The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงาน หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม 2565 เทพอุดมวิทยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงาน หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม 2565 เทพอุดมวิทยา

รายงาน หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม 2565 เทพอุดมวิทยา

คำนำ

นวัตกรรม “การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อทกั ษะการคิดของนักเรียนผ่านกระบวนการเรียนรู้
ที่ใช้คำถามเป็นฐานที่ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้วยรูปแบบ IDPRS model ผ่านกระบวนการชุมชน
แห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพและการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน” เป็นนวัตกรรมที่คิดค้นและพัฒนาขึ้น เพื่อพัฒนา
นักเรียนให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และคิดสร้างสรรค์ ยกระดับคุณภาพการจัดการ
เรยี นรูข้ องครูผู้สอนทางการศึกษาในโรงเรยี นเทพอุดมวิทยาทยี่ ึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ เพ่ือให้
คณะครูผู้สอนมีวิธีการจัดการเรียนการรู้ด้วยรูปแบบเชิงรุก (Active Learning) ในการพัฒนาทักษะการคิด
วิเคราะห์ คิดอยา่ งมีวิจารณญาณ และ คิดสร้างสรรค์ แก่ผูเ้ รยี น โดยการใช้คำถามเปน็ ฐานเพือ่ ให้มปี ระสิทธิภาพ
เพิ่มมากขึ้น ซึ่งจากการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๒ จนถึงปัจจุบัน สามารถแก้ปัญหาได้
เป็นอย่างดี เป็นที่น่าพอใจ เกิดผลงานเป็นที่ประจักษ์ จนเป็นที่ยอมรับจาก หน่วยงานต้นสังกัด ภาคีเครือข่าย
และสังคม ซึ่งการจัดทำรายงานนวัตกรรมเล่มนี้ รายงานตามรูปแบบของสำนักงานเลขาธิการคุรุสภา
(หน่งึ โรงเรยี น หนง่ึ นวตั กรรม) ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๕

ขอขอบคุณ ผศ.ดร.อำนวย วัฒนกรสิริ อาจารย์ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ
สุรินทร์ ผศ.ดร.พานชัย เกษฎา อดีต อาจารย์คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ และ อนุกรรม
คณะกรรมการศึกษาธิการจงั หวัดสรุ ินทร์ นายวชั รา สามาลย์ ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัด
การศกึ ษา สพม.สรุ ินทร์ ดร.ชยั สทิ ธิ์ คณุ สวสั ด์ิ ศกึ ษานเิ ทศก์ สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษาสรุ นิ ทร์
และ ดร.รวชิ ญฒุ ม์ ทองแมน้ ศึกษานเิ ทศก์ สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาสรุ ินทร์ ตลอดจนคณะครู
และบุคลากร โรงเรียนเทพอุดมวิทยา และ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ที่ให้ความร่วมมือ ในการขับเคลื่อน
นวัตกรรมจนประสบความสำเร็จ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า นวัตกรรม “การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้เพ่ือ
ทักษะการคิดของนักเรียนผ่านกระบวนการเรียนรู้ที่ใช้คำถามเป็นฐานที่ยึดหลักปรัชญาของเศ รษฐกิจพอเพียง
ด้วยรูปแบบ IDPRS model ผ่านกระบวนการชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชพี และการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน”
จะเป็นประโยชน์กับโรงเรียนต่างๆ หรือผู้ที่สนใจในการนำไปประยุกต์ใช้เพื่อแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอน
ต่อไป

นายภานุวัฒน์ แป้นจันทร์
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นเทพอดุ มวิทยา

สารบญั

หนา้
คำนำ
สารบัญ
แบบรายงาน ............................................................................................................................. ................. ๑
บทสรุป ...................................................................................................................................................... ๓
ความเปน็ มาและความสำคัญ ..................................................................................................................... ๖
วตั ถปุ ระสงค์ .............................................................................................................................................. ๗
กระบวนการพฒั นาผลงานหน่ึงโรงเรยี น หนึ่งนวตั กรรม ............................................................................ ๗

สภาพปัญหาก่อนการพัฒนา .............................................................................................................. ๗
การออกแบบนวตั กรรมเพือ่ การพฒั นา .............................................................................................. ๑๐
ขัน้ ตอนการดำเนนิ งานพัฒนา ............................................................................................................ ๑๒
ผลงานท่ีเกิดข้ึนจากการดำเนินงาน .................................................................................................... ๑๕
สรปุ ส่งิ ท่เี รียนรูแ้ ละการปรบั ปรงุ ให้ดีขนึ้ ............................................................................................ ๑๗
การขยายผลและเผยแพรผ่ ลการพัฒนา ............................................................................................. ๑๘
ข้อเสนอแนะและแนวทางการพฒั นาอย่างตอ่ เน่ือง .................................................................................... ๑๘
จุดเดน่ หรือลกั ษณะพิเศษของผลงานนวัตกรรม ....................................................................................... ๑๙
บรรณานกุ รม ............................................................................................................................. ............... ๒๓
แบบ นร.๒ กรณีผลงานที่ส่งเปน็ การพัฒนาเพ่ิมเตมิ หรือต่อยอดนวัตกรรมจากผลงานเดิม ....................... ๒๔



แบบ นร. ๑

การนาํ เสนอผลงาน “หน่งึ โรงเรยี น หน่ึงนวตั กรรม” ประจำปี ๒๕๖๕

๑. หน้าปก

๑) ชอ่ื ผลงานหน่ึงโรงเรียน หน่งึ นวัตกรรม

“การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อทักษะการคิดของนกั เรียนผา่ นกระบวนการเรียนรู้ท่ีใช้คำถามเป็น

ฐานที่ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้วยรูปแบบ IDPRS model ผ่านกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้

ทางวิชาชีพและการพฒั นาบทเรียนร่วมกนั ”

๒) ระยะเวลาดำเนนิ งานตง้ั แต่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๒ ถงึ ๒๗ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๕

๓) การสง่ ผลงานหนงึ่ โรงเรยี น หนึง่ นวตั กรรม

 เปน็ ผลงานท่ีไมเ่ คยสง่ เข้ารับการคดั สรรกับครุ ุสภา

 เป็นผลงานที่เคยส่งเข้ารบั การคัดสรรกบั ครุ สุ ภา ปี......... เรื่อง แต่ไม่ไดร้ บั รางวัลของคุรุสภา

✓เปน็ ผลงานท่เี คยไดร้ ับรางวลั ของคุรุสภาและมกี ารนํามาพฒั นาเพ่ิมเติม หรือต่อยอดนวตั กรรม (ต้องกรอก

แบบ นร. ๒)

๔) ประเภทผลงานหนง่ึ โรงเรียน หนงึ่ นวัตกรรม

✓การจดั การเรียนรู้  สื่อและเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนรู้

 การบรหิ ารและการจดั การสถานศกึ ษา  การสง่ เสรมิ และพฒั นาผเู้ รียนให้เตม็ ศักยภาพ

 การวดั และประเมนิ ผล

๕) ขอ้ มูลสถานศึกษา

ช่ือสถานศึกษา โรงเรยี นเทพอดุ มวิทยา เลขท่ี 13 หมู่ 11 ถนน –

ตำบล ดม อำเภอ สงั ขะ จงั หวัด สุรินทร์

รหัสไปรษณยี ์ ๓๒๑๕๐ โทรศพั ท์ ๐๘๙-๔๑๓-๔๘๘๖ โทรสาร -

๖) สังกดั  ๑. สพป. ..............เขต.............  ๒. สพม.เขต จังหวัด สรุ นิ ทร์

 ๓. สอศ.  ๔. สช.  ๕. กทม.  ๖. อปท. ............

 ๗. กศน.  ๘. การศึกษาพิเศษ  ๙. อ่นื ๆ (โปรดระบ)ุ ............................

๗) ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา

ชอ่ื ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา นายภานวุ ัฒน์ นามสกลุ แปน้ จันทร์

เลขบตั รประชาชน ๓-๓๒๑๓-๐๐๒๒๖-๑๕-๕ ตําแหน่ง ผ้อู ำนวยการ วทิ ยะฐานะ ผูอ้ ำนวยการชำนาญการพเิ ศษ

โทรศัพท์เคลือ่ นที่ ๐๘๙-๔๑๓-๔๘๘๖ E-mail : [email protected]

๕) ผ้ปู ระสานงาน

▪ ช่ือ นายนรินทร์ นามสกลุ อนงค์ชยั

เลขบตั รประชาชน ๓-๓๒๑๐-๐๐๑๗๖-๕๔-๓ ตาํ แหนง่ ครู วิทยะฐานะ ครชู ำนาญการพิเศษ

โทรศพั ท์เคลื่อนที่ ๐๘๖ - ๒๖๑ - ๗๖๗๘ E-mail : [email protected]



๖) คณะผรู้ ว่ มพฒั นาผลงานนวัตกรรม

▪ ชอ่ื นายนรินทร์ นามสกลุ อนงคช์ ยั

เลขบัตรประชาชน ๓-๓๒๑๐-๐๐๑๗๖-๕๔-๓ ตาํ แหนง่ ครู วิทยะฐานะ ครูชำนาญการพเิ ศษ

โทรศัพท์เคลอื่ นที่ ๐๘๖ - ๒๖๑ - ๗๖๗๘ E-mail : [email protected]

▪ ชอ่ื นายวรวฒุ ิ นามสกลุ เลื่อนทอง

เลขบัตรประชาชน ๓-๓๒๑๐-๐๐๔๑๑-๗๕-๕ ตาํ แหนง่ ครู วทิ ยะฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ

โทรศัพทเ์ คลื่อนท่ี ๐๘๔-๙๓๖-๗๓๖๔ E-mail : [email protected]

▪ ชื่อ นางพนอจติ นามสกุล เลอ่ื นทอง

เลขบัตรประชาชน ๓-๒๒๐๒-๐๐๐๙๗-๓๐-๒ ตาํ แหน่ง ครู วทิ ยะฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ

โทรศัพท์เคลื่อนที่ ๐๘๗-๙๖๔-๕๕๐๐ E-mail : krunuch๒๐๑๐@gmail.com

▪ ชื่อ นางสุมาลย์ นามสกลุ แคลนกระโทก

เลขบตั รประชาชน ๓-๓๒๑๐-๐๐๔๐๐-๘๙-๓ ตาํ แหนง่ ครู วิทยะฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ

โทรศัพท์เคลอื่ นที่ ๐๘๑-๙๙๗-๐๐๗๕ E-mail : [email protected]

▪ ชอื่ นางสาวจิดาภา นามสกลุ ปดั ภยั

เลขบตั รประชาชน ๓-๓๒๑๐-๐๐๖๗๑-๒๑-๘ ตําแหน่ง ครู วทิ ยะฐานะ ครชู ำนาญการพิเศษ

โทรศพั ทเ์ คล่อื นที่ ๐๘๙-๘๔๗-๗๕๗๘ E-mail : jidapa๔๙@gmail.com

▪ ชอ่ื นางจงกล นามสกุล ปัดภัย

เลขบตั รประชาชน ๓-๓๒๑๓-๐๐๑๐๒-๐๙-๐ ตาํ แหนง่ ครู วิทยะฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ

โทรศพั ทเ์ คลอ่ื นท่ี ๐๘๐-๖๑๔-๙๘๙๙ E-mail : [email protected]

▪ ชอ่ื นางสาวเพชราพรรณ นามสกลุ สบื สนั ต์

เลขบตั รประชาชน ๑-๓๒๐๕-๐๐๑๑๐-๑๒-๙ ตําแหน่ง ครู วิทยะฐานะ ครชู ำนาญการพเิ ศษ

โทรศัพทเ์ คล่อื นที่ ๐๘๐-๗๙๖-๔๐๖๒ E-mail : [email protected]

▪ ชือ่ นางวนชิ นันท์ นามสกุล มณฑล

เลขบัตรประชาชน ๓-๓๒๑๐-๐๐๔๐๔-๔๖-๕ ตําแหน่ง ครู วิทยะฐานะ ครูชำนาญการ

โทรศพั ท์เคลอ่ื นที่ ๐๘๓ – ๓๘๔ – ๘๑๒๓ E-mail : wanichanan๘๐@thepudom.ac.th

▪ ชอ่ื นายวฒุ ิวฒั น์ นามสกลุ รัตนิล

เลขบัตรประชาชน ๓-๓๒๑๐-๐๐๑๕๑-๔๗-๑ ตําแหน่ง ครู วทิ ยะฐานะ -

โทรศัพท์เคล่ือนท่ี ๐๙๓-๕๑๕-๗๐๙๘ E-mail : wuttiwat๑@gmail.com

▪ ชื่อ นายเกยี รติภมู ิ นามสกุล ทองลาง

เลขบตั รประชาชน ๑-๓๒๑๐-๐๐๐๘๑-๗๗-๕ ตาํ แหนง่ ครู วทิ ยะฐานะ ครูชำนาญการ

โทรศพั ทเ์ คลือ่ นท่ี ๐๘๕-๓๐๕-๔๐๕๐ E-mail : [email protected]

▪ ชื่อ นายโกวิทย์ นามสกลุ บังคม

เลขบัตรประชาชน ๑-๓๓๐๘-๐๐๐๐๑-๕๗-๑ ตาํ แหน่ง ครู วิทยะฐานะ -

โทรศัพทเ์ คล่ือนที่ ๐๘๔-๙๘๓-๖๘๑๐ E-mail : [email protected]



▪ ชื่อ นายไพศาล นามสกุล อุ้มทรัพย์

เลขบตั รประชาชน ๓-๓๒๑๐-๐๐๕๕๘-๔๔-๖ ตาํ แหนง่ ครู วทิ ยะฐานะ -

โทรศพั ทเ์ คลือ่ นท่ี ๐๙๐ – ๘๑๙ – ๖๙๑๓ E-mail : [email protected]

▪ ช่ือ นางสาวปุณณภา นามสกลุ พรอ้ มแกว้

เลขบัตรประชาชน ๓-๓๒๙๙-๐๐๓๑๑-๙๒-๔ ตาํ แหน่ง ครู วทิ ยะฐานะ -

โทรศัพทเ์ คลือ่ นที่ ๐๘๙-๘๙๔-๓๒๖๓ E-mail : [email protected]

