The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR_64 ฉบับสมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sumalee.toy1, 2022-05-22 10:50:51

SAR_64 ฉบับสมบูรณ์

SAR_64 ฉบับสมบูรณ์

รายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ โรงเรียนเมอื งพลพิทยาคม หน้า ๑๙๘

สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะเป็นที่ต้ังของสถานที่หน่วยงานราชการต่าง ๆ เช่น สานักงาน
ขนส่งทางบกจังหวัดขอนแก่น สาขาพล สานักงานท่ีดินจังหวัดขอนแก่น สาขาพล สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาขอนแก่น เขต ๓ โรงเรียนบ้านหนองอรุณ และโรงเรียนพล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษาขอนแก่น เขต ๒๕ ตลอดจนสานักงานของบริษัทเอกชนต่าง ๆ มีประชากรประมาณ ๒,๐๐๐ คน
บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ ทิศเหนือ ติดกับถนนเมืองพล-แวงน้อย ทิศใต้ ติดกับที่ดินเอกชนหมู่บ้าน
จัดสรร ทิศตะวันออก ติดกับที่ดินเอกชนหมู่บ้านจัดสรร และทิศตะวันตก ติดกับโรงเรียนบ้านหนองอรุณ ซึ่งเป็น
โรงเรียนในระดับประถมศึกษา อาชีพหลักของชุมชน คือ ค้าขายและเกษตรกรรม ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ
ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ินที่เป็นท่ีรู้จักโดยทั่วไป คือ ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา
ประเพณีบญุ กมุ้ ขา้ วใหญ่ และประเพณีลอยกระทง

ลกั ษณะสาคัญของวิธีหรอื แนวทางปฏบิ ตั ทิ ี่เปน็ เลิศ
การพฒั นาหลกั สตู รเป็นกระบวนการสาคัญในการพฒั นาการศึกษาของชาติ ฉะนน้ั การพัฒนาหลักสตู รจึงเป็น

สิ่งสาคัญเพ่ือให้ได้หลักสูตรท่ีมีประสิทธิภาพ สามารถใช้เป็นเคร่ืองมือท่ีดีในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาประเทศตาม
จุดมงุ่ หมาย สนุ ีย์ ภพู่ ันธุ์ (๒๕๔๖ : ๑๗๔) จาเป็นตอ้ งมกี ารดาเนินงานเปน็ ระเบียบแบบแผนต่อเน่อื งกนั ไป ซ่ึงเริม่ จาก
การวางจุดมุ่งหมายในการดาเนินงานน้ีจะต้องคานึงถึงจุดเริ่มต้นของการเปล่ียนแปลงและการพัฒนาหลักสูตรว่าจะ
เรม่ิ ต้นท่ใี ดก่อน และดาเนินการอย่างไรจงึ จะเปน็ การพฒั นาหลักสูตรรวมถึงผลงานต่างๆทางด้านหลักสตู รต่างๆท่ีได้
สรา้ งข้ึนมาใหมอ่ ย่างมีประสทิ ธภิ าพมากกว่าหลักสตู รเดิมต้องคานงึ ถึงการดาเนนิ งาน วธิ ีการตา่ งๆรวมท้ังหลักการและ
แนวปฏิบัติเพ่ือให้การพฒั นาหลักสูตรเป็นไปอย่างมีประสิทธภิ าพแล้วจะต้องมีการฝึกอบรมครปู ระจาการให้เข้าใจใน
หลักสูตรใหม่ รวมท้ังทักษะในด้านต่างๆ และต้องคานึงถึงประโยชนใ์ นด้านการพัฒนาจิตใจและทัศนคติของนักเรยี น
ด้วย ต้องได้รับความร่วมมือและการประสานงานอย่างดีจากเจ้าหนา้ ท่ีผู้เกีย่ วข้องในทางด้านหลักสูตรทุกๆด้าน และ
ต้องมีผ้นู าทีช่ านาญมคี วามสามารถในหนา้ ทีก่ ารงานเป็นอย่างดี โดยมีกระบวนการจัดทาหลกั สตู รสถานศกึ ษา ดงั น้ี

๑. แตง่ ตัง้ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษา และคณะทางาน
๒. ศกึ ษา วเิ คราะหห์ ลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
กรอบหลกั สตู รระดบั ท้องถ่นิ และเอกสารประกอบหลกั สูตรต่าง ๆ รวมท้งั ขอ้ มลู สารสนเทศเกย่ี วกบั สภาพปัญหา
จดุ เน้น ความต้องการของสถานศกึ ษา ผู้เรยี น และชมุ ชน
๓. จัดทาหลักสูตรสถานศกึ ษาซ่งึ มีองคป์ ระกอบสาคญั ดังนี้ สว่ นนาโครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษา คาอธบิ าย
รายวิชา เกณฑ์การวัดและประเมินผล และเกณฑ์การจบการศกึ ษา
๔. ตรวจสอบองคป์ ระกอบหลกั สูตรสถานศึกษา โดยพจิ ารณาคณุ ภาพ ความถูกตอ้ ง และความเหมาะสม
๕. นาเสนอคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานพจิ ารณาให้ความเห็นชอบ หากมีข้อเสนอแนะจาก
คณะกรรมการ ใหน้ าขอ้ เสนอแนะไปพจิ ารณาปรับปรุงก่อนการอนมุ ตั ใิ ช้หลักสูตร
๖. จัดทาเปน็ ประกาศหรือคาส่ังเร่ืองใหใ้ ชห้ ลักสตู รสถานศึกษา โดยผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาและประธาน
กรรมการสถานศกึ ษาเป็นผู้ลงนาม หรือผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาเปน็ ผู้ลงนาม
๗. ใชห้ ลักสตู รสถานศึกษา ครผู ู้สอนนาหลักสตู รสถานศกึ ษาไปกาหนดโครงสรา้ งรายวชิ า และออกแบบ
หนว่ ยการเรียนรเู้ พ่อื พฒั นาผูเ้ รียนใหม้ ีคุณภาพตามเปา้ หมาย
๘. วจิ ยั และติดตามผลการใชห้ ลักสูตร ดาเนนิ การติดตามผลการใชห้ ลักสูตรอย่างตอ่ เน่อื งเปน็ ระยะๆ เพ่ือนา
ผลจากการติดตามมาใชเ้ ป็นข้อมูลพิจารณาปรบั ปรงุ หลกั สตู รใหม้ ีคุณภาพ และมีความเหมาะสมยงิ่ ข้ึน

วตั ถปุ ระสงคข์ องวิธีหรอื แนวทางปฏิบัติท่ีเป็นเลศิ
๑. เพือ่ ประเมนิ ด้านบรบิ ท (Context Evaluation) ของการดาเนินโครงการพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษา ตาม

แนวทางปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โรงเรยี นเมืองพลพิทยาคม
๒. เพื่อประเมินด้านปัจจัยนาเข้า (Input Evaluation) ของการดาเนินโครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

ตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โรงเรียนเมอื งพลพิทยาคม

รายงานประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม หน้า ๑๙๙

๓. เพื่อประเมินด้านกระบวนการ (Process Evaluation) ของการดาเนินโครงการพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษา ตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โรงเรยี นเมืองพล
พิทยาคม

๔. เพื่อประเมินด้านผลผลิต (Product Evaluation) ของการดาเนินโครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โรงเรียนเมืองพลพทิ ยาคม

๕. เพื่อประเมินด้านผลกระทบ (Impact Evaluation) ของการดาเนินโครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา
ตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โรงเรียนเมืองพลพทิ ยาคม

เป้าหมาย
๑. เปา้ หมายเชิงปริมาณ
๑.๑ หลกั สตู รรายวชิ าพื้นฐาน ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาต้น จานวน ๓๐ วิชา , ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาตอน

ปลาย จานวน ๒๗ วิชา
๑.๒ หลกั สตู รรายวชิ าเพิม่ เตมิ ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาตน้ จานวน ๑๘ วิชา , ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาตอน

ปลาย จานวน ๓๗ วิชา
๑.๓ เอกสารหลกั สตู รและเอกสารประกอบหลกั สูตร จานวน ๑๓ หลกั สูตร จานวน ๔๐ เลม่
๑.๔ ผเู้ รยี นรอ้ ยละ ๙๕ ประสบผลสาเรจ็ ตามเป้าหมายของหลกั สตู ร

๒. เปา้ หมายเชงิ คณุ ภาพ
๒.๑ ด้านบริบท (Context Evaluation) หลักสูตรโรงเรียนเมืองพลพิทยาคมเป็นไปตาม วัตถุประสงค์

โครงสรา้ งของหลกั สูตร รายวชิ า หนว่ ยกิต โดยหลกั สูตรโรงเรยี นเมืองพลพิทยาคมรายวิชาพ้นื ฐานและรายวชิ าเพิ่มเติม
พัฒนาเหมาะสมกับผู้เรียน และมีการบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสอดคล้องกับหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

๒.๒ ด้านปัจจยั นาเข้า (Input Evaluation) เกี่ยวกับ คณุ สมบัตผิ ู้สอน คุณสมบตั ผิ ู้เรยี น สื่อ วสั ดุอปุ กรณ์
บรรยากาศ สถานท่ี มีคุณภาพตรงตามเปา้ หมายท่กี าหนด

๒.๓ ดา้ นกระบวนการ (Process Evaluation) เกยี่ วกบั การจัดการเรียนรู้ การบรหิ ารจัดการหลกั สูตร
การวดั และประเมนิ ผล สอดคลอ้ งกับหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จดุ เนน้ ของ
สถานศึกษา ส่งผลต่อการพัฒนาผ้เู รียนสคู่ วามเป็นเลิศตาม
พหปุ ญั ญาและมีอุปนิสัยอยู่อยา่ งพอเพียง

๒.๔ ดา้ นผลผลิต (Product Evaluation) ผเู้ รยี นบรรลตุ ามจดุ ม่งุ หมายของหลักสตู รดงั น้ี ดา้ นสมรรถนะ
สาคัญของผู้เรียน ๕ สมรรถนะ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๘ ประการ ด้านอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียง ตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ดา้ นจดุ เน้น ดงั นี้ (๑) จดั การเรียนรู้ด้วยวธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรม
คณติ ศาสตร์ (STEM) (๒) การจดั การเรยี นรูภ้ าษาต่างประเทศ (ภาษาท่ีสาม) (๓) จดั การเรยี นรเู้ พื่อสร้างทักษะพ้นื ฐาน
เชื่อมโยงสู่การสรา้ งอาชีพและการมงี านทา (๔) การจัดการเรียนรดู้ ้านพหุปัญญาของผู้เรยี นรายบุคคลตามศักยภาพ
(๕) การสรา้ งแพลตฟอร์มดิจทิ ัลเพื่อการเรียนรแู้ ละใชด้ ิจทิ ลั เป็นเครือ่ งมือการเรยี นรู้

๒.๕ ด้านผลกระทบ (Impact Evaluation) บรรลุตามเป้าหมายในด้านความสามารถในการบริหารหลักสูตร
งานวิชาการ และการนิเทศคุณภาพของนักเรียนมีอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียง และความเป็นเลิศตามศักยภาพต่อ
ความสาเร็จในการศกึ ษาต่อและการประกอบอาชีพ

รายงานประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรยี นเมืองพลพิทยาคม หนา้ ๒๐๐

๒. แนวทาง/ข้ันตอนการดาเนนิ งาน/Flow Chart (แผนภูมิ) ของวิธหี รือแนวทางท่เี ปน็ เลิศ

ดา้ นบริบท ดา้ นปัจจัยนาเขา้ ด้านกระบวนการ ดา้ นผลผลิต (Product ดา้ นผลกระทบ

(Context Evaluation) (Input Evaluation) (Process Evaluation) Evaluation) (Impact Evaluation)

นกั เรียนได้รับการพัฒนาตามพหุปัญญาที่แตกตา่ งกัน
ในหลักสูตรทีเ่ ลอื กเรียนอย่างเต็มศักยภาพ
และประสบผลสาเร็จตามเปา้ หมาย

๓. ผลลัพธ์/ผลการดาเนนิ การ
จากการดาเนินโครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๔ พบว่ามีหลักสูตรท่ี

