยุกต์ใชก้ ับเรอ่ื งใดในชวี ติ ประจำวันได้บ้าง เป็นตน้

1.2.2 เป็นแบบอยา่ งท่ดี ีด้านการออกแบบการจดั การเรยี นรู้ เป็น หัวหน้าโครงการกระบวนการชุมชน
แหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชีพ(Professional Learning Community : PLC) ของโรงเรียนเทพอดุ มวทิ ยา และ
โรงเรยี นได้รบั รางวลั เชิดชูเกยี รติระดบั เขตพืน้ ท่ีการศึกษาขึ้นไปต่อเนื่อง ทุกปีการศกึ ษา

1.3 จัดกิจกรรมการเรยี นรู้
1.3.1 ริเริ่ม คิดค้น และพัฒนานวัตกรรม การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่สามารถแก้ไขปัญหาในการ

จัดการเรียนรู้ ทำให้ผูเ้ รยี น ได้พฒั นาเตม็ ตามศักยภาพ เรยี นรแู้ ละทำงานร่วมกัน มีกระบวนการคิดและค้นพบองค์
ความรู้ดว้ ยตนเอง และสร้างแรงบนั ดาลใจ

1.3.2 เป็นแบบอยา่ งที่ดใี นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
1) ได้รับคัดเลือกเปน็ ครูสอนดี (SMART TEACHER) ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564

(Lesson Study) ระดบั สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษาสรุ ินทร์

5

2) ไดร้ บั รางวัลชนะเลศิ Best Practice การจัดการเรียนการสอนวทิ ยาการคำนวณ (Coding)
ประจำปี พ.ศ.2564 สพม.สุรินทร์

2.3) เป็นคณะกรรมการดำเนินการคัดเลือกการปฏิบตั ิท่ีเป็นเลิศ (BEST PRACTICE) ด้านการจัดการ
เรียนการสอนทางไกล ประจำปีการศกึ ษา 2564

1.4 สรา้ งและหรอื พัฒนาสื่อ นวตั กรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้
1.4.1 ริเริ่ม คิดค้น และพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้สอดคล้องกับกิจกรรมการ

เรียนรู้ สามารถแกไ้ ขปัญหาในการเรียนรขู้ องผเู้ รียน และทำให้ผเู้ รียนมีทักษะการคดิ และสามารถสร้างนวตั กรรมได้
และเปน็ แบบอย่างทด่ี ี ในการสรา้ ง และหรอื พัฒนาสือ่ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหลง่ เรียนรู้

6

1.4.2 เป็นแบบอย่างท่ดี ีดา้ นสรา้ งและหรอื พัฒนาสือ่ นวตั กรรม เทคโนโลยี และแหลง่ เรยี นรู้
1) เป็นวิทยากร อบรมการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Unplgged และ และการเขียน

โปรแกรม Scratch ศนู ยอ์ บรม สพป.ชัยภูมิ เขต 3 โดย สพฐ. ร่วมกบั สสวท.
2) วิทยการรับเชิญบรรยายการสร้างสื่อการเรียนรู้มัลติมเี ดยี เพือ่ การเรียนการสอน true click

life

2) เป็นวิทยากร หลักสตู ร "การสรา้ งอินโฟกราฟกิ สด์ ้วยเครอ่ื งมือออนไลน์" แก่นักเรียน ห้อง
พเิ ศษ โรงเรยี นสรุ พนิ ทพ์ ิทยา อ.ลำดวน จ.สุรนิ ทร์

3) เป็นคณะทำงาน ตรวจการสอนออนไลน์ ของผ้เู ข้าอบรมวทิ ยากรแกนนำ C4T สสวท.

7

1.5 วดั และประเมินผลการเรียนรู้
1.5.1 ริเริ่ม คิดค้น และพัฒนารูปแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง ด้วยวิธีการท่ี

หลากหลาย เหมาะสมและสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และนำผลการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ มาใช้
แก้ไขปัญหาการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และเป็นแบบอย่างที่ดีในการวัดและ
ประเมนิ ผลการเรียนรู้

8

1.6 ศึกษา วิเคราะห์ และสงั เคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาหรือพฒั นาการเรยี นรู้
1.6.1 ริเรม่ิ คดิ คน้ วเิ คราะห์ และสังเคราะหเ์ พื่อแก้ไขปัญหาหรือพฒั นาการเรยี นรู้ทีส่ ่งผลต่อคุณภาพ