▪ ชอ่ื นางสาวณฏั ฐกันยภรณ์ นามสกุล โสพัฒน์

เลขบัตรประชาชน ๑-๓๓๐๗-๐๐๑๒๒-๙๑-๑ ตาํ แหน่ง ครู วทิ ยะฐานะ -

โทรศพั ทเ์ คลอ่ื นท่ี ๐๘๗-๘๗๕-๔๐๙๑ E-mail : [email protected]

▪ ช่ือ นางสาวเยาวลักษณ์ นามสกุล ซ่ือสัตย์

เลขบตั รประชาชน ๑๓๓๐๔๐๐๓๓๓๙๗๕ ตาํ แหนง่ ครู วทิ ยะฐานะ -

โทรศัพทเ์ คลอ่ื นท่ี ๐๘๒๗๘๑๘๙๘๗ E-mail : [email protected]

▪ ชือ่ นายทนิ กร นามสกลุ แก้วบุดดี

เลขบัตรประชาชน ๑-๓๓๐๗-๐๐๑๒๒-๙๑-๑ ตําแหนง่ ครู วิทยะฐานะ -

โทรศัพท์เคลื่อนท่ี ๐๘๖-๒๔๘๐-๔๖๘ E-mail : Pooh๔๔๔๔๔๔๔๔๔๔@gmail.com

๒. บทสรปุ
การพฒั นากระบวนการจดั การเรียนร้เู พ่ือทักษะการคดิ ของนักเรยี นผา่ นกระบวนการเรียนรู้ท่ใี ช้คำถามเป็นฐาน

ที่ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้วยรปู แบบ IDPRS model ผ่านกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรูท้ างวิชาชีพ
และการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน ของโรงเรียนเทพอุดมวิทยา มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีทักษะการคิด
วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และคิดสร้างสรรค์ เพื่อให้คณะครูผู้สอนมีวิธีการจัดการเรียนการรู้เพื่อพัฒนาทักษะ
การคิดวเิ คราะห์ คดิ อย่างมีวิจารณญาณ และคิดสร้างสรรค์ แกผ่ เู้ รียนที่มีประสทิ ธภิ าพ เพอ่ื บูรณาการการจดั การเรียนรู้

หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงในรายวิชาต่าง ๆ ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพย่ิงข้นึ โดยมขี ้ันการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ดังนี้

๑. ขน้ั เตรียมการ (Plan)
๑.๑ ประชุมชี้แจง ให้ความรู้ คณะครู และร่วมอภิปรายถึงวัตถุประสงค์และคุณค่าของการสร้างชุมชนการ

เรียนรู้ทางวิชาชีพครู ศึกษาวิเคราะห์สภาพการดำเนินงานของโรงเรียนเทพอุดมวิทยา สังเคราะห์สร้างแนวปฏิบัติเพื่อ
เป็นรูปแบบการดำเนินงานที่เหมาะสมเพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่วางไว้ คือ การยกระดับคุณภาพ
การจัดการเรียนรู้ อันจะส่งผลให้ผู้เรียนมีการพัฒนาทักษะคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และคิดสร้างสรรค์
เพิ่มขึ้น อย่างมีประสิทธิภาพและเข้าใจได้ง่าย ประสานขอความอนุเคราะห์ผู้เชี่ยวชาญ สร้างทีม (PLC) และกำหนด
บทบาท และ กำหนดปฏทิ นิ ดำเนินงาน (Schedule) จำนวน ๓ วงรอบ ตอ่ ภาคเรยี น ๖ วงรอบ ตอ่ ปีการศึกษา

๒. ขนั้ วเิ คราะห์ปัญหาเพอื่ เขา้ ใจผู้เรยี น (Empathy : E)
สมาชิก PLC ดำเนินร่วมวิเคราะห์ปัญหาด้านคุณภาพผู้เรียนเป็นปัญหาที่มคี วามเชื่อมโยงกับเป้าหมายการ

จัดการศึกษาอันจะเป็นเส้นทางสู่ความสำเร็จของการจัดการศึกษา เมื่อผู้เรียนได้รับการพัฒนา โดยได้กำหนดรูปแบบ



การสอน คือ รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อทักษะการคิดของนักเรียนผ่านกระบวนการเรียนรู้ที่ใช้คำถามเป็นฐานที่ยึด
หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้วยรูปแบบ IDPRS model โดยมขี ้ันการจดั การเรยี นรู้ คอื

๒.๑) ขน้ั I: Inspiration คอื ขน้ั สร้างแรงบนั ดาลใจในการเรียนรู้
๒.๒) ขน้ั D: Define คือ ขั้นวเิ คราะห์สถานการณ์
๒.๓) ขนั้ P: Practice คือ ข้นั ฝึกฝน
๒.๔) ขั้น R: Result คอื ขั้นผลลัพธ์จากการเรียนรู้
๒.๕) ขน้ั S: Share คือ ขนั้ เผยแพรผ่ ลงาน
๓. ขน้ั ตอนการค้นหาวิธกี ารสอน (Discover : D๑)
สมาชิกทีม PLC ร่วมกันศึกษาและวิเคราะห์ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ ผลการ
เรียนรู้ จุดประสงคก์ ารเรยี นรขู้ องหนว่ ยการเรียนรู้ที่ Model จะจัดการเรียนรู้ ศกึ ษาเทคนคิ การสอน วธิ กี ารสอน วิธกี าร
จดั การเรยี นรู้ ค้นควา้ ส่อื การเรียนรู้
๔. ขน้ั ตอนออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ (Design : D๒)
Model teacher ออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ ทส่ี อดคลอ้ งตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ัด จุดประสงค์
การเรียนรู้ ที่นำองค์ความรู้ด้านเทคนิคการสอน วิธีการสอน วิธีการจัดการเรียนรู้ ค้นคว้าสื่อการเรียนรู้ สื่อออนไลน์
แอปพลเิ คชัน ตามทท่ี มี PLC ขา้ งตน้ สมาชิก PLC พิจารณา ให้ขอ้ เสนอแนะเพ่อื ปรับปรงุ อกี ครั้ง
๕. ขัน้ ตอนพัฒนาแผนการจดั การเรยี นรู้ (Develop : D๓)
Model teacher นำข้อเสนอแนะการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้จาก สมาชิกทีม PLC มาปรับปรุง ให้มี
ความสมบูรณ์ สร้างสือ่ การส่อื การเรียนรู้ เตรียมความพร้อมในการจัดการเรยี นรู้ในชนั้ เรียน ตามทีน่ ัดหมาย
๖. ขัน้ ตอนนำแผนไปใช้ในช้ันเรียนและรว่ มสงั เกตการสอน (D๔ : Deliver)
ในขั้นตอนนำแผนไปใช้ในชั้นเรียนและร่วมสังเกตการสอน สมาชิก PLC ร่วมสังเกตการจัดการเรียนรู้ของ
Model teacher ตามนัดหมาย โดยมีหลกั ปฏิบัติ คือ ๑) การประชมุ ก่อนการสังเกตการสอน (Pre - Observation) ๒)
การสงั เกตการสอน (Observation) ๓) การประชมุ หลังการสังเกตการสอน (Post – Observation)
๗. ขั้นตอนสะทอ้ นผล (R : Reflect)
สมาชิกทีม PLC ร่วมสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ โดยมีองค์ประกอบต่อไปนี้ ๑) สะท้อนความสำเร็จกับ
เป้าหมายและสังเคราะห์บทสรุปที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน (Open) ๒) สะท้อนปัญหาและอุปสรรค ข้อควรปรับปรุง และสิ่งที่
ตอ้ งพึงระวงั (Care) ๓) เผยแพรผ่ ลงานทด่ี คี วรรักษาไวใ้ ห้มตี ่อไปหรอื นำไปพัฒนาต่อยอด (Share)
ผลการดำเนนิ การพบวา่
๑) ครูผู้สอนมีนวัตกรรมด้านกระบวนการ ในการจัดการเรียนการรู้ที่พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ คิด
อย่างมีวิจารณญาณ และคิดสร้างสรรค์ โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผ่านกลยุทธ์ IDPRS Model โดย มี
รูปแบบหลัก คือการใช้คำถามเพื่อการเรียนรู้ (Questions to learn) โดยคำถามจะมีความเชื่อมโยงกับองค์ประกอบ
ของหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง มเี ทคนิคการสอนด้วยรูปแบบการสอนแบบเชิงรกุ (Active Learning) ได้แก่
- เทคนิคการสอนแบบ Think – Pair – Share - เทคนิค Group of ๔ - เทคนิค Gallery walk - เทคนิคการทดสอบ
เพื่อวัดประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative assessment) โดยใช้ Game-Based Learning, เกมมิฟิเคชั่น
(Gamification) การสอบแบบออนไลน์ - เทคนิคการสะท้อนคิด โดยใช้รูปแบบ Exit ticket มีโครงสร้างคำถาม
ประกอบด้วย R - Reflect (การสะทอ้ นกลบั ) C - Connect (การเชื่อมโยง) และ A - Apply (การปรบั ใช้)



๒) นกั เรยี นมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน คะแนนการทดสอบระดบั ชาติ (O-NET) สงู ขึน้

๓) สมรรถนะของนักเรยี นดา้ นทักษะการคิดวิเคราะห์ คดิ สรา้ งสรรค์ และ คดิ อย่างมวี ิจารณญาณ สูงขนึ้

๔) ผบู้ รหิ ารและครูไดร้ ว่ มคิด รว่ มทำ รว่ มพัฒนา รว่ มแลกเปล่ียนเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งต่อเน่ืองผ่านกระบวนการ

PLC มเี ป้าหมายและภารกิจ ร่วมกนั ในการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา เพ่ือก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ สูงสุดตอ่ ผู้เรียน

๕) โรงเรียนได้รับการพัฒนาให้มีการปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม และมีคุณภาพสูงขึ้นนักเรียนมีประสบการณ์

และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เป็นพื้นฐานทีจ่ ะสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในการเรียนใน ระดับที่สูงขึ้นหรือการ

แก้ปัญหา หรอื การพฒั นาผลงานนวตั กรรมต่อไปได้

๖) ผลการดำเนินการมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ อันได้แก่ รางวัลต่างๆที่ ได้รับ ทั้งบุคลากร สถานศึกษา

และผลทเ่ี กดิ ขึ้นกบั ผ้เู รยี น ผ้รู บั บริการ จนเป็นท่ยี อมรบั จากหนว่ ยงานตน้ สงั กดั ภาคีเครอื ขา่ ยและสังคม เช่น ๑) รางวลั
ชนะเลิศ การประกวด นวัตกรรม/วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ด้านโรงเรียนที่ส่งเสริมการจัดการศึกษา
ทางไกล (DLIT/DLTV) ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โดย สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษาสรุ ินทร์ ๒) รางวัล รอง
ชนะเลิศ อันดับ ๑ การประกวด นวัตกรรม/วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ด้านโรงเรียนที่ใช้ชุมชนแห่งการ
เรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC – LS) ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๓ โดย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ ๓)
รางวลั นวตั กรรม PLC best practice การยกระดับคณุ ภาพการจัดการเรยี นรู้ของสถานศึกษาแบบองคร์ วม หรือ T-SIP:
Thailand School Improvement Program ในกิจกรรมวันครูออนไลน์ ประจำปี ๒๕๖๔ โดยคุรุสภา ๔) รางวัล รอง
ชนะเลิศอันดับ ๑ ในการประกวดการนำเสนอผลงานโครงงานแคมป์ออนไลน์ “วิทยาการคำนวณและทักษะโค้ดดิ้ง”
จากมหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ ปี พ.ศ.๒๕๖๔ ๕) รางวัลอนั ดับที่ ๔ จากการประกวดการคัดเลือกโรงเรยี นทีป่ ระสบ
ผลสำเร็จการวิจัยและพฒั นานวัตกรรมการเรียนรู้ Active Learning ร่วมกบั ภาคีเครือขา่ ย ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาสุรนิ ทร์ ๖) รางวัลระดับเหรียญเงิน จากการคัดสรรผลงานหน่ึงโรงเรยี น หนึ่ง
นวตั กรรม ประจำปี ๒๕๖๔ ระดบั ภูมิภาค เร่ือง “กระบวนการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการคดิ วิเคราะห์ คิดอย่าง
มีวิจารณญาณ และคิดสร้างสรรค์ โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้วยรูปแบบ IDPRS Model ผ่านกระบวนการ
ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ” จากสำนกั เลขาธกิ ารคุรุสภา ปี ๒๕๖๔ ๗) โรงเรียนเทพอุดมวทิ ยา ไดร้ ับรางวลั ลำดบั
ที่ ๒ ประเภทโรงเรียนขนาดเล็ก จากการคัดเลือกสถานศึกษารางวัลระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ประจำปี ๒๕๖๔
ระดับสหวิทยาเขต ๘ ศรีนครอัจจะ ปี ๒๕๖๔ ๘) ชนะเลิศ ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม การประกวดคัดเลือกนวัตกรรม/
วิธีการปฏบิ ตั ิท่ีเป็นเลิศ (Best Practice) ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ ประเภท การพัฒนากระบวนการนิเทศภายในโดย
ใช้กระบวนการ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) และการพัฒนา
บทเรียนร่วมกัน (Lesson Study) ระดับ สพม.สุรินทร์ ๙) ครูผู้สอน ได้รับรางวัลชนะเลิศ และ รางวัลรองชนะเลิศ

อันดับ ๑ Best Practice การจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณ (Coding) ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๔ ระดับสำนักงาน

เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์ ๑๐) ครูผู้สอนได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ ๑ เหรียญรางวัลครูดีในดวงใจ

ระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา (มัธยมศึกษาตอนต้น) จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์ให้ไว้ ปี ๒๕๖๔

๑๑) ครู ได้รับคัดเลือกเป็นครูสอนดี (SMART TEACHER) ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ผ่านกระบวนการนิเทศ

ภายในโดยใช้กระบวนการเปิดชั้นเรียน (Lesson Study) ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์

ประจำปี พ.๔๒๕๖๔ จำนวน ๗ คน และ ๑๒) ครูได้รับรางวัลเป็นครูผู้สอนดีเด่นในการนำเทคโนโลยีดิจิทัล มา

ประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนผ่านกระบวนการนิเทศชั้นเรียนด้วยระบบออนไลน์ ระดับสำนักงานเขตพื้นท่ี

การศึกษามธั ยมศกึ ษาสุรินทร์ ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๔ จำนวน ๗ คน เปน็ ต้น