หลากหลายสามารถตอบสนองพหุปัญญาที่แตกต่างกันของผู้เรียน ที่สามารถส่งเสริมอัจฉริยภาพท่ีแตกต่างกันของ
นักเรียนได้อย่างเต็มศักยภาพ จานวน ๑๑ หลักสูตรได้แก่ หลักสูตรพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์ –
คณิตศาสตร์ ( Excellence Class : EC ) หลักสูตรส่งเสริมความเป็นเลิศทางคอมพิวเตอร์ (Computer Program :
CP) หลักสูตรส่งเสริมความเป็นเลิศด้านภาษาอังกฤษ ( English Excellence Class: EEC) หลักสูตรศิลป์การจัดการ
ธุรกจิ การคา้ สมัยใหม่ (Modern Trade Business Management : MTM) หลกั สตู รส่งเสรมิ ความเปน็ เลิศภาษาจนี
(Chinese Business Management : CBM ) หลักสูตรส่งเสริมความเป็นเลิศภาษาญี่ปุ่น (Japanese Business
Management : JBM) หลักสตู รสง่ เสริมความเป็นเลศิ ตามความถนดั ความสนใจ (Talent General Program : TGP)
หลกั สูตรสง่ เสริมความเปน็ เลศิ ตามนโยบายการบรหิ ารโดยใช้โรงเรยี นเป็นฐานในการพัฒนาทอ้ งถิ่น (School Bested
Management for Local Development : SBMLD) นักเรียนประสบผลสาเร็จการศกึ ษาตามเปา้ หมายของหลักสูตร

รายงานประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรยี นเมอื งพลพทิ ยาคม หนา้ ๒๐๑

ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐๐ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ คดิ เป็นรอ้ ย
ละ ๑๐๐

๔. ปัจจัยเกือ้ หนุน/ปัจจยั ความสาเร็จ
๔.๑ บุคลากร (Man) ครู บุคลากร ได้รับการส่งเสริมพัฒนาให้มีความรู้ความสามารถ เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน

เพอ่ื นาความรูม้ าพัฒนาผเู้ รียนไดอ้ ยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ มีเทคนิควิธกี ารพัฒนาผู้เรยี นให้มที กั ษะทางวชิ าการ ทกั ษะอาชพี
ทักษะชวี ติ อยา่ งเต็มศักยภาพ

๔.๒ การบริหารจัดการ (Management) สถานศึกษาส่งเสริมให้การดาเนินโครงการพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษาอย่างเป็นระบบ จัดทาหลักสูตรสถานศึกษาพัฒนาผู้เรียนอย่างหลากหลาย จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรท่ี
ทันสมยั สอดคล้องกับบรบิ ทของทอ้ งถิ่น และการเปลย่ี นแปลง

๔.๓ สื่อ อุปกรณ์ (Material) มีการสนับสนุนส่ือ วัสดุ อุปกรณ์ เอกสารท่ีเก่ียวข้องกับการปฏิบัติงานของครู
และบคุ ลากรทางการศกึ ษาอย่างเพยี งพอและมีคณุ ภาพ

๔.๔ งบประมาณ (Money) สถานศึกษาสนับสนนุ ด้านงบประมาณ และอานวยความสะดวกในการดาเนนิ งาน
ใหเ้ กดิ ความสะดวกประหยัด และคุ้มค่าในการดาเนินโครงการ โดยทุกกล่มุ สาระการเรยี นรู้มีการวางแผนการดาเนิน
กิจกรรมครอบคลุมผู้เรียนทุกคนที่มีความสามารถพิเศษ มีปฎิทินในการดาเนนิ การและแผนการใช้จ่ายงบประมาณท่ี
ชัดเจนสามารถตรวจสอบได้

๕. แนวทางพฒั นาให้ย่งั ยืน
แนวทางการพัฒนาสู่ความยงั่ ยนื ของโครงการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาดังนี้
๕.๑ สถานศึกษามกี ารส่งเสริมพฒั นาคุณสมบัติผู้สอน คุณสมบตั ิผูเ้ รียน สอื่ วสั ดุอุปกรณ์ บรรยากาศ สถานท่ี

มคี ุณภาพเป็นไปตามเป้าหมายท่กี าหนด
๕.๒ นักเรียนได้รับการส่งเสริมพัฒนาตามอัจฉริยภาพท่ีแตกต่างอย่างเต็มตามพหุปัญญาอย่างเต็มศักยภาพ

บรรลุตามจดุ หมายของหลกั สูตรสถานศกึ ษา ผา่ นกระบวนการจดั การเรยี นรู้ การบรหิ ารจัดการหลกั สูตร การวัดและ
ประเมินผล ที่มีคณุ ภาพ

๕.๓ นกั เรียนได้รับการพฒั นาด้านสมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน ๕ สมรรถนะ ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๘
ประการ ด้านอปุ นสิ ยั อยู่อย่างพอเพยี ง ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ด้านจุดเนน้ จัดการเรยี นรูด้ ้วยวิธีการ
ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม คณิตศาสตร์ (STEM) การจัดการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาที่สาม)
จดั การเรยี นรูเ้ พ่อื สร้างทกั ษะพนื้ ฐานเช่ือมโยงส่กู ารสรา้ งอาชีพและการมงี านทา การจดั การเรียนร้ดู า้ นพหุปญั ญาของ
ผเู้ รยี นรายบุคคลตามศกั ยภาพ การสรา้ งแพลตฟอร์มดจิ ิทัลเพอื่ การเรียนรู้และใช้ดจิ ิทลั เปน็ เครื่องมือการเรยี นรู้

๕.๔ โรงเรียนเมืองพลพิทยาคมมีการพัฒนาความสามารถในการบริหารหลักสูตร งานวชิ าการ และการ
นิเทศ คุณภาพของผู้เรียนมีอปุ นิสัยอยู่อย่างพอเพียง และความเป็นเลิศตามศักยภาพต่อความสาเร็จในการศึกษาตอ่
และการประกอบอาชพี

๖. การเป็นต้นแบบให้หน่วยงานอนื่ /การขยายผล และ/หรือรางวัลท่ีได้รบั
๖.๑ การเป็นต้นแบบให้หน่วยงานอ่ืน ระดับประเทศ ได้รับการคัดเลือกจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

เป็นโรงเรียนนาร่องโรงเรียนพอเพียงท้องถิ่น เป็นศูนย์ STEM ศึกษา อปท. ๑๐ เป็นศูนย์ SMT ของ สสวท.
เป็นโรงเรียนอุปถัมภ์ของกระทรวงยุติธรรม เป็นโรงเรียนต้นแบบถนนปลอดภัยในสถานศึกษารางวัลชมเชย
ระดบั ประเทศ เป็นแบบอย่างของโรงเรยี นใหก้ บั สถานศกึ ษาอื่นเข้ามาศึกษาดงู านอยูเ่ สมอ

๖.๒ ผูเ้ รียนประสบผลสาเร็จได้คะแนน ONET วิชาคณติ ศาสตร์ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ เตม็ ๑๐๐ คะแนน
ผู้เรียนประสบผลสาเร็จการแข่งขันทักษะทางวิชาการระดับประเทศ สาเร็จการศึกษาแล้วสามารถศึกษาต่อหรือ
ประกอบอาชีพร้อยละ ๑๐๐ และมีคณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงคต์ ามอตั ลักษณ์ “ใฝ่เรียนรู้ค่คู ุณธรรม”

รายงานประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ โรงเรียนเมอื งพลพิทยาคม หนา้ ๒๐๒

๖.๒ การขยายผล ได้เผยแพร่ผลงานที่ดาเนินการแล้วประสบความสาเร็จในการประชุมประจาเดือนระดับ
หน่วยงานต้นสังกัด ระดับอาเภอ ระดับโรงเรียน ที่หน้าเสาธง เผยแพร่ทาง Face book, Website โรงเรียน,
วารสารของโรงเรียน ได้รับเชิญเป็นหน่วยงานนาเสนอผลงานจัดนิทรรศการทางวิชาการในระดับชาติ ระดับภูมิภาค
ผ้บู ริหาร ครูบุคลากรไดร้ บั เชิญให้เป็นวิทยากรให้กับหนว่ ยงานอ่นื เป็นสถานท่ศี กึ ษาดงู านใหก้ ับหนว่ ยงานต่าง ๆ และ
ไดร้ ับเชิญไปบรรยายในโอกาสตา่ ง ๆ เสมอ

๖.๓ รางวลั ที่ได้รบั ปรากฏผลดังนี้

ประเภท ระดับรางวัล/ช่ือรางวลั ท่ีไดร้ บั หนว่ ยงานท่ีมอบรางวลั
๑. น.ส.พชิ ชาภา จันนอ้ ย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
๒. น.ส.หนึ่งฤทยั ภูดวง รางวัลชนะเลิศ โล่พระราชทานสมเด็จพระ
๓. น.ส.พรสุดา ดิลกลาภ กนษิ ฐาธริ าชเจ้าฯ กรมสมเดจ็ พระเทพ
๔. น.ส.สมฤทยั ชาวดง รัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี
๕. น.ส.อภิชญา ริยะตา
รางวัลเหรียญเงนิ การอา่ นออกเสยี ง สมาคมครูภาษาไทยแหง่ ประเทศ
๖. น.ส.นวพร อาษานอก
๗. น.ส.พนิตนาฏ พรมนอก ภาษาไทย รางวัลศาสตราจารยก์ ิตติคณุ ไทย
๘. น.ส.ศศธิ ร กระฉอดนอก
๙. น.ส.กติ ติยาภรณ์ แกว้ นอ้ ย ดร. กาญจนา นาคสกุล
๑๐. น.ส.ชญานิศา บญุ เพลงิ
๑๑. น.ส.ลวีวรรณ เปลีย่ นกลาง รางวลั รองชนะเลิศอันดับ 1 การนาเสนอ -สถาบันพระปกเกลา้ และ
๑๒. น.ส.เบญจญาภา เกตพุ ิบูลย์
๑๓. นายธรี ะโชติ ไกลวลั ย์ โครงงานฯ การประชุมวิชาการและเสนอ คณะศกึ ษาศาสตร์และศลิ ป

1๔. น.ส.เกษราภรณ์ ขุนแกว้ ผลงานวจิ ัยและนานาชาติ ครั้งท่ี 1 (ASCIR ศาสตร์ วิทยาลัยบัณฑิตเอเซยี
๑๕. น.ส.ศริ ลิ กั ษณ์ บาลี
๑๖. น.ส.ภัทรนันท์ แสนท้าว 2021) เพื่อพฒั นาศกั ยภาพผเู้ รยี นดา้ นการ

๑๗. น.ส.ปุณยวีร์ พุทธศานติ์บณั ฑิต เสริมสร้างจติ สานกึ ความเป็นพลเมอื งดี

๑๘. น.ส.ณัฐธดิ า ทิพย์บญุ ผล ในวถิ ปี ระชาธิปไตย
๑๙. น.ส.ปยิ ะกานต์ ราชเมอื งศรี
รองชนะเลิศอนั ดับที่ ๑ การประกวดการ โรงเรียนอยธุ ยานสุ รณ์
๒๐. ด.ญ.ฌานศิ า ผาผง
2๑. ด.ญ.อนิตศรา บุญประเสรฐิ อ่านทานองเสนาะ “ยลศลิ ป์ยินเสียง จ.พระนครศรีอยุธยา
๒๒. ด.ญ.ชญาภทั ร ยวงใย
๒๓. ด.ญ.กมลรัตน์ ปานาราช สาเนยี งเสนาะ” ครั้งที่ ๑
๒๔. ด.ญ.วรรณกร ทเี หล็ก
๒๕. ด.ญ.อรญั ญาลักษณ์ นานนั ท์ รางวลั ชนะเลิศ การนาเสนอโครงงานฯ -สถาบนั พระปกเกล้าและ
๒๖. ด.ญ.สุภสั สรา นันทอง
๒๗. น.ส.ปุณยวรี ์ พุทธศานติ์บัณฑิต การประชมุ วชิ าการและเสนอผลงานวิจัย คณะศกึ ษาศาสตร์และศลิ ป
2๘. น.ส.ภทั รนันท์ แสนทา้ ว
๒๙. น.ส.ศิริลักษณ์ บาลี และนานาชาติ ครั้งท่ี 1 (ASCIR 2021) ศาสตร์ วทิ ยาลยั บัณฑติ เอเซยี

เพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพผูเ้ รียนด้านการ

เสรมิ สร้างจติ สานึกความเป็นพลเมืองดี

ในวถิ ีประชาธปิ ไตย

รางวลั รองชนะเลศิ อันดบั ๑ การนาเสนอ -สถาบันพระปกเกลา้ และ

โครงงานฯ การประชุมวชิ าการและเสนอ คณะศกึ ษาศาสตรแ์ ละศิลป

ผลงานวจิ ัยและนานาชาติ ครงั้ ที่ 1 (ASCIR ศาสตร์ วทิ ยาลยั บัณฑติ เอเซยี

2021) เพื่อพฒั นาศกั ยภาพผู้เรียนดา้ นการ

เสริมสร้างจิตสานกึ ความเปน็ พลเมืองดี

ในวถิ ีประชาธปิ ไตย

รางวัลรองชนะเลิศอนั ดบั ๑ การแข่งขัน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั
โครงงานทางคณติ ศาสตร์ ในวันสัปดาห์ ราชภัฏอุบลราชธานี
วิทยาศาสตร์

รายงานประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ โรงเรียนเมอื งพลพทิ ยาคม หน้า ๒๐๓

ประเภท ระดบั รางวลั /ช่อื รางวลั ที่ไดร้ ับ หน่วยงานที่มอบรางวลั
๓๐. น.ส.สมุ ินตรา แก้วบัวโฮม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
๓๑. น.ส.ธนพร สุวัฒนศ์ ิลป์ รางวลั ชมเชย แขง่ ขันตอบปัญหาทาง ราชภัฏอุบลราชธานี
คณติ ศาสตร์ ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาตอน
๓๒. ด.ช.ศิรชัช สุดสะอาด ปลาย ในวันสัปดาห์วทิ ยาศาสตร์ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
๓๓. ด.ช.ศภุ โชค บญุ ประเสรฐิ ราชภัฏอุบลราชธานี
รางวัลชมเชย แข่งขนั ตอบปัญหาทาง
๓๔.นายนธิ ิกร พลแสน คณิตศาสตร์ ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรยี นขอนแกน่ วทิ ยายน
๓๕.น.ส.ปณิตตรา สมนี อ้ ย ในวนั สัปดาห์วทิ ยาศาสตร์
3๖.น.ส.ณฐั นชิ เถียรวทิ วัส ศกึ ษา และสถาบันวจิ ัยและ
๓๗. ด.ญ.รตั นมน สายแก้ว รางวัลคะแนนทดสอบระดบั ดี พัฒนาวชิ าชพี ครสู าหรบั อาเซยี น
๓๘. ด.ช.ปัณณวิชญ์ ปัญญาบญุ การแข่งขนั ทกั ษะคณิตศาสตร์ โครงการ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น
๓๙. ด.ช.ภูรินท์ เเพร่ศรีสกุล E-SAN MATH TOP TEN ครั้งท่ี ๒๐
๔๐. ด.ช.พรหมชนินทร์ ดุรงค์ดารงชัย
๔๑. ด.ช.จกั รนิ ตรีเดช เขา้ รว่ มกิจกรรม The 3rd Math Festival
๔๒. ด.ช.กมลภพ เรียงไธสง Thailand 2021 ความร่วมมอื ระหว่าง
๔๓. ด.ช.พสิษฐ์ ออ่ นพวย ประเทศรัสเซยี และประเทศไทยโดยฝ่าย
๔๔. ด.ช. ณชพงศธร ลาน้าเทย่ี ง การศึกษาและบรหิ ารวิชาการ
๔๕. ด.ช.ณัฐพล ทพิ ย์แสง
๔๖. ด.ช.กฤตพิ ฒั น์ หวงั มะโน ชนะเลิศการแขง่ ขนั สรา้ งอปุ กรณ์ควบคมุ ศูนย์พัฒนาทกั ษะและการเรียนรู้

๔๗. ด.ช.ธีรวัฒน์ ภทั รศรสี าคร อตั โนมตั ิ (Smart home) ระดบั ม.ต้น ICT เทศบาลนครขอนแก่น และ
๔๘. ด.ช.ณัฐพล ชาวทองหลาง
๔๙. ด.ญ.พิชชาภรณ์ เพชรกาฬ โครงการแขง่ ขันภารกิจคิดสนุกอยา่ ง การเรียนรู้ ICT เทศบาลนคร
๕๐. นายจิตตพิ ัฒน์ ขวญั อ่อน
๕๑. นางสาวปัณณธร สมพร สร้างสรรค์ 2021 ขอนแกน่
๕๒. ด.ญ.แทนขวัญ สตุ ะนนท์
๕๓. ด.ญ.ธนชั พร หนสู ี เขา้ รว่ มนาเสนอ 15 ทีมท่ีผา่ นการคัดเลือก สมาคมวิทยศาสตร์แห่งประเทศ
๕๔. ด.ญ.อรวรรยา เทพสทุ ธิ
๕๕. ด.ญ.เขมจริ า เทีย่ งมา ชมุ นุมนกั ส่งิ แวดลอ้ มรุน่ เยาว์ กิจกรรมเดน่ ไทยในพระบรมราชปู ถัมภ์
๕๖. น.ส.พรพมิ ล ไทยลาวัลย์
๕๗. ด.ช.กฤตภาส อาไธสง แพเล็ก ๆ พิชิตโลก
๕๘. ด.ช.พีรวิช แสนบุญศิริ
๕๙. ด.ญ.อรวรรยา เทพสทุ ธิ รางวลั รองชนะเลิศอันดบั ๑ การนาเสนอ -สถาบนั พระปกเกลา้ และ
๖๐. ด.ช.ชัยวุฒิ เพ็งจางค์
๖๒. ด.ญ.ณัฐนชิ า พรมแสน โครงงานฯ การประชมุ วิชาการและเสนอ คณะศึกษาศาสตร์และศลิ ป
๖๓. ด.ญ.วรชั ยา ปลัดศรีช่วย
ผลงานวจิ ยั และนานาชาติ ครัง้ ท่ี 1 (ASCIR ศาสตร์ วิทยาลยั บณั ฑติ เอเซีย

2021) เพ่ือพัฒนาศักยภาพผเู้ รยี นด้านการ

เสรมิ สรา้ งจิตสานึกความเปน็ พลเมอื งดี

ในวิถีประชาธิปไตย

เขา้ รว่ มกจิ กรรมการประกวดกจิ กรรมชุมนมุ สมาคมวทิ ยาศาสตรแ์ ห่งประเทศ

นกั วิทยาศาสตรร์ ุ่นเยาว์-มูลนิธิเอสซีจี ไทยในพระบรมราชูปถัมภแ์ ละ

ประจาปี 2564 มูลนิธเิ อสซจี ี

เข้ารว่ มกิจกรรมการประกวดชมุ นุมนกั วทิ ยา สมาคมวิทยาศาสตรแ์ หง่ ประเทศ

ศาสตรร์ นุ่ เยาว์-มูลนธิ เิ อสซจี ี ไทยในพระบรมราชปู ถัมภ์

(สาขากายภาพ : นักเคมรี ุ่นเยาว์)

รายงานประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม หนา้ ๒๐๔

ประเภท ระดับรางวัล/ช่อื รางวัลทไ่ี ด้รบั หน่วยงานทม่ี อบรางวัล

๖๔. ด.ญ.เขมจริ า เทย่ี งมา รองชนะเลศิ อันดับ 2 การประกวดกิจกรรม สมาคมวิทยาศาสตรแ์ ห่งประเทศ

๖๕. ด.ญ.พิชามญธุ์ นนทะศรี ชมุ นมุ นกั วิทยาศาสตรร์ นุ่ เยาว์-มูลนิธิเอสซีจี ไทยในพระบรมราชปู ถัมภแ์ ละ

๖๖. ด.ญ.ภควดี แกว้ กญั ญา ประจาปี 2564 มูลนิธิเอสซจี ี

๖๗. นายธญั กร อาษานอก เขา้ ร่วมกิจกรรมการแข่งขัน วาดภาพ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น

จินตนาการทางวิทยาศาสตร์ ระดบั

มัธยมศึกษาตอนปลาย

๖๘.น.ส.จุฑาทิพย์ อินทรผล เข้าร่วมกิจกรรมการแขง่ ขันตอบปญั หาดารา สถาบันวจิ ยั ดาราศาสตร์แห่งชาติ

๖๙.น.ส.ปณุ ยวีร์ พทุ ธศานตบ์ ัณฑติ ศาสตร์ ASTRO CHALLENGE ปรศิ นาดารา (องคก์ ารมหาชน)

๗๐. น.ส.เขมมิสรา หนันทุม ศาสตร์ 2021 รอบคดั เลือก

๗๑. ด.ช.คะนอง คนทันทส์ รางวัลชนะเลิศ การนาเสนอโครงงานฯ -สถาบนั พระปกเกล้าและ

๗๒. ด.ญ.ณัฏฐนนั ท์ กองจนั ทร์ การประชมุ วชิ าการและเสนอผลงานวิจัย คณะศกึ ษาศาสตร์และศลิ ป

๗๓. ด.ญ.เสาวลักษณ์ เรืองมณี และนานาชาติ ครง้ั ที่ 1 (ASCIR 2021) ศาสตร์ วิทยาลัยบณั ฑติ เอเซยี

๗๔. ด.ช.ภูมิพฒั น์ ชัยรตั น์ เพื่อพัฒนาศักยภาพผูเ้ รียนดา้ นการ

๗๕. ด.ช.สิรวิ ฒั น์ รติวงศ์สุวรรณ เสริมสรา้ งจติ สานึกความเปน็ พลเมอื งดี

๗๖. ด.ญ.ภัทรวดี เทยี บอนุ่ ในวิถปี ระชาธิปไตย

๗๗. น.ส.วรี ภทั รา จา้ ยหนองบัว รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ 1 การประกวด คณะวิทยาศาสตร์

ภาพโปสเตอร์ info graphic รณรงค์การ มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุดรธานี

สวมหน้ากากอนามยั เพอื่ ปอ้ งกันโรคโควดิ - สามพรา้ ว

๑๙ กิจกรรมสปั ดาหว์ ิทยาศาสตร์แหง่ ชาติ

ส่วนภมู ภิ าค

๗๘. นายกฤษชนะ ศรีโยธา รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดบั ๑ การนาเสนอ -สถาบันพระปกเกลา้ และ

๗๙. นายพษิ ณุ ตินนัง โครงงานฯ การประชมุ วชิ าการและเสนอ คณะศกึ ษาศาสตร์และศิลป

๘๐. นายสหรัฐ นามโยธา ผลงานวจิ ยั และนานาชาติ คร้งั ที่ 1 (ASCIR ศาสตร์ วิทยาลัยบณั ฑิตเอเซยี

๘๑. น.ส.ศศปิ ระภา เทยี นศรี 2021) เพ่ือพฒั นาศักยภาพผู้เรยี นด้านการ

๘๒. น.ส.วรี ภทั รา จ้ายหนองบวั เสรมิ สรา้ งจติ สานกึ ความเปน็ พลเมอื งดี

๘๓. น.ส.เออื้ อารยี ์ ดีพลงาม ในวิถปี ระชาธปิ ไตย

๘๔. นายกวนิ พาโคกทม รางวัลรองชนะเลศิ อันดับ ๑ การแข่งขัน สาขาคอมพิวเตอร์

๘๕. นายภวู า แสนวา Wappage กจิ กรรมเปิดบา้ นสาขา คณะศกึ ษาศาสตร์

คอมพิวเตอร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่

๘๖. ด.ญ.ปณิสรา สิงหอง รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ ๒ การแขง่ ขนั

๘๗. ด.ญ.ปุณณดา มีศิลป์ Infographic กิจกรรมเปิดบ้านสาขา

คอมพวิ เตอร์

๘๘. นายธนากร เทนอิสระ รางวลั รองชนะเลศิ อันดบั ๒ การแขง่ ขันการ

๘๙. นายนพิ ฐิ พนธ์ นนทะ ตดั ตอ่ VDO กิจกรรมเปิดบ้านสาขา

คอมพวิ เตอร์

๙๐. ด.ญ.ปุณฑริกา ขอก้ันกลาง รางวลั ชมเชย การแขง่ ขันการตอบปัญหา

๙๑. ด.ญ.อธชิ นัน ประวันจะ ทางคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยี กจิ กรรม