ผู้เรียนและนำผลการศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ มาใช้แก้ไขปัญหาหรือพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ให้
สงู ขนึ้ และเปน็ แบบอย่างทด่ี ี ในการศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เพอื่ แก้ไขปัญหาหรอื พัฒนาการเรียนรู้

1.6.2 เป็นแบบอย่างที่ดีด้านศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้
ไดร้ างวลั ชนะเลิศ เหรยี ญทอง รางวลั ทรงคุณคา่ Pre OBEC AWARDS ด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พือ่ การศึกษา
ยอดเยย่ี ม มหกรรมวิชาการ สพม.สุรินทร์ ประจำปีการศกึ ษา 2564

1.7 จดั บรรยากาศทสี่ ่งเสริมและพัฒนาผเู้ รียน
ริเริ่ม คิดค้น และพัฒนาการจัดบรรยากาศที่เหมาะสม สอดคล้องกับความแตกต่างผู้เรียนเป็น

รายบุคคลสามารถแก้ไขปญั หาการเรียนรู้ และสรา้ งแรงบันดาลใจส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนใหเ้ กิดกระบวนการคิด
ทักษะชีวติ ทักษะการทำงาน ทักษะการเรียนรแู้ ละนวัตกรรม ทกั ษะดา้ นสารสนเทศ สือ่ และเทคโนโลยี และ เป็น
แบบอย่างที่ดีในการจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน และ เป็นแบบอย่างที่ดีในการจัดบรรยากาศที่
ส่งเสริมและพัฒนาผูเ้ รยี น

9

1.8 อบรมและพฒั นาคณุ ลกั ษณะทีด่ ีของผเู้ รียน
1.8.1 อบรมบม่ นสิ ยั ใหผ้ ู้เรียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และค่านิยมความเป็น

ไทยท่ดี ีงามโดยริเริ่ม คิดคน้ และพฒั นารปู แบบการดำเนินการทม่ี ี ประสิทธิภาพ คำนึงถงึ ความแตกต่างของผู้เรียน
เป็นรายบุคคลและสามารถแก้ไขปัญหาและพัฒนาผู้เรียนได้ และเป็นแบบอย่างที่ดี ในการอบรมและพัฒนา
คุณลกั ษณะที่ดขี องผเู้ รียน

2. ด้านการสง่ เสริมและสนับสนนุ การจดั การเรียนรู้
2.1 จัดทำขอ้ มูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา
2.1.1 ริเรมิ่ คิดคน้ และพฒั นารูปแบบการจัดทำขอ้ มลู สารสนเทศของผเู้ รียนและรายวิชา ให้มีข้อมูล

เป็นปจั จบุ นั เพื่อใชใ้ นการส่งเสรมิ สนับสนนุ การเรียนรู้ แกไ้ ขปญั หา และพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น และเป็นแบบอย่างท่ี
ดี

10

2.2 ดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลอื ผู้เรียน
2.2.1 ใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียนรายบุคคล และประสานความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

เพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหาผู้เรียน และริเริ่มโครงการหรือจัดกิจกรรม เชิงสร้างสรรค์ด้วยวิธีการที่หลากหลายใน
การดแู ลช่วยเหลือผเู้ รียน

2.2.2 เปน็ แบบอยา่ งที่ดี

11

2.3 ปฏิบตั งิ านวิชาการและงานอ่ืน ๆ ของสถานศกึ ษา
- ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และงานอื่นๆ ของสถานศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา

ของสถานศกึ ษา โดยการพัฒนารูปแบบหรอื แนวทางการดำเนนิ งานใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู ขนึ้ และเป็นแบบอยา่ งท่ีดี

2.4 ประสานความรว่ มมือกับผูป้ กครอง ภาคีเครือข่ายและหรอื สถานประกอบการ
- ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือสถานประกอบการ เพื่อร่วมกันแก้ไข

ปญั หาและพัฒนา ผู้เรียน และเป็นแบบอย่างทดี่ ี

12

3. ดา้ นการพัฒนาตนเอง
3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถทักษะ โดยเฉพาะอย่างย่ิง

การใช้ภาษาไทย และภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร และการใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ลั เพ่ือการศึกษา สมรรถนะวิชาชีพครู
และความรอบร้ใู นเนอ้ื หาวิชา และวิธกี ารสอน

3.2 เป็นแบบอย่างที่ดีด้านการพัฒนาตนเอง เป็นวิทยากรให้ความรู้แก่ครูและบุคลากรต่างหน่วยงาน
ต่อเนอื่ ง