๓. ความเปน็ มาและความสำคญั
กรอบความคิดสำคัญของแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ ภายใต้วิสัยทัศน์ของแผนการศึกษา

แหง่ ชาติ “คนไทยทุกคนได้รบั การศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคณุ ภาพ ดำรงชีวติ อยา่ งเปน็ สุข สอดคล้องกับหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษท่ี ๒๑” เพื่อให้บรรลุวสิ ัยทัศน์และจุดมุ่งหมายใน
การจัดการศึกษาดังกลา่ วข้างตน้ แผนการศกึ ษาแห่งชาติได้วางเป้าหมายไว้ ๒ ดา้ น คอื เปา้ หมายด้านผู้เรียน (Learner
Aspirations) โดยมุ่งพัฒนา ผู้เรียนทุกคนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ (๓Rs๘Cs)
ประกอบด้วย ทักษะและคุณลักษณะ ต่อไปนี้ ๓Rs ได้แก่ การอ่านออก (Reading) การเขียนได้ (Writing) และการคิด
เลขเป็น (Arithmetic) ๘Cs ได้แก่ ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical
Thinking and Problem Solving) ทักษะ ด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะ
ด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross – cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ การ
ทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ
และการรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information and Media Literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้ (Career
and Learning Skills) และความมเี มตตา กรณุ า มีวนิ ัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิ
พลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ท่ีพระราชทานไว้เพือ่ เป็นพืน้ ฐานในการดำรงชีวิตของประชาชนทุกระดบั ในสังคม
อย่างพอเพียง เท่าทันและเป็นสุข สามารถน้อมนำมาปรับใช้ในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรอบรู้ มี
ทกั ษะที่พร้อมรับการเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็วของสังคมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอก ให้การพัฒนาระบบเศรษฐกิจ
และสังคมไทยมีการพฒั นาอยา่ งมนั่ คงและยั่งยนื

จากการดำเนินการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดของนักเรียน ในปีการศึกษา ๒๕๖๓ ของ
โรงเรียนเทพอุดมวิทยา พบว่า มีรูปแบบท่ีช่วยให้ผู้สอน สามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างเป็นข้ันตอน พัฒนาสมรรถนะ
ของผู้เรียนในด้าน ทักษะการคิด และแก้ปัญหาได้ แต่เมื่อพิจารณาผลลัพธ์ทางการเรียน ชิ้นงานและพฤติกรรมการ
เรียนรู้ของนักเรียน พบว่า ระดับคุณภาพของสมรรถนะด้านทักษะการคิดวิเคราะห์ ประกอบด้วย การวิเคราะห์
องค์ประกอบ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ การวิเคราะห์ความสำคัญ และ การวิเคราะห์หลักการ สมรรถนะด้าน
ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ประกอบด้วย การวิเคราะห์ข้อมูล การตัดสินใจเลือกข้อมูล และ การลงข้อสรุป
และ สมรรถนะด้านทักษะการคิดสร้างสรรค์ ประกอบด้วย การความคิดริเริ่ม ความคิดคล่อง และ ความคิด
ละเอียดลออ ยังอยู่ในระดับ ต่ำกว่าเป้าหมายที่คาดหวังไว้ และเมื่อพิจารณาสมรรถนะทั่วไป ความพร้อมทางการ
เรียนของนักเรียน พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีศักยภาพท่ีสามารถพัฒนาได้มากกว่าน้ี

สาเหตุของปัญหาอาจจะเนื่องมาจาก กิจกรรมการเรียนการสอน และสื่อการสอนท่ีครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ในชั้นเรียนยังไม่สามารถพัฒนาให้นักเรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ที่เพียงพอ
ครอบคลุมนักเรียนทุกคน ครูขาดการใช้คำถามที่ส่งเสริมให้เกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ คิด
สร้างสรรค์ ที่ถูกต้องตามทักษะการคิดแต่ละด้าน ครูยังคงกังวลการสอน “เนื้อหา” มากกว่าการสอนเพื่อพัฒนา
“ทักษะ” โดยสาเหตุที่สำคัญที่สุด คือ การออกแบบและการจัดกิจกรรมการเรียรู้ของครูยังขาดประสิทธิภาพ
(รายงานการดำเนินโครงการกระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) โรงเรียนเทพอุดมวิทยา, ๒๕๖๔)



การพัฒนาบทเรยี นร่วมกันหมายถงึ แนวคดิ หรอื กระบวนการทม่ี ีความเฉพาะเจาะจงว่าดว้ ยการรว่ มมือรวมพลัง
ของกลมุ่ ครใู นการนำความรูท้ ่ีเกิดจากการปฏบิ ัติงานจริงหรือจากการสอนของครู ตามขน้ั ตอนของ "กระบวนการพัฒนา
บทเรียนร่วมกัน (Lesson Study Process)" ๓ ขั้นตอน คือ ๑) ขั้นการวางแผนการจัดการเรียนรู้บทเรียนร่วมกัน
(planning lessons)ซึ่งเป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับการออกแบบการเรียนการสอนและการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ ๒)
ขัน้ ปฏบิ ตั ิการสอนและสังเกตชั้นเรยี น (do & see) เปน็ ข้นั ตอนท่ีครใู หม่ปฏิบัติการสอนและสังเกตพฤติกรรมท่ีแสดงถึง
การเรียนรู้และการคิดของผู้เรียนโดยตรงในชั้นเรียน และ ๓) การสืบสอบผลและสะท้อนคิด (debrief '& reflect) คือ
การที่ครูใหม่และพี่เลี้ยงนำสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการสังเกตชั้นเรียนในประเด็นเกี่ยวกับกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอน การเรียนรู้และการคิดของผู้เรียนที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน การอภิปรายผลการปฏิบัติงาน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
และการปรับปรุงแกไ้ ขบทเรยี น จนไดบ้ ทเรียนท่มี ีคุณภาพ (เกรียง ฐติ ิจำเริญพร, ๒๕๕๔ : ๑๙)

PLC (Professional Learning Community) พัฒนามาจากกลยุทธ์ระดับองค์กรที่มุ่งเน้นให้องค์กรมีการ
ปรับตัวต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคม คือการร่วมมือ ร่วมใจกันของครู และผู้บริหารโรงเรียน และหน่วยงาน
การศึกษาที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาการเรียนรูท้ างวิชาชีพ และแลกเปลี่ยนเยนรู้ซึง่ กันและกัน จนเกิดเป็นวัฒนธรรม หรือ
ชุมชนของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในโรงเรียน PLC สำคัญเพราะกิจกรรมนี้ช่วยใหม้ ีการ แลกเปลี่ยนปัญหา และเรียนรู้ที่
จะมองเห็น การปรับปรุง เปลี่ยนแปลง พัฒนาการ จัดการ และร่วมกันแก่ไขปัญหาเพื่อนำ มาพัฒนานักเรียนดังนั้นจึง
ต้องมีการพัฒนาแนวคิดองค์กรการเรียนรู้และต้องปรับประยุกต์ให้มีความสอดคล้องกับบริบทของโรงเรี ยน เพื่อการ
ปรับปรงุ เปล่ยี นแปลง พัฒนาการจัดการ และรว่ มกันแก้ไขปัญหาเพ่อื นำมาพัฒนานักเรียนเปน็ เป้าหมายสำคัญ

ดังนั้น การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อทักษะการคิดของนักเรียนผ่านกระบวนการเรียนรูท้ ี่ใช้คำถาม
เปน็ ฐานทีย่ ดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้วยรปู แบบ IDPRS model ผ่านกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง
วชิ าชพี และการพฒั นาบทเรยี นรว่ มกัน ของโรงเรยี นเทพอดุ มวิทยา จงึ ถกู กำหนดขึน้

๔. วตั ถุประสงค์
๔.๑ เพ่อื พฒั นานกั เรยี นใหม้ ีทักษะการคดิ วเิ คราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และคิดสร้างสรรค์
๔.๒ เพื่อให้คณะครูผู้สอนมีวิธีการจัดการเรียนการรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และ

คดิ สรา้ งสรรค์ แก่ผู้เรียนที่มปี ระสทิ ธิภาพ
๔.๓ เพ่อื บูรณาการการจดั การเรยี นรู้หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในรายวชิ าตา่ ง ๆ ให้มปี ระสิทธิภาพยง่ิ ขนึ้

๕. กระบวนการพฒั นาผลงานหน่ึงโรงเรียน หนง่ึ นวตั กรรม
๕.๑ สภาพปัญหาก่อนการพัฒนา (พ.ศ.๒๕๕๙ – ๒๕๖๒)
โรงเรียนเทพอดุ มวิทยา เปน็ โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก มนี ักเรียน จำนวน ๒๘๕ คน มีคณะครแู ละบุคลากร

ทางการศึกษา รวมทั้งสิ้น ๒๓ คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน ๑ คน ครูผู้สอน จำนวน ๑๕ คน มี พนักงาน
ราชการ จำนวน ๓ คน ครอู ตั ราจา้ ง จำนวน ๑ คน เจา้ หน้าทธ่ี รุ การ จำนวน ๑ คน นักการภารโรง จำนวน ๑ คน และ
ลกู จ้างประจำ จำนวน ๑ คน

โรงเรียนเทพอุดมวิทยา ตั้งอยู่ในตำบลดม อำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ ห่างจากโรงเรียนขนาดใหญ่และใหญ่
พิเศษ จำนวน ๓ สถานศึกษา ประกอบด้วย โรงเรียนสังขะ อำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ ระยะทาง ๑๑ กิโลเมตร
โรงเรียนบัวเชดวิทยา อำเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ ระยะทาง ๘ กิโลเมตร และ วิทยาลัยการอาชีพสังขะ อำเภอสังขะ



จังดสรุ นิ ทร์ ระยะทาง ๑๒ กิโลเมตร การเดนิ ทางมีความสะดวก ส่งผลให้ผปู้ กครองโดยสว่ นใหญ่ นิยมส่งบุตรหลานเข้า
ศกึ ษาต่อ ณ โรงเรยี นดงั กล่าว นกั เรียนของโรงเรียนเทพอุดมวิทยา จึงเปน็ นักเรียนท่ีขาดความพร้อมด้านเศรษฐกิจและ
ดา้ นความรู้ความสามารถทางการเรยี นท่ดี ี โรงเรียนจงึ คอ่ นขา้ งมปี ญั หาดา้ นการจดั การเรียนการสอน ดงั น้ี

๕.๑.๑ ดา้ นคณุ ภาพผเู้ รียนดา้ นการเรียน

ตาราง ๑ ตารางเปรยี บเทียบผลสอบ O-NET ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ – ๒๕๖๒

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒
( ̅) SD ( ̅) SD ( ̅) SD ( ̅) SD
ภาษาไทย ๔๔.๔๖ ๑๑.๑๗ ๔๑.๙๖ ๑๑.๗๘ ๕๑.๗๔ ๑๓.๘๐ ๔๘.๒๓ ๑๔.๙๖
๔๔.๕๗ ๑๑.๖๒ - - - - - -
สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๒๗.๗๑ ๖.๙๔ ๒๗.๖๕ ๘.๘๗ ๒๗.๕๑ ๖.๑๖ ๒๙.๙๕ ๘.๕๓
๒๕.๔๓ ๙.๙๐ ๒๑.๕๐ ๙.๗๙ ๒๔.๗๔ ๘.๙๘ ๒๓.๓๐ ๖.๙๘
ภาษาองั กฤษ ๓๒.๐๐ ๗.๙๘ ๒๙.๖๑ ๖.๕๒ ๓๖.๑๑ ๗.๖๓ ๒๘.๗๓ ๕.๘
คณติ ศาสตร์
วิทยาศาสตร์

ท่มี า : งานทะเบยี น โรงเรียนเทพอุดมวทิ ยา (๒๕๖๓)

ตาราง ๒ ตารางเปรยี บเทียบผลสอบ O-NET ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๖ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ – ๒๕๖๒

กล่มุ สาระการเรียนรู้ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒
( ̅) SD ( ̅) SD ( ̅) SD ( ̅) SD
ภาษาไทย ๔๔.๔๔ ๑๕.๓๖ ๔๐.๒๙ ๑๔.๓๔ ๔๐.๘๘ ๘.๗๓ ๓๘.๕๐ ๙.๐๗
๓๒.๗๓ ๖.๑๖ ๓๑.๔๕ ๖.๗๘ ๓๓.๘๕ ๖.๒๑ ๓๓.๔๕ ๗.๑๓
สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๒๑.๕๙ ๕.๓๖ ๑๙.๗๖ ๕.๓๕ ๒๓.๖๑ ๕.๓๐ ๒๑.๔๘ ๕.๗๔
๒๐.๔๓ ๖.๗๒ ๑๕.๙๕ ๖.๙๖ ๒๑.๑๑ ๘.๔๔ ๑๙.๐๙ ๗.๓๓
ภาษาองั กฤษ ๓๐.๑๒ ๗.๑๒ ๒๕.๑๔ ๗.๓๖ ๒๕.๖๙ ๕.๕๙ ๒๖.๐๙ ๘.๐๖
คณิตศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์

ท่มี า : งานทะเบยี น โรงเรยี นเทพอุดมวิทยา (๒๕๖๓)

จากข้อมูลในตารางข้างต้น แสดงให้เห็นว่าถึงข้อจํากัดของของโรงเรียนเทพอุดมวิทยา ในการจัดการเรียนการ
สอน ประกอบทั้งจากการวิเคราะห์สภาพปัญหาของครูผู้สอน ในกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
พบปญั หาในช้ันเรยี น พบว่า ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรยี นโรงเรียนเทพอุดมวิทยา อย่ใู นระดับต่ำ

นอกจากนี้ จากการประเมินสมรรถนะทั่วไปและสมรรถนะของผู้เรียน เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ คิด
สร้างสรรค์ และ คิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนโรงเรียนเทพอุดมวิทยา ในภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๓ โดย ผู้สอนใน
รายวิชา และ ครูที่ปรึกษาทั้งโรงเรียน ผลการประเมิน ดังตาราง



ตาราง ๓ ตารางการประเมินสมรรถนะทว่ั ไปและสมรรถนะของผู้เรยี นดา้ นการคดิ วเิ คราะห์ คดิ สรา้ งสรรค์ และ
คดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๓