เปิดบา้ นสาขาคอมพวิ เตอร์

ภาคผนวก

ประกาศโรงเรยี นเมอื งพลพทิ ยาคม
เรอ่ื ง กาหนดคา่ เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
ระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน เพอื่ การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

---------------------------------
ด้วยกระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ซึ่งเหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้คือ แนวทางในการดาเนินงานตามประกาศ
กฎกระทรวงวา่ ด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ ีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ไม่สอดคล้องกับหลกั การประกัน
คณุ ภาพการศึกษาที่แท้จริง จงึ สง่ ผลใหก้ ารดาเนินการประกนั คุณภาพทงั้ ภายในและภายนอกไม่สมั พนั ธ์กนั เกิดความซ้าซ้อน
และคาดเคล่ือนในการปฏบิ ตั ิ ทาใหไ้ มส่ ะทอ้ นความเปน็ จริงและเป็นการสร้างภาระให้สถานศกึ ษา
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวยั มาตรฐานการศึกษาระดับข้นั พ้ืนฐานและ
แนวทางปฏิบตั ิในการดาเนินงานการประกนั คุณภาพการศึกษาเพ่ือการประกนั คุณภาพภายในโรงเรยี นสังกดั องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น ลงวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๑ โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม ปรับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐานจากการมสี ่วนรว่ มของผู้เกี่ยวขอ้ ง ทั้งบุคลากรทุกคนในโรงเรียน ผู้ปกครองและประชาชนในชุมชนให้
เหมาะสมและสอดคล้องกัน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัยและระดับ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การประเมินคุณภาพภายในและรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ในการประชุม ครั้งท่ี ๒/๒๕๖๔ เมือ่ วันที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๔
เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนเมืองพลพิทยาคม มีคุณภาพและมาตรฐาน จึง
ก า ห น ด ค่ า เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ต า ม ม า ต ร ฐ า น ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า ข้ั น พ้ื น ฐ า น
ตามเอกสารแนบทา้ ยประกาศนี้

ประกาศ ณ วันท่ี ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

(นายอานาจ ปราบหนองบวั ) (นายประสาน กองทอง)
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ผอู้ านวยการโรงเรียนเมอื งพลพทิ ยาคม

โรงเรียนเมอื งพลพิทยาคม

แนบทา้ ยประกาศโรงเรยี นเมอื งพลพิทยาคม

เรือ่ ง กาหนดมาตรฐานและคา่ เป้าหมายของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน

เพ่ือการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

.............................................................

มาตรฐาน/ประเด็นการพิจารณา คา่ เป้าหมายมาตรฐาน/
ประเดน็ การพจิ ารณา

มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผู้เรียน ระดับคณุ ภาพ ยอดเย่ยี ม*

๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ทิ างวชิ าการของผเู้ รียน ดีเลิศ

๑) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขียน การส่อื สาร และการคดิ คานวณ ดเี ลศิ

๒) มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ยี น ดเี ลิศ
ความคิดเหน็ และแกป้ ัญหา

๓) มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม ดีเลศิ

๔) มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ยอดเยย่ี ม

๕) มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ยอดเยี่ยม

๖) มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ่ีดีต่องานอาชพี ดีเลิศ

๑.๒ คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงคข์ องผู้เรยี น ยอดเยี่ยม

๑) การมีคุณลักษณะและค่านิยมท่ดี ีตามท่สี ถานศึกษากาหนด ยอดเยี่ยม

๒) ความภมู ใิ จในท้องถน่ิ และความเปน็ ไทย ยอดเยี่ยม

๓) การยอมรบั ทจี่ ะอย่รู ่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย ยอดเยย่ี ม

๔) สุขภาวะทางรา่ งกาย และจิตสังคม ยอดเย่ยี ม

๕) ใฝเ่ รียนรคู้ ู่คุณธรรม ยอดเยย่ี ม

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ระดบั คณุ ภาพ ดีเลิศ*

๒.๑ มเี ปา้ หมายวิสัยทัศนแ์ ละพันธกจิ ทส่ี ถานศึกษากาหนดชดั เจน ดเี ลิศ

๒.๒ มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา ดเี ลศิ

๒.๓ ดาเนนิ งานพฒั นาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร ดเี ลิศ
สถานศกึ ษา และทกุ กลุม่ เป้าหมาย

๒.๔ พัฒนาครแู ละบุคลากรให้มีความเชยี่ วชาญทางวชิ าชีพ ดเี ลศิ

๒.๕ จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมที่เอ้ือตอ่ การจดั การเรยี นรู้ ดเี ลศิ
อยา่ งมีคุณภาพ

๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื สนับสนุนการบรหิ ารจดั การและ ดเี ลิศ
การจัดการเรยี นรู้

๒.๗ เป็นองคก์ รแห่งการเรียนรู้ ดเี ลศิ

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ น้นนักเรยี นเปน็ สาคญั ระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ียม*

๓.๑ จดั การเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคดิ และปฏิบัติจริง และสามารถนาไป ยอดเยย่ี ม

ประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตได้

๓.๒ ใชส้ ่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ทเ่ี อ้อื ต่อการเรยี นรู้ ยอดเยย่ี ม

๓.๓ มีการบริหารจัดการช้นั เรียนเชงิ บวก ยอดเยี่ยม

๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอย่างเปน็ ระบบ และนาผลมาพฒั นานกั เรียน ยอดเยย่ี ม

๓.๕ มีการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลบั เพ่อื พฒั นาและปรับปรุง ยอดเย่ียม
การจัดการเรียนรู้

สรปุ ผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา ยอดเยีย่ ม

*หมายเหตุ การกาหนดค่าเป้าหมาย

๑. ศกึ ษาข้อมูลเดมิ จากผลการประเมนิ ตา่ ง ๆ ทผ่ี ่านมา เพ่อื เป็นข้อมูลฐานในการกาหนดค่าเป้าหมาย
๒. การกาหนดค่าเป้าหมายแต่ละมาตรฐาน ควรกาหนดเป็น ระดับคุณภาพ ๕ ระดับ เพ่ือให้สอดคล้องกับการ

ประเมนิ ดังน้ี
ระดับ ๕ ยอดเยย่ี ม
ระดับ ๔ ดเี ลิศ

ระดบั ๓ ดี
ระดับ ๒ ปานกลาง

ระดบั ๑ กาลงั พฒั นา
๓. การกาหนดค่าเป้าหมายในแต่ละประเด็นพิจารณา จะกาหนดเป็นระดับคุณภาพหรือเป็นร้อยละตามความ
เหมาะสมกบั บรบิ ทของสถานศึกษา

๔. การต้งั คา่ เป้าหมายเชิงปริมาณในบางประเดน็ สถานศกึ ษาควรกาหนดเพ่อื ใช้ตรวจสอบวา่ การดาเนนิ งานพัฒนา
คณุ ภาพการจดั การศึกษาของสถานศึกษาได้บรรลุเป้าหมายท่ตี ั้งไวห้ รือสูงกวา่ คงท่ี หรือต่ากว่า (ลกั ษณะขอ้ มูลเชิงปรมิ าณ)

แนบทา้ ยประกาศโรงเรยี นเมืองพลพิทยาคม
เรื่อง กาหนดมาตรฐานและค่าเปา้ หมายของสถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน

เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔

ตัวชว้ี ัดและค่าเป้าหมายความสาเร็จตามประเด็นพิจารณาในมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ระดบั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐานโรงเรยี นเมอื งพลพทิ ยาคม

มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผเู้ รียน ระดบั คุณภาพ ยอดเยยี่ ม(๕)

๑.๑ ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผเู้ รยี น

ประเดน็ พิจารณา รายการตัวชี้วดั และคา่ เปา้ หมายความสาเร็จ ระดับคุณภาพ

๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน ๑) ร้อยละ ๙๐ ของนักเรยี นมีของผู้เรยี นมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน ยอดเยย่ี ม

การส่ือสาร และการคิดคานวณ ของวชิ าภาษาไทยพ้ืนฐาน ผลการเรยี นระดบั ๒ ขึ้นไป

๒) ร้อยละ ๘๕ ของนักเรียนมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของวิชา ดเี ลิศ

ภาษาองั กฤษพื้นฐาน ผลการเรยี นระดบั ๒ ขนึ้ ไป

๓) ร้อยละ ๘๕ ของนกั เรียนมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของวิชา ดเี ลิศ

ภาษาจนี ผลการเรียนระดับ ๒ ขึ้นไป

๔) ร้อยละ ๘๕ ของนักเรยี นมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของวชิ า ดเี ลศิ

คณติ ศาสตร์พ้ืนฐาน ผลการเรยี นระดับ ๒ ขน้ึ ไป

๒) มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ ๑) รอ้ ยละ ๘๐ ของนักเรียนในระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๑-๖ ดีเลศิ

คิดอยา่ งมีวิจารณญาณ อภปิ ราย มีผลการประเมินความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อย่างมี

แลกเปล่ยี นความคิดเห็นและแกป้ ัญหา วจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ และแกป้ ญั หา

ระดับ ๓

๓) มคี วามสามารถในการสรา้ ง ๑) รอ้ ยละ ๘๕ ของนกั เรียน มีผลงาน / โครงการ / โครงงาน / ดเี ลศิ

นวตั กรรม สงิ่ ประดษิ ฐ์/ ช้ินงาน STEM อยา่ งน้อยจานวน ๑ ชน้ิ ตอ่ ๑ คน

( ม. ต้น , ม. ปลาย)

๔) มีความสามารถในการใช้ ๑) รอ้ ยละ ๙๐ ของนกั เรียน สามารถใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตเพ่อื การเรียนรู้ ยอดเยย่ี ม

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การสอ่ื สาร การทางาน ผลการประเมินระดบั ๔ ข้นึ ไป

๒) รอ้ ยละ ๙๐ ของนกั เรยี น สามารถสื่อสารและนาเสนอผลงานโดย ยอดเยย่ี ม

ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ผลการประเมินระดบั ๔ ขึ้นไป

๓) ร้อยละ ๙๐ ของนกั เรียน มที กั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยี ยอดเย่ยี ม

สารสนเทศอย่างสรา้ งสรรคแ์ ละมีคณุ ธรรม ผลการประเมินระดบั ๔

ข้ึนไป

๕) มผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นตาม ๑) ร้อยละ ๘๕ ของนักเรียนมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลักสตู ร ดีเลิศ

หลักสตู รสถานศกึ ษา สถานศกึ ษาในกลมุ่ สาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผลการเรยี น

ระดบั ๒ ขึ้นไป

๒) รอ้ ยละ ๘๕ ของนักเรียนมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนตามหลกั สตู ร ดีเลิศ

สถานศึกษาในกลุ่มสาระฯ คณติ ศาสตร์ ผลการเรียนระดับ ๒ ขน้ึ ไป

๓) ร้อยละ ๙๐ ของนกั เรียนมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลกั สตู ร ยอดเย่ยี ม
สถานศึกษาในกลมุ่ สาระฯ ภาษาไทย ผลการเรียนระดบั ๒ ขึน้ ไป

๔) ร้อยละ ๙๐ ของนักเรียนมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสตู ร ยอดเยีย่ ม
สถานศึกษาในกลุ่มสาระฯ สังคมศกึ ษาฯ ผลการเรยี นระดบั ๒
ขน้ึ ไป

๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผเู้ รียน (ต่อ)

ประเดน็ พิจารณา รายการตวั ช้ีวดั และคา่ เป้าหมายความสาเร็จ ระดบั คณุ ภาพ

๕) รอ้ ยละ ๘๕ ของนักเรยี นมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลักสูตร ดีเลิศ

สถานศกึ ษาในกลุ่มสาระฯ ภาษาตา่ งประเทศ ผลการเรียนระดับ ๒

ขึ้นไป

๖) รอ้ ยละ ๙๐ ของนักเรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสตู ร ยอดเยย่ี ม