13

3.2 มีส่วนร่วม และเปน็ ผูน้ ำในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชพี เพื่อแกไ้ ขปัญหาและสร้างนวัตกรรมเพ่ือ
พัฒนาการจัดการเรยี นรู้ และเปน็ แบบอย่างทีด่ ี

14

เป็นแบบอย่างที่ดีมีส่วนร่วม และเป็นผู้นำในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อแก้ไขปัญหาและสร้าง
นวัตกรรมเพอื่ พฒั นาการจดั การเรียนรู้

3.3 นำความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพมาใชใ้ นการพัฒนาการจัดการ
เรียนรู้ การพฒั นาคุณภาพผู้เรียน รวมถงึ การพฒั นานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ทีม่ ีผลตอ่ คณุ ภาพผเู้ รียน และเป็น
แบบอย่างท่ดี ี

3.3.1 ผลงานนกั เรียนไดร้ ับ
1) นักเรียน ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การนำเสนอโครงงาน การประยุกต์และบูรณา

การระบบการเรยี นรู้เชิงลกึ บน CiRA CORE โครงการ Kammalasai AI Robotics Thailand Championship
2) นักเรียน ได้รับรางวัล ครูที่ปรึกษา โรงเรียนเทพอุดมวิทยา นักเรียนชั้น ม.2 ที่ได้รับรางวัล

รองชนะเลิศอันดับ 2 การนำเสนอโครงงานการประยุกต์และบูรณาการระบบการเรียนรู้เชิงลึกบน CiRA CORE
โครงการ Kammalasai AI Robotics Thailand Championship ปี 2565

15

3.3.2 ผลงานตนเองได้รบั
1) ได้รับรางวัลชนะเลิศ Best Practice การจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณ (Coding)

ประจำปี พ.ศ.2564 ระดบั สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสรุ นิ ทร์
2) ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 เหรียญรางวัลครูดีในดวงใจ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา

(มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ) จากสำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษาสรุ ินทรใ์ หไ้ ว้ ณ วนั ท่ี 1 พฤศจิกายน 2564
3) ได้รับคัดเลือกเป็นครูสอนดี (SMART TEACHER) 2564 ผ่านกระบวนการนิเทศภายในโดย

ใช้กระบวนการเปิดชั้นเรียน (Lesson Study) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษาสุรนิ ทร์

4) ได้รางวัลชนะเลิศ เหรียญทอง รางวัลทรงคุณค่า Pre OBEC AWARDS ด้านนวัตกรรมและ
เทคโนโลยีเพอ่ื การศกึ ษายอดเย่ยี ม มหกรรมวชิ าการ สพม.สรุ ินทร์ ประจำปกี ารศึกษา 2564

16

3.3.3 ผลงานที่โรงเรียนไดร้ บั
1) โรงเรียนเทพอุดมวทิ ยา ชนะเลศิ ระดับคณุ ภาพ ดีเย่ียม การประกวดคัดเลอื กนวัตกรรม/

วิธีการปฏบิ ัตทิ ีเ่ ป็นเลศิ (Best Practice) ประจำปกี ารศกึ ษา 2564 ประเภท การพฒั นากระบวนการนิเทศภายใน
โดยใช้กระบวนการ ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) และการ
พัฒนาบทเรียนรว่ มกนั (Lesson Study) ระดบั สพม.สุรนิ ทร์

2) โรงเรียนเทพอดุ มวิทยาได้รับคดั เลือกเปน็ โรงเรยี นต้นแบบ ระดับ Best of The Best การ
ขับเคลอ่ื นกระบวนการเปดิ ชั้นเรียน (PLC-Lesson Study) เน่อื งในงานมหกรรมวชิ าการมัธยมศึกษา สพม.สุรนิ ทร์
ปกี ารศึกษา 2564 ระหว่างวันที่ 16 - 17 มนี าคม 2565 โดย สพฐ.