รายการประเมิน ๑ ระดับ ๔ เฉล่ีย ระดับ
๒๓ สมรรถนะ
ด้านที่ ๑ ผลการประเมินสมรรถนะทั่วไป
ตัวช้ีวัดท่ี ๑ การจัดการตนเองอย่างมีสุข ๑๒ ๑๕๙ ๙๕ ๑๒ ๒.๓๘ กำลังพัฒนา

ภาวะ ๓๘ ๑๔๐ ๙๐ ๑๐ ๒.๒๖ กำลังพัฒนา
ตัวช้ีวัดที่ ๒ การคิดข้ันสูงและการเรียนรู้ ๒๐ ๑๖๒ ๖๖ ๓๐ ๒.๓๘ กำลังพัฒนา
ตัวช้ีวัดที่ ๓ การสื่อสารด้วยภาษา ๕ ๑๕๐ ๙๐ ๓๓ ๒.๕๔ กำลังพัฒนา
ตัวชี้วัดท่ี ๔ การจัดการและการทำงาน
๑๑ ๘๐ ๑๓๓ ๕๔ ๒.๘๓ กำลังพัฒนา
เป็นทีม ๑๕ ๘๖ ๑๒๒ ๕๕ ๒.๗๘ กำลังพัฒนา
ด้านท่ี ๒ ผลการประเมินสมรรถนะการคิด ๓๐ ๑๒๑ ๑๐๐ ๒๗ ๒.๔๕ กำลังพัฒนา
วิเคราะห์ (Analytical thinking) ๔๑ ๑๓๙ ๕๗ ๔๑ ๒.๓๕ กำลังพัฒนา

ตัวช้ีวดั ที่ ๑ การวิเคราะหอ์ งค์ประกอบ ๑๑ ๔๒ ๑๖๕ ๖๐ ๒.๙๙ กำลังพัฒนา
ตัวชวี้ ดั ที่ ๒ การวิเคราะห์ความสมั พนั ธ์ ๓๘ ๑๔๐ ๙๐ ๑๐ ๒.๒๖ กำลังพัฒนา
ตัวชว้ี ัดที่ ๓ การวิเคราะหค์ วามสำคัญ ๔๙ ๑๓๙ ๕๗ ๓๓ ๑.๒๗ กำลังพัฒนา
ตัวชี้วดั ที่ ๔ การวิเคราะหห์ ลกั การ
ด้านท่ี ๓ ผลการประเมินสมรรถนะทักษะ ๑๒ ๑๒๐ ๑๐๐ ๔๖ ๒.๖๕ กำลังพัฒนา
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical ๒๑ ๑๑๐ ๑๒๐ ๒๗ ๒.๕๕ กำลังพัฒนา
thinking) ๓๓ ๑๒๘ ๙๘ ๑๙ ๒.๓๗ กำลังพัฒนา
ตัวช้ีวัดท่ี ๑ วิเคราะห์ข้อมูล
ตัวชี้ท่ีวัด ๒ ตัดสินใจเลือกข้อมูล ๒.๕๐ กำลังพัฒนา
ตัวช้ีวัดที่ ๓ ลงข้อสรุปข้อมลู
ด้านท่ี ๔ ผลการประเมินสมรรถนะทักษะ
การคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)
ตัวช้วี ดั ที่ ๑ ความคิดรเิ ร่มิ
ตัวชท้ี วี่ ดั ๒ ความคดิ คล่อง
ตวั ช้วี ดั ท่ี ๓ ความคดิ ละเอยี ดลออ

เฉลี่ย

จากตารางพบวา่ สมรรถนะผเู้ รียนจากการประเมินทุกด้านทุกตัวชีว้ ดั อยใู่ นระดับ กำลงั พัฒนา แสดงให้เห็นว่า
นักเรียนมีสมรรถนะทั่วไป สมรรถนะการคิดวิเคราะห์ (Analytical thinking) สมรรถนะทักษะการคิดอย่างมี
วิจารณญาณ (Critical thinking) สมรรถนะทักษะการคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) มีค่าเฉลี่ยรวม ๒.๕๐
อยู่ในระดับ กำลังพัฒนา

๑๐

๕.๒ การออกแบบนวตั กรรมเพือ่ การพฒั นา
การพัฒนากระบวนการจดั การเรียนรเู้ พ่ือทักษะการคดิ ของนักเรยี นผ่านกระบวนการเรียนรทู้ ี่ใชค้ ำถามเป็นฐาน

ที่ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้วยรูปแบบ IDPRS model ผ่านกระบวนการชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี
และการพฒั นาบทเรยี นร่วมกนั ของโรงเรยี นเทพอดุ มวทิ ยา ไดศ้ กึ ษาหลักการ/แนวคดิ /ทฤษฎีท่เี กยี่ วข้อง ดงั นี้

๕.๒.๑ กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้
การเรียนรทู้ างวชิ าชีพ หมายถงึ การพฒั นาประสทิ ธผิ ลการปฏิบัติงานของครูอยา่ งตอ่ เนอ่ื งเพ่อื ยกระดับ

ความรู้ ทักษะ ทัศนคติทางวิชาชีพ ตลอดจนพัฒนาความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในเนื้อหาสาระและการเรียนรู้ของผู้เรียน
เพอื่ ใหก้ ารปฏิบตั ิงานของครูมีประสิทธผิ ลมากยิ่งข้ึนชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพมีคุณลกั ษณะสำคัญ ๕ ประการ คือ ๑)
การมีวิสัยทัศน์ ค่านิยม และบรรทัดฐานร่วมกัน ๒) การร่วมเรียนรู้และร่วมมือรวมพลัง ๓) การมีความรับผิดชอบต่อ
เป้าหมายร่วมเพื่อการเรยี นรู้ของผู้เรยี น ๔) การสะทอ้ นผลการปฏิบตั ิงานเพื่อการพัฒนาทางวชิ าชีพ และ ๕) ภาวะผู้นำ
และการบริหารเพือ่ สนบั สนุนการเรียนรูท้ างวิชาชพี

๕.๒.๒ การพฒั นาบทเรยี นรว่ มกัน
การพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study) เป็นทั้งแนวคิดและเครื่องมือเพื่อสร้างการเรียนรู้ ซึ่งเป็น

วิธีการหนึ่งของการจัดการความรู้ โดยเป็นกระบนการของการดึงเอาความรู้จากการทำงานออกมาใช้เป็นทุนในการ
ทำงานเพื่อยกระดับให้ดียิ่งขึ้น แนวคิดการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน จึงเป็นการสกัดความรู้ที่มีอยู่ในตัวบุคคล (Tacit
Knowledge) ออกมาเปน็ บทเรียนหรอื ความรทู้ ่ชี ดั แจง้ (Explicit Knowledge) และเกิดการเรียนรรู้ ่วมกันของผู้เข้าร่วม
กระบวนการอนั นำมาซึ่งการปรบั วิธคี ิด และเปลีย่ นแปลงวธิ ีการทำงานทีส่ ร้างสรรค์และมีคณุ ภาพยิ่งขึน้ หัวใจหลักของ
แนวคิดการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน คือ ต้องมีการแบ่งปันความรู้ (Knowledge Sharing) โดยมีผลประโยชน์ร่วมกัน
(Mutual Benefit) มีความไว้วางใจทั้งตนเองและผู้อื่น (Trust) และมีการเรียนรู้ (Learning) (วรางคณา จันทร์คง,
๒๕๕๗)

๕.๒.๓ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่

ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกจิ เพอื่ ให้กา้ วทันตอ่ โลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมี
เหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการ
เปลี่ยนแปลงท้งั ภายในภายนอก

๕.๒.๔ การจัดการเรยี นแบบเชงิ รกุ (Active Learning)
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) คือการเรียนที่เน้นให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับการเรียนการ

สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดขั้นสูง (Higher-Order Thinking) ด้วยการวิเคราะห์ ประเมินค่า และ
สร้างสรรค์ ไม่เพยี งแต่เป็นผู้ฟัง ผูเ้ รียนตอ้ งอา่ น เขยี น ต้งั คำถาม และถาม อภิปรายร่วมกัน ผู้เรียนลงมือปฏิบัติจริงโดย
ต้องคำนงึ ถึงความรู้เดมิ และความตอ้ งการของผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ ท้งั นีผ้ ู้เรยี นจะถกู เปลย่ี นบทบาทจากเป็นผ้รู บั ความรู้ไปสู่
การมสี ว่ นร่วมในการสร้างความรู้ ลกั ษณะกิจกรรมที่เป็นการเรียนรูเ้ ชิงรุก (Active Learning) ๑) กระบวนการเรียนรู้ที่
ลดบทบาทการสอนและการให้ความรโู้ ดยตรงของครูแต่เปดิ โอกาสให้ผู้เรียนมสี ่วนร่วมสร้างองคค์ วามรู้และจัดระบบการ

๑๑

เรียนรู้ด้วยตนเอง ๒) กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนให้นำความรู้ความเข้าใจไปประยุกต์ใช้สามารถวิเคราะห์
สังเคราะห์ ประเมนิ ค่า คดิ สร้างสรรคส์ ่งิ ต่าง ๆ พัฒนาทกั ษะกระบวนการคิดไปส่รู ะดบั ทีส่ ูงขึน้ ๓) กจิ กรรมเช่ือมโยงกับ
นักเรียนกับสิ่งใกล้ตัว ปัญหาของชุมชน สังคม หรือประเทศชาติ ๔) กิจกรรมเป็นการนำความรู้ที่ได้ไปใช้แก้ปัญหาใหม่
หรอื ใช้ในสถานการณ์ใหม่ ๕) กจิ กรรมเนน้ ให้ผเู้ รยี นได้ใช้ความคิดของตนเองอย่างมีเหตุมีผล เชน่ อภปิ รายและนำเสนอ
ผลงาน ๖) กจิ กรรมเน้นการมปี ฏิสัมพันธก์ นั ระหว่างผู้เรียนกบั ผสู้ อน หรือระหวา่ งผู้เรียนด้วยกัน

๕.๒.๕ กระบวนการเรียนรู้ท่ใี ช้คำถามเปน็ ฐาน
กระบวนการเรียนรู้แบบใช้คำถามเป็นฐาน (Question-Based Learning : QBL) มีแนวคิดเป็น

กระบวนการเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนากระบวนการทางความคิดของผู้เรียน โดยผู้สอนจะป้อนคำถามในลักษณะต่าง ๆ ที่เป็น
คำถามที่ดี สามารถพัฒนาความคิดผู้เรียน ถามเพื่อให้ผู้เรียนใช้ความคิดเชิงเหตุผล วิเคราะห์ วิจารณ์ สังเคราะห์ หรือ
การประเมินค่าเพื่อจะตอบคำถามเหล่านั้น การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้คำถามมีขั้นตอนสำคัญดังต่อไปนี้ ๑) ขั้น
วางแผนการใชค้ ำถาม ผสู้ อนควรจะมีการวางแผนไว้ลว่ งหน้าวา่ จะใช้คำถามเพ่ือวตั ถุประสงค์ใด รปู แบบหรอื ประการใด
ทีจ่ ะสอดคล้องกบั เน้ือหาสาระและวตั ถปุ ระสงค์ของบทเรียน ๒) ขน้ั เตรยี มคำถาม ผู้สอนควรจะเตรียมคำถามท่ีจะใช้ใน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดย การสร้างคำถามอย่างมีหลักเกณฑ์ ๓) ขั้นการใช้คำถาม ผู้สอนสามารถจะใช้คำถามใน
ทุกขั้นตอนของการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้และอาจจะสร้างคำถามใหม่ที่นอกเหนือจากคำถามที่เตรียมไวก้ ็ได้ ทั้งนี้ต้อง
เหมาะสมกับเนอ้ื หาสาระและสถานการณน์ ้ัน ๆ ๔) ขัน้ สรุปและประเมินผล

๕.๒.๕ กรอบแนวคดิ ในการพัฒนา

วางแผน (PLAN : P) วเิ คราะหป์ ญั หาเพือ่ เขา้ ใจผู้เรยี น (Empathy : E)
สรา้ งทมี กำหนดกลุ่มเป้าหมาย กำหนดปฏทิ ิน กำหนดปัญหา ศกึ ษาวเิ คราะหส์ าเหตปุ ัญหา ศึกษาแนวคิด

รปู แบบการจดั การเรยี นรทู้ ใ่ี ชค้ ำถามเปน็ ฐานที่ยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงดว้ ยรปู แบบ IDPRS model

กระบวนการออกแบบบทเรยี นรว่ มกนั จำนวน ๓ วงรอบ ผู้เรียนมีทกั ษะการคิด
(Lesson Study ๔DR) วิเคราะห์ ทักษะการคดิ
สรา้ งสรรค์ และ ทักษะการ
ขน้ั ตอนการคน้ หาวธิ ีการ/สือ่ /เทคนิคการสอน (Discover : D๑) คิดอยา่ งมีวิจารณญาณ
สูงขึ้น
ครผู ู้สอนแผนการจัดการเรยี นรเู้ สนอกลุม่ PLC (Design : D๒)

สมาชกิ PLC พจิ ารณาแผนฯและเสนอแนะ (Develop : D๓)

นำแผนไปใชใ้ นช้ันเรียนและร่วมสงั เกตการณส์ อน (Deliver : D๔)

สะท้อนผล (Reflect : R)

๑๒

๕.๓ ข้นั ตอนการดาํ เนินงานพัฒนา
๕.๓.๑ ข้ันเตรียมการ (Plan)
๑) ประชมุ ชแ้ี จง ใหค้ วามรู้ คณะครู และรว่ มอภปิ รายถงึ วัตถปุ ระสงคแ์ ละคุณค่าของการสรา้ งชุมชนการ

เรยี นรทู้ างวชิ าชพี ครู โดยเนน้ การเรียนรู้ของนกั เรียนเปน็ หวั ใจสำคัญ มุ่งเน้นการพัฒนาการเรยี นรู้ของบคุ คลและองคก์ ร
๒) ศึกษาวิเคราะห์สภาพการดำเนินงานของโรงเรียนเทพอุดมวิทยา วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส

อปุ สรรค ของโรงเรียน เพอื่ กำหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย และพนั ธกิจท่ีสอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนอย่างแท้จริงและ
เป็นที่ยอมรับจากทุกฝา่ ยอนั จะนำสู่การร่วมแรงร่วมใจกนั ในการปฏบิ ตั ิงาน