สถานศึกษาในกลุ่มสาระฯ การงานอาชพี ผลการเรียนระดับ ๒

ขึ้นไป

๗) ร้อยละ ๙๐ ของนกั เรียนมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลักสตู ร ยอดเยย่ี ม

สถานศกึ ษาในกลมุ่ สาระฯ ศลิ ปะ ผลการเรยี นระดบั ๒ ขนึ้ ไป

๘) ร้อยละ ๙๐ ของนกั เรยี นมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสูตร ยอดเยย่ี ม

สถานศกึ ษาในกล่มุ สาระฯ สขุ ศึกษาฯ ผลการเรยี นระดับ ๒ ข้ึนไป

๖) มคี วามรู้ ทกั ษะพนื้ ฐาน และเจตคติ ๑) รอ้ ยละ ๘๕ ของนักเรยี นมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสตู ร ดเี ลศิ

ทด่ี ตี อ่ งานอาชีพ สถานศึกษาในกลุ่มสาระฯ การงานอาชพี รายวิชาผลิตไดข้ ายเป็น
ผลการเรียนระดบั ๓ ขึน้ ไป

๒) ร้อยละ ๘๐ ของนักเรียนตามโครงการพฒั นาหลกั สตู รสู่ความเป็น ดีเลศิ

เลศิ ด้านภาษาจนี มีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นตามหลักสตู ร

สถานศึกษาในกลมุ่ สาระฯ ภาษาตา่ งประเทศ รายวิชาภาษาจีน

ผลการเรียนระดับ ๓ ขึ้นไป

๓) รอ้ ยละ ๘๐ ของนกั เรยี นตามโครงการพัฒนาหลักสตู รสู่ความเปน็ ดีเลศิ

เลศิ ด้านคอมพิวเตอร์ มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลักสตู ร

สถานศกึ ษาในกลมุ่ สาระฯ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

รายวิชาคอมพิวเตอร์ ผลการเรียนระดบั ๓ ข้นึ ไป

๔) ร้อยละ ๙๕ ของนกั เรียนตามโครงการพัฒนาหลกั สตู รสคู่ วาม ยอดเยย่ี ม
เปน็ เลิศดา้ นฟุตบอล ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลกั สูตร
สถานศึกษาในกลุ่มสาระฯ สุขศกึ ษาและพลศึกษา รายวิชาฟุตบอล

ผลการเรยี นระดบั ๓ ข้ึนไป

๕) ร้อยละ ๘๕ ของนกั เรยี นตามโครงการพฒั นาหลกั สตู รสู่ความเป็น ดีเลิศ
เลิศด้านวอลเลย์บอล มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลกั สูตร
สถานศึกษาในกลุ่มสาระฯ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา
รายวชิ าวอลเลย์บอล ผลการเรยี นระดบั ๓ ข้ึนไป

๖) รอ้ ยละ ๙๐ ของนกั เรียนตามโครงการพัฒนาหลักสตู รสู่ความเปน็ ยอดเยี่ยม

เลศิ ด้านอาหารไทย มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตามหลกั สูตร
สถานศกึ ษาในกลุ่มสาระฯ การงานอาชพี รายวิชาอาหารไทย
ผลการเรยี นระดบั ๓ ขึน้ ไป

๑.๑ ผลสัมฤทธิท์ างวิชาการของผูเ้ รียน (ตอ่ )

ประเด็นพิจารณา รายการตัวช้ีวดั และค่าเป้าหมายความสาเร็จ ระดบั คณุ ภาพ
ยอดเย่ียม
๗) ร้อยละ ๙๐ ของนักเรยี นตามโครงการพัฒนาหลักสตู รสคู่ วาม
ดี
เปน็ เลศิ ดา้ นสงิ่ ประดษิ ฐ์ มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตร
ดเี ลิศ
สถานศกึ ษาในกลมุ่ สาระฯ การงานอาชพี รายวชิ างานประดษิ ฐ์
ดเี ลิศ
ผลการเรียนระดบั ๓ ขึน้ ไป
ดีเลิศ
๘) ร้อยละ ๗๕ ของนักเรียนตามโครงการพัฒนาหลักสตู รสคู่ วาม

เปน็ เลิศด้านกตี า้ ร์ มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนตามหลักสูตร

สถานศกึ ษาในกลมุ่ สาระฯ ศลิ ปะ รายวชิ ากตี าร์ ผลการเรยี นระดบั

๓ ขึ้นไป

๙) รอ้ ยละ ๘๐ ของนกั เรียนตามโครงการพัฒนาหลกั สตู รสู่ความ

เป็นเลิศดา้ นภาษาญปี่ นุ่ มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลักสตู ร

สถานศึกษาในกลมุ่ สาระฯ ภาษาต่างประเทศ รายวิชาภาษาญี่ปนุ่

ผลการเรยี นระดับ ๓ ข้ึนไป

๑๐) ร้อยละ ๘๐ ของนกั เรียนตามโครงการพฒั นาหลกั สูตรสคู่ วาม

เปน็ เลิศดา้ นงานชา่ ง มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลักสูตร

สถานศึกษาในกลุ่มสาระฯ การงานอาชีพ รายวิชางานชา่ ง

ผลการเรยี นระดบั ๓ ขน้ึ ไป

๑๑) รอ้ ยละ ๘๐ ของนกั เรยี นตามโครงการพัฒนาหลกั สูตรสคู่ วาม

เปน็ เลิศดา้ นดนตรไี ทย มีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนตามหลักสตู ร

สถานศึกษาในกลุ่มสาระฯ ศลิ ปะ รายวชิ าดนตรไี ทย ผลการเรียน

ระดบั ๓ ขน้ึ ไป

๑.๒ คุณลักษณะท่พี งึ ประสงคข์ องผู้เรียน

ประเดน็ พจิ ารณา รายการตัวช้ีวัดและค่าเป้าหมายความสาเร็จ ระดบั คุณภาพ
ยอดเยี่ยม
๑) การมคี ณุ ลักษณะและค่านยิ มท่ดี ี ๑) ร้อยละ ๑๐๐ ของนกั เรยี นมคี วามจงรกั ภกั ดีตอ่ รักชาติ ศาสน์
ยอดเยี่ยม
ตามที่สถานศึกษากาหนด กษตั ริย์ ผลการประเมินระดบั ๒ ขึ้นไป
ยอดเย่ียม
๒) ร้อยละ ๙๕ ของนกั เรียนมคี วามซ่ือสตั ย์ สุจริต ผลการประเมนิ ยอดเยี่ยม

ระดับ ๒ ขึ้นไป ยอดเยี่ยม

๓) ร้อยละ ๙๕ ของนกั เรียนมีวินยั ผลการประเมนิ ระดบั ๒ ขึ้นไป ยอดเยย่ี ม

๔) ร้อยละ ๙๕ ของนกั เรยี นใฝ่เรยี นรู้ ผลการประเมนิ ระดบั ๒ ยอดเยี่ยม

ขึ้นไป ยอดเยี่ยม

๕) รอ้ ยละ ๙๕ ของนกั เรยี นอยู่อย่างพอเพียง ผลการประเมินระดบั

๒ ขึน้ ไป

๖) ร้อยละ ๙๕ ของนกั เรยี นมคี วามมงุ่ มนั่ ในการทางาน

ผลการประเมินระดบั ๒ ขึ้นไป

๗) รอ้ ยละ ๙๕ ของนกั เรยี นมีความรกั ความเปน็ ไทย

ผลการประเมินระดับ ๒ ขึน้ ไป

๘) รอ้ ยละ ๙๕ ของนกั เรียนผ้เู รยี นมีจติ สาธารณะ

ผลการประเมนิ ระดบั ๒ ขน้ึ ไป

ประเด็นพจิ ารณา รายการตัวช้ีวดั และค่าเป้าหมายความสาเรจ็ ระดับคุณภาพ

๒) ความภมู ิใจในท้องถน่ิ และความ ๑) รอ้ ยละ ๙๕ ของนกั เรียน นยิ มไทย เหน็ คุณค่าในภูมปิ ัญญา ยอดเยี่ยม

เป็นไทย ทอ้ งถ่นิ ภมู ิปญั ญาไทย ภมู ใิ จในวฒั นธรรมและความเปน็ ไทย

ผลการประเมินระดับ ๒ ขึน้ ไป

๒) รอ้ ยละ ๙๕ ของนักเรียน มีจิตสานึกในการอนรุ ักษแ์ ละพัฒนา ยอดเยี่ยม

สิง่ แวดลอ้ ม ผลการประเมินระดบั ๒ ข้ึนไป

๓) การยอมรับท่จี ะอยรู่ ว่ มกันบนความ ๑) ร้อยละ ๙๐ ของนักเรียนมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลักสูตร ยอดเยี่ยม

แตกต่างและหลากหลาย สถานศกึ ษาในกลมุ่ สาระฯ สังคมศึกษาฯ รายวิชาหน้าทพี่ ลเมอื ง

ผลการเรยี นระดับ ๒ ขนึ้ ไป

๔) สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสงั คม ๑) ร้อยละ 90 ของนกั เรยี น มีสุขนิสัยในการดูแลสขุ ภาพและออก ยอดเยี่ยม

กา่ ลงั กายสม่าเสมอ และมสี มรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน

2) รอ้ ยละ 90 ของนักเรียน มพี ัฒนาการทางร่างกาย และการ ยอดเยี่ยม

เจรญิ เตบิ โตตามเกณฑ์มาตรฐาน

3) ร้อยละ 90 ของนักเรยี น เหน็ คุณค่าในตนเอง มคี วามมันใจ ยอดเยี่ยม

กล้าแสดงออกอยา่ งเหมาะสม

4) รอ้ ยละ 90 ของนักเรยี น มมี นุษยสมั พันธท์ ีดใี หเ้ กยี รติผอู้ นื และ ยอดเยย่ี ม

อยู่ร่วมกับคนอนื อยา่ งมีความสขุ

๕) ใฝเ่ รยี นรคู้ คู่ ุณธรรม ๑) ร้อยละ ๙๐ ของนกั เรียน เป็นคนช่างสังเกตอยากรู้อยากเห็น ยอดเยย่ี ม

(อตั ลักษณ์ของนักเรียน) มีความพยายามและตง้ั ใจ มีความขยนั และอดทน มคี วาม

รับผดิ ชอบ มคี วามม่นั ใจในตนเอง การกลา้ คิดริเร่มิ การศึกษา

ค้นควา้ ดว้ ยตนเอง การมเี หตุผล ผลการประเมนิ ระดบั ๔ ขนึ้ ไป

๒) รอ้ ยละ ๙๐ ของนักเรียน ประพฤตติ นถกู ตอ้ งตามกฎระเบยี บของ ยอดเยย่ี ม

โรงเรยี น เกบ็ ส่งิ ของผู้อ่ืนได้นาไปแจง้ เพ่อื สง่ คืนเจา้ ของ ปฏิบัตงิ านท่ี

ได้รับมอบหมายไดส้ าเร็จดว้ ยดี ทิ้งขยะถกู ที่และรกั ษาความสะอาด

บรเิ วณโรงเรยี น ผลการประเมนิ ระดับ ๔ ขึน้ ไป

มาตรฐานท่ี ๒ ด้านการบริหารและการจดั การ ระดบั คณุ ภาพ ดีเลิศ(๔)

ประเด็นพจิ ารณา รายการตัวช้ีวัดและคา่ เป้าหมายความสาเรจ็ ระดบั คุณภาพ

๑) มเี ป้าหมายวิสยั ทัศน์และพันธกิจท่ี ๑) สถานศกึ ษามีการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ไว้ ดเี ลิศ

สถานศกึ ษากาหนดชัดเจน อย่างชดั เจนสอดคลอ้ งกับบริบทของสถานศึกษา ความตอ้ งการของ

ชมุ ชน ท้องถนิ่ วัตถุประสงค์ของแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ นโยบาย

ของรฐั บาลและของต้นสงั กดั รวมทง้ั ทนั ต่อการเปลยี่ นแปลงของ

สังคม ผลการประเมินระดบั ๔ ขึ้นไป

๒) มรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของ ๑) สถานศกึ ษามีระบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษาที ดีเลศิ

สถานศกึ ษา ชัดเจน มปี ระสิทธิภาพ ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา

ของสถานศึกษา ผลการประเมนิ ระดับ 4 ขึน้ ไป

มาตรฐานที่ ๒ ด้านการบรหิ ารและการจดั การ (ต่อ)

ประเด็นพิจารณา รายการตวั ชี้วดั และคา่ เปา้ หมายความสาเรจ็ ระดบั คุณภาพ

๓) ดาเนินงานพฒั นาวชิ าการที่เนน้ ๑) สถานศกึ ษามกี ารพฒั นาหลกั สตู รท่ีเนน้ คุณภาพผู้เรียนรอบดา้ น ดเี ลศิ

คุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลกั สูตร เชอื่ มโยงวถิ ีชวี ิตจรงิ และครอบคลมุ ทุกกลุ่มเปา้ หมาย ดีเลศิ
สถานศกึ ษา และทกุ กล่มุ เปา้ หมาย ผลการประเมินระดบั ๔ ข้ึนไป

๒) สถานศึกษามกี ิจกรรมเสริมหลกั สตู รทีเ่ น้นคณุ ภาพผ้เู รียนรอบ

ด้าน เช่ือมโยงวิถชี วี ิตจริง และครอบคลุมทุกกล่มุ เปา้ หมาย

ผลการประเมนิ ระดับ ๔ ขนึ้ ไป

๓) สถานศึกษามีการประเมินหลกั สตู รสถานศกึ ษา ดีเลศิ

ผลการประเมนิ ระดับ ๔ ขน้ึ ไป

๔) สถานศกึ ษามกี ารนาผลการประเมินไปพัฒนาหลกั สตู ร ดีเลิศ

สถานศกึ ษา ผลการประเมนิ ระดับ ๔ ขน้ึ ไป

๔) พัฒนาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความ ๑) สถานศึกษามแี ผนพฒั นาวชิ าชีพของครแู ละบุคลากร ดเี ลศิ

เชีย่ วชาญทางวิชาชีพ ผลการประเมนิ ระดบั ๔ ขน้ึ ไป

๒) สถานศึกษามีการดาเนนิ การพฒั นาครูและบุคลากรตาม ดเี ลศิ

แผนพฒั นาวชิ าชพี ผลการประเมนิ ระดับ ๔ ขนึ้ ไป

๓) สถานศกึ ษามีการประเมินผลการพฒั นาครแู ละบุคลากรอย่างเป็น ดีเลศิ

ระบบ ผลการประเมินระดับ ๔ ข้ึนไป

๔) สถานศึกษามกี ารนาผลประเมินไปใช้ในการวางแผนพัฒนาครู ดเี ลศิ

และบคุ ลากร (ในรปู แบบ SAR) ผลการประเมินระดับ ๔ ขึน้ ไป

๕) จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและ ๑) สถานศกึ ษามอี าคารเรียนที่เพยี งพอ ใช้การได้ดี และสะอาด ดีเลศิ

สังคมท่ีเอ้อื ต่อการจดั การเรียนรอู้ ยา่ งมี ถกู สุขลกั ษณะ ตามมาตรฐานโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา ผลการประเมิน

คุณภาพ ระดบั ๔ ข้ึนไป

๒) สถานศกึ ษามีสภาพแวดล้อม สะอาด ปลอดภัย มพี ้นื ทส่ี ีเขียว ดเี ลิศ

รม่ รนื่ เพยี งพอสาหรบั นักเรยี น ตามมาตรฐานโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา

ผลการประเมนิ ระดับ ๔ ขึ้นไป

๓) สถานศกึ ษาดาเนนิ การจัดระบบป้องกนั การบาดเจบ็ และสรา้ ง ดีเลิศ

เสรมิ ความปลอดภัย ตามมาตรฐานโรงเรียนมัธยมศกึ ษา ผลการ

ประเมนิ ระดับ ๔ ขน้ึ ไป

๖) จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื ๑) สถานศกึ ษามีระบบการจัดหา การพัฒนาเทคโนโลยสี ารสนเทศ ดีเลศิ

สนับสนนุ การบรหิ ารจัดการและการ เพ่ือใชใ้ นการบรหิ ารจัดการและการจัดการเรยี นรู้ ทเ่ี หมาะสมกับ

จัดการเรยี นรู้ สภาพของสถานศึกษา ผลการประเมนิ ระดบั ๔ ขน้ึ ไป

๒) สถานศึกษามีการบริการเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพ่ือใช้ในการ ดีเลศิ

บริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ท่ีเหมาะสมกบั สภาพของ

สถานศกึ ษา ผลการประเมนิ ระดบั ๔ ข้ึนไป

๗) เปน็ องค์กรแหง่ การเรยี นรู้ ๑) สถานศึกษาเปน็ องค์กรแหง่ การเรียนรู้ ผลการประเมินระดบั ๔ ดีเลิศ

(เอกลักษณ์ของสถานศกึ ษา) ขึ้นไป

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคญั ระดับคุณภาพ ยอดเย่ยี ม(๕)

ประเด็นพิจารณา รายการตัวชี้วดั และคา่ เป้าหมายความสาเร็จ ระดบั คุณภาพ

๑) จดั การเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการคิด ๑) ร้อยละ ๙๕ ของครู มคี วามสามารถในการจดั ทาแผนการจดั การ ยอดเยย่ี ม

และปฏบิ ตั ิจรงิ และสามารถนาไป เรียนร้ทู ี่สอดคลอ้ งกับหลักสตู รสถานศึกษา ผลการประเมินระดบั ๔

ประยุกต์ใชใ้ นชีวิตได้ ขึ้นไป

๒) รอ้ ยละ ๘๕ ของครู จดั การเรยี นรู้ Active Learning ดเี ลศิ

ผลการประเมนิ ระดับ ๔ ข้ึนไป

๓) รอ้ ยละ ๙๕ ของครู มกี ารใช้เทคนคิ การสอนที่หลากหลาย ยอดเยี่ยม

ผลการประเมนิ ระดับ ๔ ข้ึนไป

๒) ใช้สอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ ๑) ร้อยละ ๙๕ ของครู พัฒนาและใช้สอ่ื การสอน สอ่ื เทคโนโลยีและ ยอดเยย่ี ม

และแหล่งเรยี นรู้ที่เออื้ ต่อการเรียนรู้ แหลง่ เรยี นรู้ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ ที่สอดคลอ้ งกบั ตัวชวี้ ัด

ผลการประเมินระดับ 4 ขน้ึ ไป

๓) มีการบรหิ ารจดั การชนั้ เรยี นเชงิ ๑) รอ้ ยละ ๙๕ ของครู สร้างปฏิสัมพันธท์ ่ีดีกบั นักเรียน ยอดเยย่ี ม

บวก ผลการประเมินระดบั ๔ ขนึ้ ไป

๒) ร้อยละ ๙๕ ของครู เปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นมสี ่วนรว่ มในการสรา้ ง ยอดเยย่ี ม

วนิ ัย ข้อตกลงและแนวทางการเรยี นรู้และการปฏบิ ตั ติ นในการอยู่

ร่วมกนั ผลการประเมนิ ระดบั ๔ ขึ้นไป

๓) ร้อยละ ๙๕ ของครู สง่ เสรมิ การสรา้ งมติ รภาพระหวา่ งนกั เรยี น ยอดเย่ยี ม

ผลการประเมนิ ระดบั ๔ ขึ้นไป

๔) ตรวจสอบและประเมนิ นกั เรยี น ๑) ร้อยละ ๙๕ ของครู มขี อ้ มูลนกั เรียนเปน็ รายบุคคล และนาไป ยอดเย่ยี ม

อย่างเปน็ ระบบและนาผลมาพัฒนา วางแผนจดั การเรยี นการสอน ผลการประเมินระดบั ๔ ข้นึ ไป

ผูเ้ รียน ๒) ร้อยละ ๙๕ ของครู มแี ผนการวัดและประเมินผลนักเรียน ยอดเยีย่ ม

ชดั เจน ผลการประเมินระดับ ๔ ขึน้ ไป

๓) ร้อยละ ๙๕ ของครู มกี ารวิเคราะห์ผลการเรยี นของนกั เรยี น ยอดเย่ียม

และนาผลมาพฒั นาให้นกั เรียนบรรลุตามตัวช้วี ดั /ผลการเรียนรู้ของ

หลักสูตร ผลการประเมิน ๔ ขนึ้ ไป

๕) มีการแลกเปลย่ี นเรียนรู้และให้ ๑) รอ้ ยละ ๙๕ ของครู มีการแลกเปลยี่ นเรยี นรทู้ างวิชาการ ยอดเยี่ยม

ข้อมลู สะทอ้ นกลับเพือ่ พัฒนาและ ภาคเรยี นละ ๒๕ ช่ัวโมง ผลการประเมนิ ระดบั ๔ ขึ้นไป

ปรับปรุงการจัดการเรยี นรู้ ๒) ร้อยละ ๙๕ ของครูและผูม้ ีส่วนเกี่ยวขอ้ งรว่ มกันแลกเปลย่ี น ยอดเยี่ยม

ความรูแ้ ละประสบการณ์รวมทง้ั ใหข้ ้อมูลป้อนกลับเพอ่ื นาไปใชใ้ น

การปรับปรงุ และพฒั นาการจดั การเรยี นรู้ ภาคเรียนละ ๒ ครั้ง

ผลการประเมนิ ระดับ ๔ ขนึ้ ไป

๓) รอ้ ยละ ๘๕ ของครูและบคุ ลากรใชก้ ระบวนการ PLC ดเี ลิศ

ในการพัฒนางาน ผลการประเมินระดบั ๔ ขน้ึ ไป

หมายเหตุ

เกณฑก์ ารตัดสนิ ระดับคุณภาพของมาตรฐาน มี ๕ ระดบั ดังนี้

-ระดับยอดเยย่ี ม รอ้ ยละ ๙๐ ขนึ้ ไป

-ระดบั ดีเลิศ รอ้ ยละ ๘๐.๐๐ – ๘๙.๙๙

-ระดับดี ร้อยละ ๗๐.๐๐ – ๗๙.๙๙

-ระดบั ปานกลาง รอ้ ยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙

-ระดบั กาลงั พฒั นา นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๖๐.๐๐

ประกาศโรงเรียนเมอื งพลพิทยาคม
เรือ่ ง มาตรฐานการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน ระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
เพ่อื การประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษาและคา่ เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔
----------------------------------------------------------------------------------

พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พุทธศกั ราช ๒๕๔๒ และแก้ไขเพ่ิมเตมิ ถึง (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๔๓ มาตรา ๔๑
กาหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ มสี ิทธิจดั การศกึ ษาระดับใดระดับหนงึ่ หรอื ทกุ ระดับตามความพรอ้ มความเหมาะสมและ
ความตอ้ งการภายในท้องถ่ิน ประกอบกบั มาตรา ๔๗ กาหนดใหม้ รี ะบบประกนั คณุ ภาพการศึกษาเพอื่ พฒั นาคุณภาพและ
มาตรฐานการศกึ ษาทกุ ระดับ ประกอบด้วยระบบประกันคุณภาพภายในและระบบประกนั คุณภาพภายนอก กฎกระทรวง
การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ.๒๕๖๑ ข้อ ๓ กาหนดให้สถานศกึ ษา แต่ละแห่งจัดใหม้ ีระบบการประกนั คณุ ภาพภายใน
สถานศกึ ษา การกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานการศึกษาแตล่ ะระดบั และประเภท
การศกึ ษาทรี่ ฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารประกาศกาหนด ซง่ึ กระทรวงศึกษาการไดป้ ระกาศใหใ้ ชม้ าตรฐานระดบั
ปฐมวยั ระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษ เมือ่ วันที่ ๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ เพื่อเปน็ หลักเทียบเคียงใน
การพฒั นา สง่ เสริม สนบั สนุนกากบั ดแู ลและติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา และเพือ่ ให้เป็นไปตามกฎหมายกาหนด
กระทรวงมหาดไทยไดย้ กเลกิ ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือ่ งมาตรฐานการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานและมาตรฐานปฐมวัยเพ่ือการ
ประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาสงั กดั องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ ลงวันที่ ๓๐ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๗ และได้ประกาศ
มาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวยั มาตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานและแนวทางปฏบิ ัติการประกนั คณุ ภาพ
การศกึ ษาเพื่อการประกนั คุณภาพภายในโรงเรยี นสังกัดองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ เมอ่ื วันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๑ โดย
กาหนดใหส้ ถานศึกษาสงั กดั องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ทจี่ ดั การศกึ ษาระดบั ปฐมวัยและการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ดาเนินการ
ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรอื่ งใหใ้ ชม้ าตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวัย ระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ศูนย์การศึกษา
พเิ ศษ ประกาศ ณ วนั ที่ ๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ อาศยั อานาจตามความในพระราชบญั ญตั เิ ทศบาล ๒๔๙๖ แก้ไข
เพมิ่ เติมถึงฉบบั ที่ ๑๓ พ.ศ. ๒๕๕๒ มาตรา ๕๐ มาตรา ๕๓ และมาตรา ๕๖ และพระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ
พ.ศ. ๒๕๔๒ และแกไ้ ขเพิ่มเติมถงึ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๓ มาตรา ๔๑ จึงประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานเพ่ือ
การประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาและค่าเปา้ หมายการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ของโรงเรียน
เมืองพลพิทยาคม ยโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ในการประชุมคร้ังท่ี ๒/๒๕๖๔ เมอ่ื วันท่ี ๖
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ ตามเอกสารแนบท้ายประกาศฉบับนี้

ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

(นายอานาจ ปราบหนองบัว) (นายประสาน กองทอง)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ผอู้ านวยการโรงเรียนเมอื งพลพิทยาคม

โรงเรยี นเมอื งพลพทิ ยาคม

-๑-

มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา แนบท้ายประกาศโรงเรียนเมืองพลพิทยาคม
เร่อื ง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน เพอ่ื การประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา

และค่าเป้าหมายการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔
ลงวนั ท่ี ๑๖ เดอื น พฤษภาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

----------------------------------

มาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑ มจี านวน ๓ มาตรฐาน ได้แก่
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผเู้ รียน
๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรยี น
๑.๒ คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ของผเู้ รยี น
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั

แตล่ ะมาตรฐานมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผเู้ รียน

๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผู้เรยี น
๑) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การสื่อสารและการคิดคานวณ
๑.๑.๑.๑) รอ้ ยละ ๙๐ ของผู้เรียนมีของผู้เรยี นมีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของวิชาภาษาไทยพื้นฐาน

ผลการเรียนระดบั ๒ ขน้ึ ไป
๑.๑.๑.๒) รอ้ ยละ ๘๕ ของผเู้ รยี นมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของวิชาภาษาอังกฤษพนื้ ฐาน ผลการ

เรยี นระดับ ๒ ขึ้นไป
๑.๑.๑.๓) รอ้ ยละ ๘๕ ของผู้เรยี นมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของวชิ าภาษาจนี ผลการเรยี นระดับ

๒ ข้นึ ไป
๑.๑.๑.๔) รอ้ ยละ ๘๕ ของผเู้ รียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของวชิ าคณติ ศาสตร์พ้นื ฐาน ผลการ

เรยี นระดับ ๒ ขึน้ ไป
๒) มีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลี่ยนความคิดเหน็ และ

แกป้ ัญหา
๑.๑.๒.๑) รอ้ ยละ ๘๐ ของผู้เรยี น ในระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๑-๖ มีผลการประเมิน

ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอย่างมวี ิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลย่ี นความคิดเห็นและแก้ปัญหา ระดบั ๓
๓) มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม
๑.๑.๓.๑) ร้อยละ ๘๕ ของผู้เรยี น มผี ลงาน / โครงการ / โครงงาน /ส่งิ ประดษิ ฐ์/ ชน้ิ งาน STEM

อยา่ งนอ้ ยจานวน ๑ ช้นิ ตอ่ ๑ คน ( ม. ตน้ , ม. ปลาย)
๔) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร
๑.๑.๔.๑) ร้อยละ ๙๐ ของผู้เรียน สามารถใช้อินเทอร์เน็ตเพ่อื การเรียนรู้ การส่อื สาร การทางาน

ผลการประเมินระดับ ๔ ขึ้นไป

-๒-

๑.๑.๔.๒) ร้อยละ ๙๐ ของผู้เรยี น สามารถสื่อสารและนาเสนอผลงานโดยใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศ ผลการประเมินระดบั ๔ ขน้ึ ไป

๑.๑.๔.๓) รอ้ ยละ ๙๐ ของผู้เรยี น มีทักษะในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างสรา้ งสรรค์และมี
คุณธรรม ผลการประเมินระดับ ๔ ข้นึ ไป

๕) มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนตามหลักสตู รสถานศกึ ษา
๑.๑.๕.๑) รอ้ ยละ ๘๕ ของผู้เรยี นมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลักสตู รสถานศกึ ษาในกลุ่มสาระฯ

วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผลการเรยี นระดับ ๒ ขนึ้ ไป
๑.๑.๕.๒) ร้อยละ ๘๕ ของผู้เรียนมผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลักสตู รสถานศึกษาในกลมุ่ สาระฯ

คณติ ศาสตร์ ผลการเรียนระดบั ๒ ข้นึ ไป
๑.๑.๕.๓) ร้อยละ ๙๐ ของผู้เรยี นมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษาในกลมุ่ สาระฯ

ภาษาไทย ผลการเรยี นระดับ ๒ ขน้ึ ไป
๑.๑.๕.๔) รอ้ ยละ ๙๐ ของผู้เรยี นมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาในกลุ่มสาระฯ

สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ผลการเรียนระดบั ๒ ข้นึ ไป
๑.๑.๕.๕) ร้อยละ ๘๕ ของผู้เรยี นมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสตู รสถานศึกษาในกล่มุ สาระฯ

ภาษาตา่ งประเทศ ผลการเรียนระดบั ๒ ขึน้ ไป
๑.๑.๕.๖) รอ้ ยละ ๙๐ ของผู้เรียนมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศกึ ษาในกลุ่มสาระฯ

การงานอาชีพ ผลการเรยี นระดับ ๒ ข้นึ ไป
๑.๑.๕.๗) ร้อยละ ๙๐ ของผู้เรยี นมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศกึ ษาในกลุ่มสาระฯ

ศลิ ปะ ผลการเรียนระดบั ๒ ข้ึนไป
๑.๑.๕.๘) ร้อยละ ๙๐ ของผู้เรยี นมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาในกลมุ่ สาระฯ

สขุ ศึกษาฯ ผลการเรียนระดับ ๒ ขึน้ ไป
๑.๑.๕.๙) ค่าคะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละผลการทดสอบระดับชาติข้ันพืน้ ฐาน (O-NET) ของผู้เรยี น

ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ และระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖ สูงกว่าค่าคะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละระดับประเทศ โดยโรงเรยี นกาหนด
กระบวนการวธิ กี ารในการพฒั นาท่ชี ดั เจน เป็นที่ยอมรับและเปน็ แบบอยา่ งได้

๖) มคี วามรู้ ทักษะพืน้ ฐาน และเจตคติที่ดตี อ่ งานอาชพี
๑.๑.๖.๑) ร้อยละ ๘๕ ของผู้เรียนมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นตามหลักสตู รสถานศึกษาในกลุม่ สาระฯ

การงานอาชีพ รายวิชาผลติ ไดข้ ายเป็น ผลการเรียนระดับ ๓ ขึ้นไป
๑.๑.๖.๒) รอ้ ยละ ๘๐ ของผู้เรียนตามโครงการพฒั นาหลกั สตู รสคู่ วามเป็นเลิศดา้ นภาษาจีน

มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลักสตู รสถานศึกษาในกลุ่มสาระฯ ภาษาตา่ งประเทศ รายวิชาภาษาจนี ผลการเรยี นระดบั ๓
ขน้ึ ไป

๑.๑.๖.๓) รอ้ ยละ ๘๐ ของผู้เรียนตามโครงการพัฒนาหลักสูตรสู่ความเปน็ เลิศดา้ นคอมพวิ เตอร์
มผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาในกลมุ่ สาระฯ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวิชาคอมพวิ เตอร์ ผลการ
เรยี นระดับ ๓ ขึน้ ไป

-๓-

๑.๑.๖.๔) รอ้ ยละ ๙๕ ของผู้เรยี นตามโครงการพฒั นาหลกั สตู รส่คู วามเป็นเลิศด้านฟุตบอล
ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนตามหลักสูตรสถานศกึ ษาในกลมุ่ สาระฯ สุขศึกษาและพลศกึ ษา รายวชิ าฟตุ บอล
ผลการเรียนระดับ ๓ ขึ้นไป

๑.๑.๖.๕) รอ้ ยละ ๘๕ ของผู้เรียนตามโครงการพฒั นาหลกั สูตรสคู่ วามเปน็ เลิศด้านวอลเลย์บอล
มีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษาในกล่มุ สาระฯ สุขศึกษาและพลศกึ ษา รายวชิ าวอลเลยบ์ อล ผลการเรียน
ระดับ ๓ ขึน้ ไป

๑.๑.๖.๖) รอ้ ยละ ๙๐ ของผู้เรียนตามโครงการพฒั นาหลกั สตู รส่คู วามเป็นเลิศดา้ นอาหารไทย
มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษาในกลุม่ สาระฯ การงานอาชีพ รายวิชาอาหารไทย ผลการเรียนระดบั ๓
ขึน้ ไป

๑.๑.๖.๗) รอ้ ยละ ๙๐ ของผู้เรยี นตามโครงการพฒั นาหลกั สูตรสคู่ วามเป็นเลศิ ดา้ นส่ิงประดิษฐ์
มีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษาในกลุ่มสาระฯ การงานอาชีพ รายวิชางานประดิษฐ์
ผลการเรียนระดับ ๓ ข้ึนไป

๑.๑.๖.๘) รอ้ ยละ ๗๕ ของผู้เรยี นตามโครงการพัฒนาหลักสูตรสู่ความเป็นเลิศดา้ นกตี า้ ร์
มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษาในกลมุ่ สาระฯ ศิลปะ รายวิชากตี าร์ ผลการเรียนระดบั ๓ ขนึ้ ไป

๑.๑.๖.๙) รอ้ ยละ ๘๐ ของผู้เรียนตามโครงการพัฒนาหลกั สูตรสคู่ วามเป็นเลิศดา้ นภาษาญป่ี ุ่น
มีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษาในกลุม่ สาระฯ ภาษาต่างประเทศ รายวชิ าภาษาญ่ปี ่นุ ผลการเรียนระดับ
๓ ข้ึนไป

๑.๑.๖.๑๐) ร้อยละ ๘๐ ของผู้เรียนตามโครงการพัฒนาหลักสูตรสู่ความเป็นเลศิ ดา้ นงานชา่ ง
มผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาในกลมุ่ สาระฯ การงานอาชพี รายวชิ างานช่าง ผลการเรียนระดบั ๓ ข้ึนไป

๑.๑.๖.๑๑) รอ้ ยละ ๘๐ ของผู้เรียนตามโครงการพัฒนาหลักสูตรส่คู วามเปน็ เลิศด้านดนตรไี ทย
มผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาในกลมุ่ สาระฯ ศิลปะ รายวิชาดนตรีไทย ผลการเรยี นระดับ ๓ ขน้ึ ไป

๑.๒ คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ของผเู้ รยี น
๑) การมีคุณลกั ษณะและค่านิยมที่ดีตามท่สี ถานศึกษากาหนด
๑.๒.๑.๑) รอ้ ยละ ๑๐๐ ของผู้เรยี นมีความจงรกั ภกั ดีตอ่ รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ผลการประเมิน