ตอนท่ี 2 ระดบั ความสำเรจ็ ในการพัฒนางานทเี่ สนอที่เป็นประเด็นท้าทายในการพฒั นาผลลพั ธ์การเรียนรขู้ อง
ผู้เรียน
1. วธิ ีการดำเนินการ

1.1 ผู้เรยี นทำแบบทดสอบวัดทกั ษะการคิดข้ันสูง ประกอบด้วย การคดิ วเิ คราะห์ คดิ สร้างสรรค์ คิดอยา่ งมี
วิจารณญาณ ก่อนเรยี น

1.2 นำไปใชเ้ พอ่ื แก้ปัญหาหรือการพัฒนาการเรียนรู้ ผา่ นกระบวนการเปดิ ชั้นเรียน (Lesson Study) โดย
บันทึกผลการเรียนรู้ ที่เกิดขึ้น และสะท้อนผลการเรียนรู้ให้ ผู้เรียนทราบเป็นระยะ หากมีนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์
เน้อื หาใด ให้ปรบั ปรงุ แกไ้ ข และทำการทดสอบใหม่ จนนักเรียนมีผลการเรยี นรูผ้ า่ นเกณฑ์ท่ีกำหนด

1.3 ผู้เรียนทำแบบทดสอบวดั ทักษะการคิดขั้นสงู ประกอบด้วย การคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ คิดย่างมี
วิจารณญาณ หลังเรยี น

1.4 วเิ คราะหแ์ ละสะท้อนผลประสิทธิภาพของนวตั กรรม
1.5 วเิ คราะหว์ ิเคราะห์และสะทอ้ นผลความพงึ พอใจของผูเ้ รยี น

17

2. ผลลพั ธก์ ารเรยี นรูข้ องผ้เู รียนที่คาดหวัง
2.1 เชิงปรมิ าณ
2.1.1 นกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 ที่เรยี นรายวชิ าออกแบบและเทคโนโลยี รอ้ ยละ 80 มีผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียน สูงกว่าเกณฑ์ท่สี ถานศึกษากำหนด
2.1.2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนรายวิชาออกแบบและเทคโนโลยี ร้อยละ 70 ผ่านการ

ประเมนิ ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ คดิ สรา้ งสรรคแ์ ละคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ ตามทเ่ี กณฑท์ สี่ ถานศกึ ษากำหนด
2.1.3 ผู้นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ทีเ่ รยี นรายวชิ าออกแบบและเทคโนโลยี มคี วามพึงพอใจต่อการ

เรียนด้วยชุดฝึกกิจกรรมประกอบการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน ร่วมกับรูปแบบการสอน IDPRS
Model อยใู่ นระดบั ดี ข้ึนไป

2.2 เชงิ คณุ ภาพ
ผู้เรียนมีผลงานการสร้างสรรค์นวัตกรรมสามารถนำเสนอผลงาน หรือร่วมประกวดแข่งขนั กับชุมชน

สถานศกึ ษาอ่นื หรือ หนว่ ยงานการศึกษาอ่ืน
1) นักเรียน ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การนำเสนอโครงงาน การประยุกต์และบูรณา

การระบบการเรยี นรู้เชงิ ลึกบน CiRA CORE โครงการ Kammalasai AI Robotics Thailand Championship
2) นักเรียน ได้รับรางวัล ครูที่ปรึกษา โรงเรียนเทพอุดมวิทยา นักเรียนชั้น ม.2 ที่ได้รับรางวัล

รองชนะเลิศอันดับ 2 การนำเสนอโครงงานการประยุกต์และบูรณาการระบบการเรียนรู้เชิงลึกบน CiRA CORE
โครงการ Kammalasai AI Robotics Thailand Championship ปี 2565

18

องค์ประกอบที่ 2 การประเมินการมีสว่ นร่วมในการพัฒนา (๑๐ คะแนน)

1. ความสำเรจ็ ของงานท่ีไดร้ ับมอบหมายจากผู้บังคบั บัญชา
o หัวหน้างานกิจการนักเรยี น
o หวั หนา้ งานปอ้ งกนั และแก้ไขพฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์ งานกิจการนกั เรียน
o ครทู ป่ี รกึ ษานักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2/2
o งานเวรประจำวัน
o งานเวรยามกลางคนื
o หวั หนา้ โครงการตามแผนปฏิบตั ริ าชการประจำปงี บประมาณ 2565 จำนวน 5 โครงการ
o หัวหน้าโครงการกระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชีพ (PLC)

องคป์ ระกอบท่ี ๓ การประเมนิ การปฏบิ ตั ติ นในการรักษาวนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม และ
จรรยาบรรณวิชาชีพ (๑๐ คะแนน)

1. ยึดมัน่ ในสถาบนั หลกั ของประเทศ อนั ได้แก่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยเ์ ปน็ ประมขุ

2. มคี วามซอื่ สตั ย์ สจุ ริต มีจิตสำนึกทด่ี ี มีความรับผิดชอบต่อหนา้ ท่แี ละต่อผเู้ กย่ี วขอ้ ง ในฐานะ
ขา้ ราชการและบุคลากรทางการศกึ ษา