๓) สังเคราะห์สร้างแนวปฏิบัติเพื่อเป็นรูปแบบการดำเนินงานที่เหมาะสมเพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมาย
และวัตถุประสงค์ที่วางไว้ คือ การยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนรู้ อันจะส่งผลให้ผู้เรียนมีการพัฒนาทักษะคิด
วิเคราะห์ คิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และคิดสร้างสรรค์ เพ่ิมข้นึ อย่างมีประสทิ ธิภาพและเข้าใจได้ง่าย

๔) ประสานขอความอนุเคราะห์ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อทำหน้าที่ให้คำปรึกษาชี้แนะแนวทางในการดำเนิน
กิจกรรม และการหาคุณภาพของนวัตกรรมที่สร้างขึ้น ผ่านบทบาทของผู้เชี่ยวชาญ (Expert) ตามกระบวนการชุมชน
การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (PLC) ต้ังแต่ ปี พ.ศ.๒๕๕๘ อยา่ งตอ่ เน่อื ง ผเู้ ชยี่ วชาญประกอบดว้ ย

๔.๑) ผศ.ดร.อำนวย วัฒนกรสิริ อาจารย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุรนิ ทร์

๔.๒) ผศ.ดร.พานชยั เกษฎา อดีต อาจารยค์ ณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฎั สรุ ินทร์
๔.๓) นายวัชรา สามาลย์ ผอ.กลมุ่ นิเทศตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สพม.สุรนิ ทร์
๔.๔) ดร.ชัยสทิ ธิ์ คุณสวสั ด์ิ ศึกษานเิ ทศก์ สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษาสรุ ินทร์
๔.๕) ดร.รวชิ ญุฒม์ ทองแม้น ศกึ ษานิเทศก์ สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษาสรุ นิ ทร์
๕) สร้างทีมในชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) ซึ่งประกอบด้วยบทบาท ครูผู้สอน (Model teacher) ครู
เพื่อนร่วมเรียนรู้ (Buddy teacher) ครูพี่เลี้ยง (Mentor) ผู้เชี่ยวชาญ (Expert) และ ผู้บริหารสถานศึกษา
(Administrator) โรงเรียนได้จัดให้มีการจัดตั้งโดยคำนึงถึงความเหมาะสม ในแต่ละกลุ่มมีการสลับบทบาทให้ทุกคนได้
เป็น ครูผู้สอน (Model teacher) และเพื่อให้การดำเนินการของชุมชนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ แต่ละกลุ่มมี
คุณลกั ษณะสำคัญท่ที ำใหเ้ กดิ ชมุ ชนการเรียนรู้ทางวชิ าชพี อยา่ งสมบูรณ์ ๕ ประการ ดังนี้
๕.๑) Team คอื การมบี รรทัดฐานและค่านยิ มร่วมกนั
๕.๒) Empathize คอื การเอาใจใส่และรบั ผดิ ชอบตอ่ การเรยี นรขู้ องนักเรียน
๕.๓) Achievement คือ ความสำเร็จเกิดจากการค้นคว้า เรียนรู้และสะท้อนผลทางวิชาชีพ และ
การร่วมมือรวมพลังของครูในกลมุ่
๕.๔) Management คือ การบริหารจัดการ การสนับสนุน และความสัมพันธ์ของบุคลากร จะต้อง
แขง็ แกรง่ แตย่ ดื หยนุ่ ตามสถานการณ์ ใหเ้ กียรติกันแบบกัลยาณมิตร
๖) กำหนดปฏิทินดำเนนิ งาน (Schedule) จำนวน ๓ วงรอบ ต่อภาคเรียน

๑๓

๕.๓.๒ ขนั้ วเิ คราะหป์ ัญหาเพอ่ื เข้าใจผู้เรยี น (Empathy : E)
สมาชิก PLC ดำเนินร่วมวิเคราะห์ปัญหาด้านคุณภาพผู้เรียนเป็นปัญหาที่มีความเช่ือมโยงกับเป้าหมาย

การจัดการศึกษาอันจะเป็นเส้นทางสู่ความสำเร็จของการจัดการศึกษา เมื่อผู้เรียนได้รับการพัฒนา โดยมีองค์ประกอบ
ย่อย ตอ่ ไปน้ี

๑) กำหนดเปา้ หมาย กำหนดปญั หา (Define)
๒) วเิ คราะหส์ าเหตุ คิดหาวิธีแก้ไข (Analysis)
๓) ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหา เพื่อสังเคราะห์รูปแบบการจัดการเรียนรู้
รว่ มกัน
๔) กำหนดรูปแบบการจัดการเรียนที่เหมาะสมเพื่อทักษะการคิดของนักเรียน ในครั้งนี้โรงเรียนได้
กำหนดรูปแบบการสอน คอื รูปแบบการจดั การเรยี นรู้เพื่อทักษะการคดิ ของนักเรยี นผ่านกระบวนการเรียนรู้ท่ีใช้คำถาม
เป็นฐานท่ยี ึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้วยรูปแบบ IDPRS model โดยมีขน้ั การจดั การเรียนรู้ ดงั น้ี

๔.๑) ขั้น I: Inspiration คือ ขั้นสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ ทบทวนความรู้เดิมด้วย เกม
นำเสนอชิ้นงานเดิม คลิปวีดิโอ ข้อสอบ หรือ เชื่อมโยงไปหาความรู้ใหม่โดยใช้ ปรากฎการณ์/ข่าว/บทความ อาจจะใช้
คำถามเพื่อการเรียนรู้ (Question to learn) ว่า “อะไรจะเกิดขึ้นถ้า.... มีปรากฏการณ์อะไรเกิดขึ้นที่น่าสนใจ?” เรา
เกีย่ วข้องกับเรอื่ งน้นั อยา่ งไร เป็นต้น

๔.๒) ขั้น D: Define คือ ขั้นวิเคราะห์สถานการณ์ ครูผู้สอนกำหนดสถานการณ์/เรื่องราว ใช้
ตัวอย่างใช้คำถามเพื่อการเรียนรู้ (Question to learn) ชวนสังเกต สำรวจ นักเรียนเห็นอะไร? แล้วใช้คำถามเพื่อ
พฒั นาทกั ษะการคดิ เช่น อะไรคือสาเหตุของปญั หา ปญั หาใดสำคญั ทสี่ ุด ปัญหาใดแกไ้ ขได้ อะไรที่แก้ไม่ได้ จะทำอะไร
ให้ใหม่และแตกต่าง เรารู้อะไรแล้ว อะไรที่ยังไม่รู้ จะหาความรู้จากแหล่งใด จะรู้ได้อย่างไรว่าความรู้นั้นเชื่อถือได้ จะ
ออกแบบวิธีแก้ปัญหาอย่างไร วิธีการแก้ปัญหามีกี่วิธี วิธีการแก้ปัญหาใดเป็นไปได้มากที่สุด จะประเมินวิธีแก้ปัญหา
อย่างไร มีคุณธรรมเรื่องใดบา้ งที่เกี่ยวขอ้ ง ชิ้นงานนี้มีผลในมิติทางเศรษฐกิจ มิติทางสังคม มิติทางสิ่งแวดลอ้ ม และ มิติ
ทางวัฒนธรรมอยา่ งไรบ้าง เป็นตน้

๔.๓) ขัน้ P: Practice คือ ขั้นฝึกฝน ครผู ้สู อนใช้คำถามเพื่อการเรยี นรู้ โดยครผู ู้สอนควรใช้คำถาม
เพื่อการเรียนรู้ (Question to learn) ในขั้นนี้ เช่น ผลเป็นอย่างไร หลักฐาน คืออะไร จะนำผลไปปรับปรุงอย่างไร มี
ปญั หาอะไรเพิ่มเตมิ ข้ึนบา้ ง เลือกแกป้ ญั หาน้ันอย่างไร จะเลือกแกป้ ญั หาใดกอ่ น เป็นต้น

๔.๔) ขั้น R: Result คือ ขั้นผลลัพธ์จากการเรียนรู้ ครูผู้สอนควรใช้คำถามเพื่อการเรียนรู้
(Question to learn) เช่น การแก้ปัญหาเป็นไปตามที่วางแผน ไว้หรือไม่ วิธีการแก้มีจุดเด่น จุดด้อยอย่างไร จะ
ปรับปรุงอย่างไร ส่งิ ใดท่นี กั เรยี นควรเรียนรอู้ ะไรเพ่ิมเติม เปน็ ต้น

๔.๕) ขั้น S: Share คือ ขั้นเผยแพร่ผลงาน ครูผู้สอนใช้คำถามเพื่อการเรียนรู้ (Question to
learn) เช่น จะนำเสนอวิธีการแก้ปัญหาอย่างไรให้คนอื่นเข้าใจ ชิ้นงานมีคุณค่าต่อสังคมและผู้อื่นอย่างไร วิธีการ
แกป้ ญั หาสามารถนำไปทำซ้ำไดห้ รือไม่ ขอ้ เสนอแนะในการทำงานต่อไปมีอะไรบา้ ง นกั เรยี นได้เรียนรู้อะไรบ้าง นักเรียน

๑๔

มีปญั หาในการเรียนรู้ในคร้ังนอี้ ย่างไร นกั เรยี นอยากเรียนรู้อะไรเพ่มิ เตมิ นักเรยี นจะนำความรนู้ ้ีไปประยกุ ตใ์ ช้กับเรื่องใด
ในชวี ิตประจำวันไดบ้ า้ ง เป็นตน้

๕.๓.๓ ขั้นตอนการค้นหาวิธีการสอน (Discover : D๑)
๑) สมาชิกทีม PLC ร่วมกันศึกษาและวิเคราะห์ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ ผล

การเรียนรู้ จุดประสงค์การเรยี นรู้ของหนว่ ยการเรียนรู้ท่ี Model จะจดั การเรียนรู้
๒) สมาชิกทีม PLC รวมพลังศึกษาเทคนิคการสอน วิธีการสอน วิธีการจัดการเรียนรู้ ค้นคว้าสื่อการ

เรยี นรู้ แอปพลเิ คชนั ท่เี หมาะสมนำมาใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้เสนอแนะตอ่ Model teacher
๕.๓.๔ ข้นั ตอนออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ (Design : D๒)
Model teacher ออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่สอดคล้องตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด

จุดประสงค์การเรยี นรู้ ที่นำองค์ความรู้ด้านเทคนิคการสอน วิธีการสอน วิธีการจดั การเรียนรู้ ค้นคว้าสื่อการเรยี นรู้ สื่อ
ออนไลน์ แอปพลเิ คชัน ตามทที่ มี PLC ขา้ งตน้

๓) สมาชิก PLC พจิ ารณา ใหข้ ้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงอีกคร้ัง
๕.๓.๕ ขน้ั ตอนพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ (Develop : D๓)

Model teacher นำข้อเสนอแนะการจดั ทำแผนการจดั การเรียนร้จู าก สมาชกิ ทีม PLC มาปรับปรุง ให้
มคี วามสมบรู ณ์ สร้างสือ่ การส่ือการเรยี นรู้ เตรียมความพร้อมในการจัดการเรียนรู้ในชนั้ เรียน ตามทน่ี ัดหมายกับสมาชิก
PLC

๕.๓.๖ ขน้ั ตอนนำแผนไปใชใ้ นช้นั เรยี นและรว่ มสงั เกตการสอน (Deliver : D๔)
ในขั้นตอนนำแผนไปใช้ในชั้นเรียนและร่วมสังเกตการสอน สมาชิก PLC ร่วมสังเกตการจัดการเรียนรู้

ของ Model teacher ตามนดั หมาย โดยมหี ลักปฏิบัติ ดังน้ี
๑) การประชุมกอ่ นการสังเกตการสอน (Pre - Observation)
๒) การสังเกตการสอน (Observation)
๓) การประชมุ หลงั การสงั เกตการสอน (Post – Observation)

๕.๓.๗ ขน้ั ตอนสะทอ้ นผล (R : Reflect)
สมาชกิ ทีม PLC รว่ มสะท้อนผลการจดั การเรยี นรู้ โดยมอี งค์ประกอบต่อไปนี้
๑) สะท้อนความสำเร็จกับเป้าหมายและสังเคราะห์บทสรุปที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน (Open) สรุปถอด

บทเรียนเพื่อค้นหานวัตกรรมการแก้ปญั หา ทีส่ ามารถเป็นแนวปฏิบตั ิทีด่ ี (Best Practice) เพอ่ื ปรบั ใชต้ ่อไป
๒) สะท้อนปัญหาและอปุ สรรค ข้อควรปรับปรุง และส่งิ ทต่ี ้องพงึ ระวงั (Care)
๓) เผยแพร่ผลงานที่ดีควรรักษาไว้ให้มีต่อไปหรือนำไปพัฒนาต่อยอด (Share) การยกย่องชมเชย

ผลงานการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ที่ถูกค้นพบว่ามีผลงานการปฏิบัติที่ดี (Good Practice) หรือที่เป็นเลิศ (Best
Practice) มอบเกียรตบิ ัตรใหเ้ ป็นขวัญกำลังใจ

๑๕

๕.๔ ผลงานทีเ่ กิดขนึ้ จากการดาํ เนินงาน
๕.๔.๑ ผลงานทเี่ ปน็ ช้นิ งานนวัตกรรม
๑) ครูผู้สอนมีนวัตกรรมด้านกระบวนการ ในการจัดการเรียนการรู้ท่ีพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ คิด

อย่างมีวิจารณญาณ และคิดสร้างสรรค์ โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผ่านกลยุทธ์ IDPRS Model โดย มี
รูปแบบหลัก คือการใช้คำถามเพื่อการเรียนรู้ (Questions to learn) โดยคำถามจะมีความเชื่อมโยงกับองค์ประกอบ
ของหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ไดแ้ ก่ หลกั ความพอประมาณ หลักการมเี หตุผล หลักการมีภูมิคมุ้ กนั ทด่ี ี เงอื่ นไข
มคี วามรู้ เงอื่ นไขคณุ ธรรม และการคดิ วเิ คราะหถ์ งึ ความสัมพนั ธถ์ ึงมิติทางวตั ถุ มิติทางสงั คม มิติทางสิ่งแวดลอ้ มและ มิติ
ทางวัฒนธรรม กับเนื้อหาสาระของการเรียนการสอนของแต่ละรายวิชา แทรกอยู่ในแต่ละลำดับขั้นของกระบวนการ
จัดการเรียนรู้ทเ่ี ป็นระบบและชดั เจน เข้าใจง่าย

๒) ครูผู้สอนมีการนำแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เทคนิคการสอนด้วยรูปแบบการสอนแบบเชิงรุก (Active
Learning) เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และคิดสร้างสรรค์ แก่ผู้เรียน มากยิ่งขึ้น โดย
นำมาใช้ในแต่ละขั้นของการเรียนการสอนตาม รูปแบบการสอน IDPRS Model ที่เหมาะสมกับกิจกรรมเพื่อสร้างให้
หอ้ งเรยี นมคี วามเคลื่อนไหว (Classroom movement) ได้แก่ - เทคนคิ การสอนแบบ Think – Pair – Share เพ่ือฝึก
ให้เกิดกระบวนการคิดอย่างเป็นลำดับ - เทคนิค Group of ๔ เพื่อฝึกทักษะการทำงานเป็นกลุ่ม - เทคนิค Gallery
walk เพื่อฝึกทักษะการสื่อสารและการนำเสนอผลงาน - เทคนิคการทดสอบเพื่อวัดประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียน
(Formative assessment) โดยใช้ Game-Based Learning, เกมมิฟิเคชั่น (Gamification) การสอบแบบออนไลน์ -
เทคนิคการสะท้อนคิดของผู้เรียน โดยใช้รูปแบบ Exit ticket เพื่อให้ผู้เรียนได้สะท้อนการเรียนรู้นำไปสู่ทักษะชีวิตเป็น
คำถามที่ฝึกให้นักเรยี นรู้จักใช้ทกั ษะชวี ิต โครงสร้างคำถามประกอบด้วย R - Reflect (การสะท้อนกลับ) C - Connect
(การเช่อื มโยง) และ A - Apply (การปรับใช้)

๓) ครูผสู้ อนสามารถใช้ส่อื เทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ เพ่ือพัฒนาทักษะ
การคิดวเิ คราะห์ คิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ และคดิ สรา้ งสรรค์ แก่ผู้เรียนจนได้รับการยกย่องจากเพ่ือนครูและหน่วยงานท่ี
เกี่ยวข้อง

๕.๔.๒ ผลการใชน้ วัตกรรมทเี่ กดิ ขน้ึ กับผเู้ รยี น
๑) นักเรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และคิดสร้างสรรค์ดียิ่งขึ้น ชิ้นงานของ

ผเู้ รียน ทสี่ ะท้อนถึง การรวบรวมข้อมลู มาจัดระบบหรือเรียบเรียงให้ง่ายแก่การทำความเข้าใจ การนำเสนอข้อมูลที่แจก
แจงเสร็จแล้วในแตล่ ะหมวดหมู่มาจัดลำดับ การเปรียบเทียบขอ้ มลู ระหว่างหรือแตล่ ะหมวดหมู่ ความเป็นเหตุ – เป็นผล
ลำดับความต่อเนื่อง มีความคิดที่แปลกใหม่ คิดคล่อง รวดเร็ว มีทักษะการตั้งประเด็นปัญหา รวบรวมข้อมูล การ

๑๖

วิเคราะห์ข้อมูล การสังเคราะห์เป็นการแยกแยะว่าอะไรคือเหตุ และอะไรคือผล ส่วนใดน่าเชื่อถือส่วนใดควรตัดออก
และ การประเมินขอ้ มูลเปน็ การตดั สนิ ใจ ไดอ้ ย่างดี

๒) นักเรยี นมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นสูงขึ้น

ตาราง ๔ ตารางเปรยี บเทียบผลสอบ O-NET ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ – ๒๕๖๓

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ +/-
( ̅) SD ( ̅) SD ( ̅) SD ( ̅) SD
ภาษาไทย ๔๐.๒๙ ๑๔.๓๔ ๔๐.๘๘ ๘.๗๓ ๓๘.๕๐ ๙.๐๗ ๓๙.๘๗ ๑๑.๖๕ +๑.๓๗
๓๑.๔๕ ๖.๗๘ ๓๓.๘๕ ๖.๒๑ ๓๓.๔๕ ๗.๑๓ ๓๙.๔๙ ๖.๐๗ +๖.๐๔
สังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม ๑๙.๗๖ ๕.๓๕ ๒๓.๖๑ ๕.๓๐ ๒๑.๔๘ ๕.๗๔ ๒๓.๒๖ ๗.๓๓ +๑.๗๘
๑๕.๙๕ ๖.๙๖ ๒๑.๑๑ ๘.๔๔ ๑๙.๐๙ ๗.๓๓ ๑๘.๗๕ ๗.๙๕ -๐.๓๔
ภาษาอังกฤษ ๒๕.๑๔ ๗.๓๖ ๒๕.๖๙ ๕.๕๙ ๒๖.๐๙ ๘.๐๖ ๒๙.๐๗ ๗.๘๕ +๒.๙๘
คณติ ศาสตร์
วิทยาศาสตร์

ท่ีมา : งานทะเบยี น โรงเรยี นเทพอดุ มวิทยา (๒๕๖๔)

จากข้อมูลในตารางเมื่อเปรยี บเทียบผลการสอบ O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๖ ระหว่าง ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ และ
ปีการศึกษา ๒๕๖๓ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนการสอบเฉลี่ย สูงขึ้น คือ วิชาภาษาไทย วิชาสังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม วิชาภาษาอังกฤษ วิชาวิทยาศาสตร์ และ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนการสอบเฉลี่ย ลดลง
คอื วิชาคณิตศาสตร์

๓) สมรรถนะผู้เรียนจากการประเมิน ในภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ มีค่าเฉลี่ยรวม ๓.๓๓ อยู่
ในระดับ สามารถ และ คา่ เฉลยี่ สูงกวา่ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ (เอกสารอา้ งองิ หนา้ ๑๓ )

๑๗

๕.๔.๓ ผลการใช้นวตั กรรมทเ่ี กดิ ข้นึ กบั ครู
๑) ทำให้ครูเกดิ การพัฒนาการเรียนการสอนและการปฏิรปู การจดั กระบวนการเรียนรู้ ยกระดบั คุณภาพ

การศึกษาและเพ่ิมสมรรถนะในการทำงานของครูท่ีนำไปสู่ความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนคุณภาพการศึกษา
ในศตวรรษท่ี ๒๑ และคุณภาพการศกึ ษาของชาติ

๒) ครูผู้สอนได้โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้ท่ียึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งท่สี มบรู ณ์มากย่ิงขนึ้

๕.๔.๔ ผลการใชน้ วตั กรรมทเ่ี กิดขึน้ กบั ผู้บริหาร
ผู้บริหารและครูได้ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมพัฒนา ร่วม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้อย่างต่อเนือ่ ง มีเป้าหมายและ

ภารกิจ ร่วมกันในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ส่งผลตอ่ การพัฒนาวิชาชีพที่เข้มแข็งที่รวมพลังกันพฒั นาเพื่อกอ่ ให้เกดิ
ประโยชน์ สงู สุดต่อผู้เรยี น

๕.๔.๕ ผลการใช้นวัตกรรมที่เกิดขน้ึ กับชมุ ชน
๑) โรงเรียนได้พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีมีการปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม และมีคุณภาพสูงข้ึน

นักเรยี นมี มที กั ษะการคดิ วเิ คราะห์ คดิ สร้างสรรค์ และ คดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ สงู ขึ้น
๒) โรงเรียนเทพอุดมวิทยาได้รับคัดเลือกจากสำนักงานเลขาธิการคุรุสภารับรางวัลแนวปฏิบัติที่ดี ด้าน

ชุมชนแห่งการเรียนรู้(PLC) ประจำปี ๒๕๖๔

๕.๕ สรปุ สิ่งท่เี รยี นรแู้ ละการปรับปรงุ ใหด้ ขี ้ึน
๕.๕.๑ กระบวนการจดั การเรียนรเู้ พ่ือพฒั นาทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ และคิดสร้างสรรค์

โดยใช้คำถามเป็นฐานที่ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้วยรูปแบบ IDPRS model ด้วยกระบวนการชุมชนแห่ง
การเรยี นรู้ทางวิชาชีพและการพัฒนาบทเรยี นร่วมกัน ครไู ด้คน้ พบเทคนิคกระบวนการสอนทีเ่ ป็นรปู แบบเชงิ รุก (active
learning) มากย่งิ ขึ้น มีการนำเทคนิคการสอนทสี่ ร้างให้เกิดห้องเรียนทบ่ี รรยากาศท่สี นกุ สนานในหอ้ งเรยี น

๕.๕.๒ การใช้กระบวนการ PLC อย่างสม่ำเสมอ ช่วยให้ครูมวี สิ ยั ทัศนร์ ่วมกัน มุง่ สกู่ ารพฒั นาการเรียนการสอน
มุ่งเน้นที่การเรียนรู้ของนักเรียน สร้างวัฒนธรรมใหม่องค์กร การสร้างโอกาสเสวนาทางวิชาการระหว่างกันซ่ึงเป็นการ
นำเอาประเด็นปัญหาที่พบเห็น จากการปฏิบัติงานด้านการเรียนการสอนของครูแต่ละท่าน ขึ้นมาพูดคุยแลกเปลี่ยน
ระหว่างกัน ตามวันเวลาทีก่ ำหนดไว้ ช่วยให้แต่ละครผู ูส้ อนแต่คนได้วิเคราะห์และสะท้อนมุมมองของตนในประเดน็ น้ัน
ต่อกลุ่มเพ่ือนร่วมงานทำให้ทุกคนได้มีโอกาสเกิดการเรียนรู้ และได้ข้อสรุปต่อปัญหาจากหลากหลายมุมมอง ก่อให้เกิด
ความรว่ มมือร่วมใจ ลดความโดดเดีย่ วระหว่างปฏบิ ตั งิ านสอนของครู ให้ความช่วยเหลือเพื่อนด้วยกัน

๕.๕.๒ เรียนรถู้ ึงคณุ คา่ ประโยชน์ และความสำคัญตอ่ วชิ าชพี ครู
๑) ครูผู้สอนได้ปฏิบัติกิจกรรม การประชุมวางแผน จัดทำแผนปฏิบัติการการขับเคลื่อนกิจกรรมตาม

โครงการ ออกแบบ จัดทำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่จะใช้ในกิจกรรมตามโครงการ และร่วมอบรมความรู้ร่วมกัน

๑๘

สอดคล้องกับจรรยาบรรณต่อตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทาง
วิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ รัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพและเป็นสมาชิกที่ดี
ขององค์กรวิชาชีพ

๒) ครูผู้สอนไดป้ ฏิบัติกจิ กรรมการออกแบบและจัดทำแผนการจัดการเรียนรูท้ ีเ่ หมาะสมสอดคล้องตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สอดคล้องกับจรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ ที่ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา รัก
เมตตา เอาใจใส่ ชว่ ยเหลือ สง่ เสรมิ ใหก้ าํ ลงั ใจแก่ศษิ ย์ และผู้รับบริการ ตามบทบาทหนา้ ที่โดยเสมอภาค สง่ เสริมให้เกิด
การเรียนรู้ ทกั ษะ และนสิ ัย ท่ีถกู ต้องดีงามแก่ผู้เรียน

๓) ครูผู้สอนได้ปฏิบัติกิจกรรม การเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน การเยี่ยมห้องเรียน
และ การบันทึกข้อมูลกิจกรรม ซึ่งเป็นกิจกรรมที่สอดคล้องกับจรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ ที่พึงช่วยเหลือ
เก้ือกลู ซง่ึ กนั และกันอยา่ งสรา้ งสรรค์

๔) ครูผู้สอนได้ปฏิบัติกิจกรรมสะท้อนคิดหลังการจัดการเรียนรู้ และ การบันทึกข้อมูลกิจกรรม
สอดคล้องกับจรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ ที่พึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึดมั่นใน
ความสามคั คีในหมู่คณะ

๕) ครูผู้สอนได้ปฏิบัติกิจกรรม ออกแบบกิจกรรมและจัดการเรียนรู้ที่น้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงมาใช้เพือ่ การพัฒนาทักษะการคดิ วิเคราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และคิดสร้างสรรค์แก่ผู้เรยี น สอดคล้องกบั
จรรยาบรรณต่อสังคมผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นําในการอนุรักษ์และพัฒนา
เศรษฐกจิ สงั คม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญา สิง่ แวดล้อม รักษาผลประโยชนข์ องสว่ นรวม

๕.๖ การขยายผลและเผยแพรผ่ ลการพฒั นา
๕.๖.๑ คณะครูนำเสนอผลงานนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี

วจิ ารณญาณ และคิดสรา้ งสรรค์ โดยใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผ่านกลยุทธ์ IDPRS Model ในงานมหกรรม
แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ ของสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ จังหวดั สุรนิ ทร์

๕.๖.๒ ร่วมนำเสนอผลงาน นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี
วิจารณญาณ และคิดสร้างสรรค์ โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผ่านกลยุทธ์ IDPRS Model ในการสร้าง
เครือยข่ายศูนย์การเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนสังขะ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต ๓๓

๕.๖.๓ โรงเรยี นได้เผยแพร่การดำเนินงานทีเ่ ว็บไซต์ ท่ี https://bit.ly/35KPIvX
๕.๖.๔ คณะครูได้เผยแพร่ขั้นตอนการเปิดชั้นเรียนของตนเองผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เช่น YouTube,
facebook เป็นต้น

๖. ข้อเสนอแนะและแนวทางการพัฒนาอย่างต่อเนอ่ื ง
๖.๑ การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ตา่ งโรงเรียนที่มีบรบิ ทเหมือนกนั ให้มากยิ่งข้นึ เพอ่ื การเรียนรู้ตลอดชีวิตมีส่วนร่วม

ของบุคคล องค์กรและชุมชนในการตระหนักถึงปัญหาและการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการสร้างเสริม

๑๙

ประสบการณ์ การถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารซึ่งกันและกัน จนทำให้เกิดการเรียนรู้ หรือ ประสานการใช้ทรัพยากรร่วมกัน
เพ่ือการพฒั นาและลดความซำ้ ซ้อน สญู เปล่าให้มากท่ีสดุ