3. มีความกลา้ คิด กล้าตัดสินใจ กล้าแสดงออก และกระทำในส่ิงท่ีถกู ต้องชอบธรรม

19

4. มจี ติ อาสา จติ สาธารณ มุ่งประโยชน์สว่ นรวม โดยไมค่ ำนงึ ถงึ ผลประโยชนส์ ่วนตนหรือพวกพ้อง

5. ม่งุ ผลสมั ฤทธข์ิ องงาน มงุ่ ม่ันในการปฏบิ ตั งิ านอยา่ งเต็มกำลังความสามารถ โดยคำนึงถึงคุณภาพ
การศึกษาเป็นสำคัญ

• เป็นผ้ตู รงต่อเวลา มีความรบั ผิดชอบต่องาน ตามบทบาท หนา้ ท่ี ภารกิจทไ่ี ดร้ ับมอบหมายมคี วาม
พร้อมในการปฏบิ ัตงิ านตามบทบาทหน้าที่ ภารกิจท่ีไดร้ ับมอบหมาย และอทุ ิศเวลาโดยมจี ิตสำนึกและ ความ
รบั ผิดชอบ

6. ปฏบิ ตั หิ นา้ ทีอ่ ย่างเปน็ ธรรมและไมเ่ ลือกปฏิบัติ
• ม่งุ ม่นั ในการให้ความรู้และวิธปี ฏบิ ตั ิท่ถี กู ต้องกบั กลุ่มเป้าหมายผรู้ บั บริการ

20

• ใหบ้ รกิ ารกบั กลุ่มเปา้ หมายผู้รบั บริการในประเดน็ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การเรยี นการสอนโดยไมเ่ ลอื ก
ปฏบิ ตั ิ

• ใหบ้ รกิ ารกับผูป้ กครองในประเด็นทีเ่ กี่ยวข้องกับการเรียนการสอนของผู้เรยี นในความปกครองโดย
ไมเ่ ลือกปฏิบัติ

• ใหค้ วามร่วมมือกับประชาชน ชุมชนในประเด็นทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การพฒั นาผู้เรยี น โดยไมเ่ ลอื ก
ปฏบิ ตั ิ

7. ดำรงตนเปน็ แบบอย่างทีด่ ีและรกั ษาภาพลักษณ์ของขา้ ราชการและบุคลากรทางการศึกษา

21

8. เคารพศักดศ์ิ รีความเป็นมนุษย์ คำนงึ ถึงสทิ ธเิ ดก็ และยอมรบั ความแตกต่างของบุคคล

9. ยึดถือและปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณของวชิ าชพี
• มกี ารเข้ารว่ มกิจกรรมของวชิ าชีพหรือองคก์ รวชิ าชีพเพ่อื พฒั นาความเชี่ยวชาญทางวิชาชพี ของ

ตนเองอย่างสมำ่ เสมอ

• ให้คำปรึกษาหรอื ช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายผรู้ บั บรกิ ารด้วยความเมตตากรุณาอย่างเต็มกำลัง
ความสามารถและเสมอภาค

22

• ดำรงชีวติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

• ปอ้ งกนั ความเสี่ยงในการดำเนินชีวิตภายใต้ความรู้และคุณธรรมอนั ดี

• ไมเ่ ปน็ ปฏิปักษต์ ่อความเจริญทางกาย สตปิ ญั ญา จิตใจอารมณ์ และสังคมของกลุ่มเปา้ หมาย
ผู้รับบรกิ ารบคุ ลากรทางการศึกษา และผ้รู ว่ มงาน

10. มีวินัยและการรักษาวินัย
• มคี วามรู้ และปฏิบตั ิตามระเบียบกฎหมายทเี่ กยี่ วข้อง ปฏิบัตงิ านตามคำสง่ั หรือนโยบายทช่ี อบด้วย
กฎหมายของผอู้ ำนวยการโรงเรียน หรือ หน่วยงานต้นสงั กัด

23

• ไมเ่ คยใช้ชอ่ งวา่ งทางระเบยี บ และกฎหมายกล่ันแกล้งผูอ้ ื่น
ข้าพเจ้าขอรับรองวา่ ข้อมูลทีไ่ ดป้ ระเมนิ ตนเองท้ังหมดถูกตอ้ งตรงตามเอกสารหลักฐานทม่ี อี ยู่จรงิ

(ลงช่ือ) ……………….…………………….. ผรู้ ายงาน
( นายนรนิ ทร์ อนงคช์ ยั )
ตำแหนง่ ครู


Click to View FlipBook Version