๖.๒ ดำเนินการวิจัยและพัฒนารูปแบบการสอน เพื่อการค้นพบ พัฒนา และ ยืนยันข้อค้นพบ รวมทั้งวิธีการใหม่ๆ
วา่ สามารถนำมาใช้จดั การเรยี นการสอนได้จรงิ หรือไม่ และ เพ่ือเป็นหลักฐานเอกสารรอ่ งรอยในการศึกษาต่อไป

๖.๒ ผ้บู รหิ ารและผูท้ ่ีเก่ียวข้อง ตอ้ งสนับสนุน ให้กำลงั ใจ ครูผู้สอนอยา่ งสมำ่ เสมอ ต้องแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์
ของการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอน นั้นมีความสัมพันธ์กับความก้าวหน้าและมั่นคงทาง
วชิ าชีพของครผู ้สู อนอย่างไร อนั จะนำไปสู่การมีแรงจูงใจภายในท่ีดีในการดำเนนิ งาน

๖.๓ สร้างกระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ทจี่ ะช่วยใหเ้ กิดพัฒนาการของความรู้ หรอื การ
จัดการความรู้ที่จะเกิดขึ้นภายในองค์กร และ นำเทคโนโลยีมาพัฒนาเทคนิคการสอนในชั้นเรียนเพื่อความสะดวก
รวดเร็ว ระบบการปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีระเบียบมากขึ้นกว่าเดิม ลดภาระงานที่ซ้ำซ้อนของครู โดยใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ เชน่ เว็บไซต์ ส่อื เครือขา่ ยสังคมออนไลน์

๗. จุดเดน่ หรือลักษณะพิเศษของผลงานนวัตกรรม
๗.๑ เป็นนวัตกรรมที่สังเคราะห์ขึ้น โดยอาศัยแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนการสอน ภายใต้

บริบทและสภาพของโรงเรียนเทพอุดมวิทยา มีรายละเอียดที่ โดยมีผู้เชี่ยวชาญที่มีคุณวุฒิสูงมาช่วยให้คำแนะนำ
คำปรึกษา ในการดำเนินการในแต่ละวงรอบ อย่างต่อเนื่อง จนเกิดเป็นนวัตกรรมที่เหมาะสมเพื่อใช้ในการจัดการเรียน
การสอนไดท้ กุ สาระวชิ า ของโรงเรยี นเทพอุดมวิทยา

๗.๒ กระบวนการดำเนินการทช่ี ัดเจน ครผู สู้ อนสามารถวางแผนออกแบบการเรยี นจัดการเรยี นการสอนได้อย่างเป็น
ระบบตามขั้นตอนหลัก คือ PE๔DR : Plan Empathy Discovery Design Develop Deliver และ Reflect และ การ
ใช้คำถามเพื่อการเรียนรู้ (Questions to learn) โดยคำถามจะมีความเชื่อมโยงกับองค์ประกอบของหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่ หลักความพอประมาณ หลักการมีเหตุผล หลักการมีภูมิคุ้มกันที่ดี เงื่อนไขมีความรู้ เงื่อนไข
คุณธรรม และการคิดวิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ถึงมิติทางวตั ถุ มิติทางสังคม มิติทางสิ่งแวดล้อมและ มิติทางวัฒนธรรม
กับเนอ้ื หาสาระของการเรียนการสอนของแต่ละรายวิชา แทรกอยู่ในแต่ละลำดบั ขน้ั ของกระบวนการจดั การเรียนรู้ท่ีเป็น
ระบบ ชัดเจน เข้าใจงา่ ย

๗.๓ มีการนำเทคนิคการสอนที่หลากหลาย เน้นรูปแบบการสอนแบบเชิงรุก Active learning มาใช้ในแต่ละข้ันของ
การเรยี นการสอนตาม รปู แบบการสอน IDPRS Model ท่ีเหมาะสมกบั กจิ กรรมเพ่ือสร้างให้ห้องเรียนมีความเคลื่อนไหว
(Classroom movement) ได้แก่ เทคนิคการสอนแบบ Think – Pair – Share เทคนิคการสอนแบบ Group of ๔
เทคนิคการสอนแบบ Gallery walk เทคนิคการทดสอบเพื่อวัดประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียน ( Formative
assessment) เทคนิคการสะท้อนคิดของผู้เรียน โดยใช้รูปแบบ Exit ticket เพื่อให้ผู้เรียนได้สะท้อนการเรียนรู้นำไปสู่
ทกั ษะชวี ิตเปน็ คำถามทฝ่ี ึกให้นกั เรยี นรู้จักใชท้ กั ษะชีวติ เป็นต้น

๗.๔ สอดคล้องกับการพัฒนาทักษะที่จำเป็น ในศตวรรษที่ ๒๑ ของผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ ๒๑ (๓Rs๘Cs) ภายใตว้ ิสัยทัศนข์ องแผนการศึกษาแห่งชาติ “คนไทยทกุ คนไดร้ ับการศึกษาและเรียนรู้ตลอด
ชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิตอยา่ งเป็นสขุ สอดคล้องกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการเปลีย่ นแปลงของ
โลกศตวรรษท่ี ๒๑”

๒๐

๗.๔ มีการขยายผลและการสร้างเครอื ขา่ ยเพื่อพฒั นาวิชาชีพ
๗.๔.๑ คณะครูนำเสนอผลงานนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี

วจิ ารณญาณ และคดิ สรา้ งสรรค์ โดยใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ผ่านกลยุทธ์ IDPRS Model ในงานมหกรรม
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามัธยมศึกษาสุรนิ ทร์

๗.๕.๒ โรงเรียนได้สร้างเครือข่ายขยายผล ด้านกระบวน PLC ร่วมกับหน่วยงาน สถานศึกษาอื่นอย่างต่อเนื่อง
รวมทั้งบุคลากรของโรงเรียน ได้เป็นผู้เชี่ยวชาญร่วมทำงานในการการวิจัยเพื่อพัฒนากระบวนการ PLC และการ
ออกแบบบทเรียนร่วมกัน อย่างต่อเนอื่ ง

๗.๕ รางวัลท่ีเคยไดร้ บั
๗.๕.๑ รางวลั ทนี่ กั เรียนไดร้ บั
๑) นักเรียน ได้รับรางวัลเหรียญเงิน กิจกรรมการประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์

ระดับชน้ั ม.๑ – ๓ งานศลิ ปหตั ถกรรมระดบั ชาติ ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖๒
๒) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้รับรางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับ ๑ กิจกรรม การ

ประกวดโครงงานคอมพวิ เตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ ระดบั ช้ัน ม.๔ – ๖ งานศลิ ปหัตถกรรมระดับชาติ ประจำปีการศึกษา
๒๕๖๒

๓) นักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาตอนตน้ ไดร้ บั รางวลั เหรยี ญเงนิ กิจกรรม การประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทซอฟตแ์ วร์ ระดับช้ัน ม.๔ – ๖ งานศิลปหตั ถกรรมระดบั ชาติ ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๒

๔) นางสาวสุจริตรา ทองทา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ได้รับรางวัลเหรียญทอง กิจกรรมการ
ประกวดร้องเพลงไทยลูกทุ่ง ประเภทบทพร่องทางการมองเห็น ระดับชั้นม ม.๔ - ๖ ในงานศิลปหัตถกรรมระดับชาติ
ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๒

๕) เดก็ ชายจีรวฒั น์ ปดั ภัย นักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ได้รบั รางวัลเหรียญทอง การประกวดการร้อง
เพลงสากล ประเภทชาย ระดบั ชน้ั ม ม.๑ - ๓ ในงานศิลปะหตั ถกรรมระดบั ชาติ ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒

๖) นายพลกฤต อนงค์ชัย และ นายอภิเทพ เอี่ยมสะอาด นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๕ ผ่านเข้ารอบ
คัดเลือกระดับประเทศ การประกวดแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ “OBEC HACKATHON” โดย สพฐ. ปีการศึกษา
๒๕๖๒

๒๑

๗) นายพลกฤต อนงค์ชัย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ นักเรียนผ่านการคัดเลือกรับทุนสนับสนุน
โครงงาน ตามโครงการค่ายวิทยาศาสตร์ ตามโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพและเทคโนโลยีสำหรับเด็กและเยาวชน
สำนกั งานพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี ห่งชาติ(สวทช.)

๘) นายพลกฤต อนงค์ชัย และ นางสาวลลินธร ชาติสันติกุล นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ได้รับ
รางวัลคุณภาพระดับเหรียญเงิน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ในการประกวดการนำเสนอผลงานที่เกิดจากการเรียนตาม
แนวสะเตม็ ศึกษา (STEM Education) ปีการศึกษา ๒๕๖๓

๙) นักเรียนได้รับรางวัล คุณภาพยอดเยี่ยม อันดับ ๑ การประกวดผลงานจากการเรียนรู้สะเต็มศึกษา
ระดับเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสุรนิ ทร์

๑๐) นักเรียน ได้รับรางวัล รองชนะเลิศอันดับ ๒ การนำเสนอโครงงาน การประยุกต์และบูรณาการ
ระบบการเรียนรู้เชิงลึกบน CiRA CORE โครงการ Kammalasai AI Robotics Thailand Championship ให้ไว้ ณ
วันท่ี ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕

๗.๕.๒ รางวลั ทคี่ รไู ด้รับ
๑) คณะครูผู้สอนของโรงเรียนเทพอุดมวิทยา ได้รับรางวัล ระดับเหรียญทอง การนำเสนอผลงาน สื่อ/

นวัตกรรมเพอ่ื การเรยี นการสอน Best Practice (วธิ ปี ฏิบัติทีเ่ ป็นเลิศ) ในแตล่ ะกล่มุ สาระต่างๆ ในงาน มหกรรมวชิ าการ
มัธยมศึกษา สพม.๓๓ (สุรินทร์) ปีการศึกษา ๒๕๖๓ จำนวน ๑๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๕.๐๐ ของจำนวนครูผู้สอน
ท้ังหมด

๒) คณะครูของโรงเรยี นเทพอดุ มวิทยา ได้รับรางวลั Smart Teacher ของสำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา
มัธยมศึกษา เขต ๓๓ ประจำภาคเรียนท่ี ๑/๒๕๖๓ จำนวน ๒๑ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐ ของจำนวนครผู ้สู อนทงั้ หมด

๓) คณะครไู ดร้ ับรางวัล ครสู อนดี ประจำปี ๒๕๖๓ ในระดบั สหวทิ ยาเขต จำนวน ๕ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ
๒๕ ของจำนวนครผู ูส้ อนท้งั หมด

๔) นายนรินทร์ อนงค์ชัย ได้รับรางวัลชนะเลิศ Best Practice การจัดการเรียนการสอนวิทยาการ
คำนวณ (Coding) ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๔ ระดบั สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสุรนิ ทร์

๕) นายปิยะพงษ์ พรหมบุตร ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ Best Practice การจัดการเรียนการ
สอนวทิ ยาการคำนวณ (Coding) ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๔ ระดับสำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษาสรุ ินทร์

๖) นายนรินทร์ อนงค์ชัย ตำแหน่ง ครู ได้รับรางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั ท่ี ๑ เหรยี ญรางวลั ครูดีในดวงใจ
ระดับเขตพื้นที่การศึกษา (มัธยมศึกษาตอนต้น) จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์ให้ ไว้ ณ วันที่ ๑
พฤศจิกายน ๒๕๖๔

๗) ครู ได้รับคัดเลือกเป็นครูสอนดี (SMART TEACHER) ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ผ่าน
กระบวนการนิเทศภายในโดยใช้กระบวนการเปิดชั้นเรียน (Lesson Study) ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มธั ยมศกึ ษาสุรนิ ทร์ จำนวน ๗ คน

๒๒

๘) ครูได้รับรางวัลเป็นครูผู้สอนดีเด่นในการนำเทคโนโลยีดิจิทัล มาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการ
สอนผ่านกระบวนการนิเทศชัน้ เรยี นด้วยระบบออนไลน์ ระดับสำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษาสุรินทร์ จำนวน
๗ คน

๗.๕.๓ รางวลั ท่ีสถานศกึ ษาได้รับ
๑) โรงเรียนเทพอุดมวิทยา ได้รับรางวัล ชนะเลิศ การประกวด นวัตกรรม/วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ

(Best Practice) ด้านโรงเรียนท่ีส่งเสริมการจัดการศึกษาทางไกล (DLIT/DLTV) ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๓ โดย
สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๓๓

๒) โรงเรยี นเทพอดุ มวิทยา ได้รับรางวัล รองชนะเลิศ อนั ดบั ๑ การประกวด นวัตกรรม/วิธีการปฏิบัติที่
เป็นเลิศ (Best Practice) ด้านโรงเรียนที่ใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC – LS) ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๓
โดย สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๓๓

๓) เครือข่ายโรงเรียนเทพอดุ มวิทยา ได้รับรางวัลนวัตกรรม PLC best practice การยกระดับคุณภาพ
การจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาแบบองคร์ วม หรือ T-SIP: Thailand School Improvement Program ในกิจกรรม
วันครอู อนไลน์ ประจำปี ๒๕๖๔ โดยครุ สุ ภา

๔) โรงเรียนเทพอุดมวิทยา ได้รับรางวัล รองชนะเลิศอันดับ ๑ ในการประกวดการนำเสนอผลงาน
โครงงานแคมป์ออนไลน์ “วิทยาการคำนวณและทักษะโค้ดดิ้ง” จากมหาวิทยาลัยราชภฎั สุรินทร์ จัดระหว่างวันที่ ๓๑
กรกฎาคม -๒ สิงหาคม ๒๕๖๔

๕) โรงเรียนเทพอุดมวิทยา ได้รับรางวัลอันดับที่ ๔ จากการประกวดการคัดเลือกโรงเรียนที่ประสบ
ผลสำเรจ็ การวจิ ยั และพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ Active Learning ร่วมกบั ภาคเี ครอื ขา่ ย ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔
สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสุรินทร์ ลงวนั ที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔

๖) โรงเรียนเทพอุดมวิทยา ได้รับรางวัลระดับเหรียญเงิน จากการคัดสรรผลงานหนึ่งโรงเรียน หน่ึง
นวตั กรรม ประจำปี ๒๕๖๔ ระดับภมู ิภาค เรื่อง “กระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคดิ วเิ คราะห์ คิดอย่าง
มีวิจารณญาณ และคิดสร้างสรรค์ โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้วยรูปแบบ IDPRS Model ผ่านกระบวนการ
ชุมชนแห่งการเรยี นร้ทู างวิชาชีพ” จากสำนกั เลขาธิการครุ ุสภา ใหไ้ ว้ ณ วนั ท่ี ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๔

๗) โรงเรียนเทพอุดมวิทยา ได้รับรางวัลลำดับที่ ๒ ประเภทโรงเรียนขนาดเล็ก จากการคัดเลือก
สถานศึกษารางวัลระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรียน ประจำปี ๒๕๖๔ ระดับสหวิทยาเขต ๘ ศรีนครอัจจะ ประกาศ ณ วันท่ี
๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔

๘) ชนะเลิศ ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม การประกวดคัดเลือกนวัตกรรม/วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best
Practice) ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ ประเภท การพัฒนากระบวนการนิเทศภายในโดยใช้กระบวนการ ชุมชนแห่งการ
เรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) และการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (Lesson Study)
ระดบั สพม.สรุ นิ ทร์

๒๓

๘. บรรณานุกรม
Analysis thinking. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก : http://tishafan-analysisthinking.blogspot.com/p/blog-
page.html. [สบื คน้ เมอื่ วันท่ี ๒๐ มกราคม ๒๕๖๒]
“กระบวนการจดั การความรู.้ [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://sites.google.com/view/education-km.
[สบื ค้นเมอ่ื วันที่ ๒๐ สงิ หาคม ๒๕๖๑]
“ความหมายและความสำคญั ในการนำ ICT มาใชใ้ นการเรียนร้”ู . [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก : https://seesacaps.
wordpress.com/. [สบื ค้นเมื่อวนั ที่ ๒๐ สงิ หาคม ๒๕๖๑]
“ค่มู ือการจดั การเรยี นการสอนทเี่ น้นผ้เู รียนเป็นสำคัญ”. [ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก : http://acad.vru.ac.th/pdf-
handbook/Hand_Teacher_๕๗.pdf [สบื ค้นเมื่อวันท่ี ๑๗ มถิ ุนายน ๒๕๖๑].
“ทฤษฎีความพึงพอใจ”. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก : http://thongkred๙๙.blogspot.com/๒๐๑๓/๐๗/blog-
post_๑๒๘๙.html. [สืบคน้ เม่อื วันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๖๓]
“วจิ ารณญาณและการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ”. [ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก : https://www.winnews.tv/news/
๑๔๖๒๒. [สบื คน้ เม่อื วันท่ี ๖ พฤษภาคม ๒๕๖๓]
“วิชาความคิดสร้างสรรค์”. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก : https://sites.google.com/site/pmtech๒๓๐๑๑๐๐๓/
laksna-khwam-khid-srangsrrkh. [สืบคน้ เมอื่ วันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๑]
ดร.พนู ภทั รา พูลผล ผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ ควรเป็นอยา่ งไร. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก :
https://new.plearnpattana.ac.th/. [สืบค้นเมอ่ื วันท่ี ๒๐ มกราคม ๒๕๖๒]
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ กลน่ิ กุหลาบ. “เครือข่ายการเรียนร้”ู . [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก :
https://sites.google.com/site/supoldee/kherux-khay-kar-reiyn-ru [สืบคน้ เมอ่ื วนั ท่ี ๖ มกราคม
๒๕๖๑๑]
โรงเรยี นวดั พระพเิ รนทร.์ “นักเรยี นยคุ ใหม่กบั การเรยี นรใู้ นศตวรรษที่๒๑” [ออนไลน์] . เข้าถึงไดจ้ าก :
http://www.wppr.ac.th/ [สืบคน้ เมือ่ วนั ท่ี ๒๐ มกราคม ๒๕๖๒]
ศนู ยส์ ถานศึกษาพอเพยี ง มลู นธิ ยิ ุวสถริ คุณ. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก : www.sufficiencyeconomy.org [สบื ค้น
เมอื่ วันที่ ๑๗ มิถนุ ายน ๒๕๖๑]
สำนกั งานเขาธิการสภาการศึกษา. (๒๕๖๐). แผนการศกึ ษาแห่งชาติ (พิมพ์ครง้ั ที่ ๑) กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์พรกิ หวาน
กราฟฟคิ จำกัด
สำนักงานเลขาธิการครุ ุสภา. “หนึ่งโรงเรยี นหนึง่ นวัตกรรม”. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก : http://www.ksp.or.th.
[สืบคน้ เมอื่ วนั ท่ี ๖ มกราคม ๒๕๖๔]
สำนกั สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ. “ยทุ ธศาสตรช์ าต”ิ . [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก :
http://nscr.nesdc.go.th/ [สบื คน้ เมื่อวนั ท่ี ๒๐ มกราคม ๒๕๖๑]
สุคนธ์ สินธพานนท์, วรรัตน์ วรรณเลิศ, และพรรณี สนิ ธพานนท์. (๒๕๕๒). พัฒนาทักษะการคิด-พิชติ การสอน
(พิมพค์ รง้ั ท่ี ๔). กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย

๒๔

แบบ นร. ๒
แบบนำเสนอผลงานหนึง่ โรงเรียน หน่งึ นวตั กรรม
(กรณีผลงานท่ีส่งเปน็ การพัฒนาเพ่มิ เตมิ หรือตอ่ ยอดนวัตกรรมจากผลงานเดมิ )

๑. ชอ่ื ผลงานใหม่ (กรณีเปลี่ยนชอ่ื จากผลงานเดิม) การพัฒนากระบวนการจัดการเรยี นรเู้ พือ่ ทกั ษะการคดิ ของนักเรียน

ผ่านกระบวนการเรียนรู้ท่ใี ช้คำถามเป็นฐานทยี่ ึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดว้ ยรูปแบบ IDPRS model ผา่ น

กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชพี และการพัฒนาบทเรียนร่วมกนั

๒. ชอ่ื ผลงานเดมิ กระบวนการจดั การเรียนร้เู พื่อพัฒนาทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ และคิด

สรา้ งสรรค์ โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดว้ ยรูปแบบ IDPRS Model ผ่านกระบวนการชุมชนแห่งการ

เรียนรู้ทางวชิ าชีพ

๓. ปีทไี่ ด้รบั รางวลั (กรณีได้รับรางวลั หลายปีให้ระบปุ ีล่าสดุ )
๔. รางวัลทไ่ี ดร้ ับ เหรยี ญทอง ✓เหรยี ญเงนิ เหรยี ญทองแดง

๕. ผลงานระดบั ประเทศ ✓ภมู ภิ าค

๖. ประเภทผลงานนวัตกรรม (ผลงานเดมิ ) การบริหารและจัดการสถานศึกษา
✓การจดั กระบวนการเรยี นรู้

การจดั การเรยี นรู้ การส่งเสริมและพัฒนาผ้เู รียนใหเ้ ต็มศักยภาพ

สิง่ ประดษิ ฐ์ และส่ือ จิตวทิ ยา

เทคโนโลยกี ารศกึ ษา และ Digital For Learning หลกั สตู ร

เทคโนโลยกี ารศึกษา แหล่งเรยี นรู้

ดจิ ติ ลั เพอ่ื การเรยี นรู้ การวดั และประเมินผล

สอื่ และเทคโนโลยีเพอื่ การเรียนรู้ อ่ืน ๆ ............................................................

๗. สรุปสาระสำคญั เปรยี บเทยี บความแตกตา่ งระหว่างผลงานเดมิ กับผลงานใหม่ ผลงานใหม่
ผลงานเดมิ

๑. กรอบ
แนวคิด

๒๕

ผลงานเดิม ผลงานใหม่

๒. ขัน้ ตอน การ ๑. ขน้ั Inspiration คือ ขน้ั สร้างแรงบนั ดาลใจใน ๑. ข้ันเตรยี มการ (Plan : P)

พฒั นา การ ๒. ขน้ั วเิ คราะหป์ ัญหาเพ่ือเข้าใจผู้เรียน (Empathy :

๒. ขั้น Determination คอื ขน้ั ตดั สนิ ใจในการ E)

ทำงาน ๒.๑ ขนั้ I: Inspiration คือ ขนั้ สร้างแรงบนั ดาล

๓. ขนั้ Practice คอื ขนั้ ฝึกฝน ใจในการเรียนรู้

๔. ขั้น Result คอื ขั้นผลลัพธจ์ ากการเรียนรู้ ๒.๒ ขั้น D: Define คอื ขน้ั วิเคราะหส์ ถานการณ์

๕. ขน้ั Share คือ ขั้นเผยแพร่ผลงาน ๒.๓ ข้ัน P: Practice คือ ขนั้ ฝึกฝน

๒.๔ ข้ัน R: Result คือ ขนั้ ผลลัพธจ์ ากการเรยี นรู้

๒.๕ ขั้น S: Share คือ ข้ันเผยแพร่ผลงาน

๓. ขน้ั ตอนการคน้ หาวิธีการสอน (Discover : D๑)

๔. ข้นั ตอนออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ (Design

: D๒)

๕. ขนั้ ตอนพฒั นาแผนการจัดการเรยี นรู้ (Develop :

D๓)

๖. ขน้ั ตอนนำแผนไปใช้ในชัน้ เรยี นและรว่ มสังเกต

การสอน (D๔ : Deliver)

๗. ขั้นตอนสะท้อนผล (R : Reflect)

๓. ผลทเี่ กิดข้ึน ๑. นักเรียนมีทักษะการคดิ วิเคราะห์ คดิ อยา่ งมี ๑. นกั เรยี นมีทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ คิดอยา่ งมี

วิจารณญาณ และคิดสร้างสรรคด์ ยี ่ิงขนึ้ วิจารณญาณ และคดิ สรา้ งสรรคด์ ยี ง่ิ ขน้ึ

๒. ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของนกั เรียนสูงขน้ึ ๒. ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของนักเรยี นสูงขึน้

๓. นกั เรยี นได้เรยี นรู้ มสี ่วนรว่ มในการจดั การ ๓. สมรรถนะของนกั เรียนด้านทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์

เรยี นรู้ คิดสร้างสรรค์ และ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ สูงขึน้

๔. ผู้เรยี นมเี จคตทิ ดี่ ตี อ่ การจัดการเรยี นรูท้ ีย่ ึด ๔. นักเรยี นไดเ้ รียนรู้ มีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๕. ผู้เรียนมีเจคติที่ดีต่อการจดั การเรียนรทู้ ย่ี ดึ หลัก

๕. ครผู ู้สอนมีนวตั กรรมการจัดการเรยี นการรู้ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

๖. ครูผู้สอนมีการนำเทคนคิ การสอนดว้ ยรปู แบบ ๖. ครูผ้สู อนมีนวตั กรรมการจัดการเรยี นการรทู้ ่ีมี

การสอนแบบเชิงรุก (Active Learning) ประสิทธิภาพ ผ่านการประเมินคณุ ภาพทดลองใช้

๗. ผบู้ ริหารและครไู ดร้ ่วมคดิ รว่ มทำ รว่ มพัฒนา ๗. ครูผู้สอนมกี ารนำเทคนคิ การสอนดว้ ยรปู แบบการ

ร่วมแลกเปลย่ี นเรียนรไู้ ด้อย่างตอ่ เน่อื ง สอนแบบเชงิ รกุ (Active Learning)

๘. โรงเรียนไดร้ ับการพฒั นาให้มีการปฏบิ ตั ิทเี่ ป็น ๘. ผบู้ ริหารและครูได้ร่วมคดิ ร่วมทำ รว่ มพฒั นา

รปู ธรรม และมีคุณภาพสูงขึน้ ร่วมแลกเปล่ยี นเรียนรูไ้ ด้อย่างตอ่ เน่ือง

๙. โรงเรยี นมีผลการดำเนินการมีผลงานเปน็ ท่ี ๙. โรงเรียนไดร้ บั การพฒั นาใหม้ ีการปฏบิ ตั ิที่เป็น

ประจกั ษ์ รปู ธรรม และมคี ุณภาพสูงขึน้

๒๖

๔. สิ่งทไี่ ด้ ผลงานเดมิ ผลงานใหม่
เรียนรู้
๑. ครไู ด้ค้นพบเทคนิคกระบวนการสอนทเ่ี ปน็ ๑๐. โรงเรยี นมีผลการดำเนินการมผี ลงานเปน็ ที่
รปู แบบเชงิ รุก (active learning) มากย่ิงข้นึ
๒. สรา้ งวฒั นธรรมใหมอ่ งคก์ ร การสรา้ งโอกาส ประจักษ์
เสวนาทางวิชาการระหว่างกนั ซง่ึ เป็นการนำเอา
ประเด็นปัญหาท่พี บเหน็ จากการปฏบิ ัติงานดา้ น ๑. ครูได้ค้นพบเทคนิคกระบวนการสอนที่เป็น
การเรยี นการสอนของครแู ต่ละทา่ น ข้ึนมาพดู คยุ รูปแบบเชิงรกุ (active learning) มากย่งิ ขึ้น
แลกเปลีย่ นระหว่างกนั ๒. การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน มุ่งสู่การพัฒนาการเรียน
๓. ครผู ู้สอนเรยี นรู้ถึงคุณค่า ประโยชน์ และ การสอน มุ่งเน้นที่การเรียนรู้ของนักเรียน สร้าง
ความสำคญั ต่อวิชาชพี ครู วฒั นธรรมใหมอ่ งคก์ ร
๓. เรียนรู้ถึงคุณค่า ประโยชน์ และความสำคัญต่อ
วชิ าชีพครู ดังน้ี

๓.๑ ครูผู้สอนพัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ ทันต่อ
การพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และ
การเมอื ง

๓.๒ ครผู สู้ อนได้ปฏิบตั ิกจิ กรรมการออกแบบและ
จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมสอดคล้อง
ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

๓.๓ ครูผู้สอนได้ช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน
อย่างสรา้ งสรรค์

๓.๔ สรา้ งความสามคั คีในหมคู่ ณะ
๓.๕ นวัตกรรมการแก้ปัญหา สอดคล้องกับ
จรรยาบรรณต่อผรู้ บั บรกิ าร
๓.๖ กิจกรรมการเรียนรู้ที่ยึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง สอดคล้องกับจรรยาบรรณต่อ
สังคมผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติ
ปฏิบัติตนเป็นผู้นําในการอนุรักษ์และพัฒนา
เศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา
สงิ่ แวดล้อม รกั ษาผลประโยชน์ของสว่ นรวม


Click to View FlipBook Version