ระดบั ๒ ข้นึ ไป
๑.๒.๑.๒) ร้อยละ ๙๕ ของผู้เรียนมีความซ่อื สตั ย์ สจุ ริต ผลการประเมนิ ระดบั ๒ ขน้ึ ไป
๑.๒.๑.๓) ร้อยละ ๙๕ ของผ้เู รียนมีวนิ ัย ผลการประเมนิ ระดับ ๒ ขึน้ ไป
๑.๒.๑.๔) ร้อยละ ๙๕ ของผู้เรียนใฝเ่ รียนรู้ ผลการประเมินระดบั ๒ ขนึ้ ไป
๑.๒.๑.๕) ร้อยละ ๙๕ ของผู้เรยี นอยู่อย่างพอเพียง ผลการประเมินระดบั ๒ ข้ึนไป
๑.๒.๑.๖) รอ้ ยละ ๙๕ ของผเู้ รียนมีความม่งุ มนั่ ในการทางาน ผลการประเมินระดบั ๒ ขน้ึ ไป
๑.๒.๑.๗) ร้อยละ ๙๕ ของผู้เรียนมคี วามรกั ความเปน็ ไทย ผลการประเมนิ ระดับ ๒ ขน้ึ ไป
๑.๒.๑.๘) รอ้ ยละ ๙๕ ของผเู้ รยี นผู้เรียนมีจติ สาธารณะ ผลการประเมินระดับ ๒ ขึน้ ไป

-๔–

๒) ความภูมใิ จในทอ้ งถ่นิ และความเป็นไทย
๑.๒.๒.๑) รอ้ ยละ ๙๕ ของผู้เรียน นยิ มไทย เห็นคุณค่าในภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ ภมู ิปญั ญาไทย

ภมู ใิ จในวัฒนธรรมและความเป็นไทย ผลการประเมินระดับ ๔ ขึน้ ไป
๑.๒.๒.๒) ร้อยละ ๙๕ ของผู้เรยี น มีจติ สานกึ ในการอนรุ กั ษ์และพฒั นาสิง่ แวดล้อม ผลการ

ประเมินระดับ ๔ ขน้ึ ไป
๓) การยอมรบั ทจ่ี ะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย
๑.๒.๓.๑) ร้อยละ ๙๐ ของผู้เรยี นมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาในกลุ่มสาระฯ

สังคมศกึ ษาฯ รายวชิ าหน้าท่พี ลเมือง ผลการเรียนระดบั ๒ ขน้ึ ไป
๔) สขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจิตสงั คม
๑.๒.๔.๑) ร้อยละ ๙๐ ของผู้เรียนมีสุขภาพกาย และมนี า้ หนัก ส่วนสูง และสมรรถภาพทาง

กายตามเกณฑ์มาตรฐาน ผลการประเมนิ ระดบั ๔ ขึน้ ไป
๑.๒.๔.๒) ร้อยละ ๙๕ ของผู้เรยี นไม่เก่ียวขอ้ งกับสิ่งเสพติด และแกป้ ัญหาโดยไม่ใช้ความรุนแรง

ผลการประเมนิ ระดับ ๔ ข้ึนไป
๑.๒.๔.๓) รอ้ ยละ ๙๕ ของผู้เรียนมคี วามรู้สกึ ซาบซง้ึ ในศิลปะ ทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศลิ ป์

และวรรณศิลป์ ผลการประเมินระดับ ๔ ขึ้นไป
๑.๒.๔.๔) ร้อยละ ๙๕ ของผู้เรยี นมคี วามสนใจเขา้ รว่ มกจิ กรรมกีฬาและนนั ทนาการ ผลการ

ประเมนิ ระดบั ๔ ข้นึ ไป
๑.๒.๔.๕) รอ้ ยละ ๙๐ ของผู้เรียนอยู่รว่ มกนั ในสังคมได้อยา่ งมีความสขุ ไมท่ าความเดือดรอ้ น

ใหก้ ับผู้อื่น ผลการประเมินระดบั ๔ ข้ึนไป
๕) ใฝ่เรยี นร้คู ่คู ณุ ธรรม
๑.๒.๕.๑) รอ้ ยละ ๙๐ ของผู้เรยี นเปน็ คนชา่ งสังเกตอยากรอู้ ยากเหน็ มคี วามพยายามและตัง้ ใจ

มคี วามขยนั และอดทน มีความรบั ผิดชอบ มคี วามม่นั ใจในตนเอง การกลา้ คิดริเรม่ิ การศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเอง การมี
เหตุผล ผลการประเมนิ ระดับ ๔ ขนึ้ ไป

๑.๒.๕.๒) ร้อยละ ๙๐ ของผู้เรยี นประพฤตติ นถูกต้องตามกฎระเบยี บของโรงเรยี น เกบ็ สงิ่ ของ
ผู้อนื่ ไดน้ าไปแจง้ เพือ่ ส่งคนื เจา้ ของ ปฏบิ ัตงิ านที่ได้รับมอบหมายได้สาเร็จดว้ ยดี ทิง้ ขยะถูกทีแ่ ละรักษาความสะอาดบรเิ วณ
โรงเรียน ผลการประเมนิ ระดบั ๔ ข้นึ ไป
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ

๒.๑ มีเปา้ หมายวสิ ัยทัศนแ์ ละพนั ธกิจทส่ี ถานศึกษากาหนดชัดเจน
๒.๑.๑) โรงเรยี นมกี ารกาหนดเป้าหมาย วิสัยทศั น์ และพนั ธกจิ ไวอ้ ยา่ งชดั เจนสอดคล้องกับบรบิ ท

ของสถานศึกษา ความตอ้ งการของชุมชน ท้องถ่ิน วตั ถุประสงค์ของแผนการศกึ ษาแห่งชาติ นโยบายของรฐั บาลและของ
ต้นสังกดั รวมท้ังทนั ตอ่ การเปล่ียนแปลงของสังคม ผลการประเมินระดับ ๔ ขึ้นไป

๒.๒ มีระบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษา
๒.๒.๑) โรงเรียนมีการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาไวอ้ ยา่ งชดั เจนสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของ

สถานศกึ ษา ความตอ้ งการของชุมชน ท้องถนิ่ ผลการประเมนิ ระดบั ๔ ขึ้นไป

-๕-

๒.๒.๒) โรงเรียนมีการนาแผนพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาไปปฏิบัตเิ พื่อพฒั นาคุณภาพการศึกษา
ผลการประเมนิ ระดบั ๔ ขน้ึ ไป

๒.๒.๓) โรงเรียนมีการติดตาม ตรวจสอบประเมนิ ผลการดาเนินงานตามโครงการ กจิ กรรม ผลการ
ประเมินระดบั ๔ ขึ้นไป

๒.๒.๔) โรงเรยี นมีการนาผลการประเมิน มาใชใ้ นการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ผลการ
ประเมินระดับ ๔ ขึน้ ไป

๒.๒.๕) โรงเรยี นมรี ะบบการบริหารอัตรากาลัง ผลการประเมินระดับ ๔ ข้ึนไป
๒.๒.๖) โรงเรียนมรี ะบบการบริหารทรัพยากรทางการศกึ ษา ผลการประเมินระดับ ๔ ข้นึ ไป
๒.๒.๗) โรงเรยี นมรี ะบบดูแลช่วยเหลือนกั เรยี นตามเกณฑ์ ผลการประเมินระดบั ๔ ขึน้ ไป
๒.๒.๘) โรงเรยี นมีระบบนิเทศภายในตามกระบวนการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษาอย่าง
เปน็ ระบบ ผลการประเมินระดบั ๔ ข้นึ ไป
๒.๒.๙) คณะกรรมการสถานศึกษา บุคลากร และผู้มสี ว่ นเก่ยี วขอ้ งแสดงความคิดเหน็ ตัดสนิ ใจ
รับผดิ ชอบและแก้ไขปัญหาจากผลการดาเนินงานรว่ มกัน ผลการประเมินระดับ ๔ ขึ้นไป
๒.๓ ดาเนินงานพัฒนาวิชาการทีเ่ น้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลกั สูตรสถานศึกษา และทุกกล่มุ เปา้ หมาย
๒.๓.๑) โรงเรยี นมกี ารพฒั นาหลกั สูตรที่เน้นคุณภาพผูเ้ รยี นรอบด้าน เช่อื มโยงวถิ ชี วี ติ จริง และ
ครอบคลุมทกุ กลุ่มเป้าหมาย ผลการประเมินระดบั ๔ ข้นึ ไป
๒.๓.๒) โรงเรียนมกี ิจกรรมเสริมหลกั สูตรทีเ่ น้นคณุ ภาพผู้เรยี นรอบดา้ น เชือ่ มโยงวิถชี วี ติ จรงิ และ
ครอบคลุมทุกกลมุ่ เป้าหมาย ผลการประเมนิ ระดบั ๔ ขนึ้ ไป
๒.๓.๓) โรงเรียนมกี ารประเมนิ หลกั สูตรสถานศกึ ษา ผลการประเมินระดับ ๔ ขน้ึ ไป
๒.๓.๔) โรงเรยี นมกี ารนาผลการประเมนิ ไปพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา ผลการประเมนิ ระดบั ๔
ขึน้ ไป
๒.๔ พฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม้ คี วามเชยี่ วชาญทางวิชาชีพ
๒.๔.๑) โรงเรียนมีแผนพฒั นาวชิ าชพี ของครแู ละบุคลากร ผลการประเมนิ ระดบั ๔ ข้ึนไป
๒.๔.๒) โรงเรียนมกี ารดาเนนิ การพฒั นาครูและบคุ ลากรตามแผนพฒั นาวชิ าชพี ผลการประเมนิ
ระดับ ๔ ขน้ึ ไป
๒.๔.๓) โรงเรยี นมีการประเมนิ ผลการพฒั นาครูและบุคลากรอยา่ งเป็นระบบ ผลการประเมิน
ระดับ ๔ ขึ้นไป
๒.๔.๔) โรงเรียนมกี ารนาผลประเมินไปใช้ในการวางแผนพัฒนาครแู ละบุคลากร (ในรูปแบบ SAR)
ผลการประเมินระดับ ๔ ข้นึ ไป
๒.๕ จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจดั การเรยี นรู้อยา่ งมีคณุ ภาพ
๒.๕.๑) โรงเรียนมอี าคารเรยี นท่ีเพยี งพอ ใชก้ ารไดด้ ี และสะอาดถกู สุขลักษณะ ตามมาตรฐาน
โรงเรยี นมัธยมศึกษา ผลการประเมนิ ระดบั ๔ ขึ้นไป
๒.๕.๒) โรงเรียนมีสภาพแวดล้อม สะอาด ปลอดภยั มพี น้ื ท่สี เี ขยี วรม่ รน่ื เพียงพอสาหรับ
นักเรยี นตามมาตรฐานโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา ผลการประเมนิ ระดับ ๔ ขึ้นไป

-๖-

๒.๕.๓) โรงเรยี นดาเนินการจัดระบบป้องกนั การบาดเจบ็ และสรา้ งเสริมความปลอดภยั
ตามมาตรฐานโรงเรยี นมธั ยมศึกษา ผลการประเมินระดับ ๔ ขึ้นไป

๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ สนบั สนุนการบรหิ ารจัดการและการจดั การเรียนรู้
๒.๖.๑) โรงเรยี นมีระบบการจดั หา การพฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศ เพอื่ ใช้ในการบรหิ ารจดั การ

และการจดั การเรยี นรู้ ทเ่ี หมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา ผลการประเมนิ ระดบั ๔ ข้นึ ไป
๒.๖.๒) โรงเรียนมีการบริการเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอ่ื ใชใ้ นการบรหิ ารจดั การและการจัดการ

เรียนรู้ ทเ่ี หมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา ผลการประเมนิ ระดบั ๔ ขน้ึ ไป
๒.๗ เป็นองคก์ รแหง่ การเรยี นรู้
๒.๗.๑) โรงเรียนเป็นองค์กรแหง่ การเรียนรู้ ผลการประเมนิ ระดับ ๔ ขนึ้ ไป

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ
๓.๑ จดั การเรยี นร้ผู า่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ัตจิ รงิ และสามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ได้
๓.๑.๑) ร้อยละ ๙๕ ของครมู คี วามสามารถในการจัดทาแผนการจัดการเรยี นรทู้ ส่ี อดคล้องกับ

หลักสูตรสถานศกึ ษา ผลการประเมนิ ระดบั ๔ ขึ้นไป
๓.๑.๒) ร้อยละ ๘๕ ของครู จัดการเรยี นรู้ Active Learning ผลการประเมนิ ระดับ ๔ ขนึ้ ไป
๓.๑.๓) รอ้ ยละ ๙๕ ของครมู ีการใช้เทคนคิ การสอนท่หี ลากหลาย ผลการประเมินระดบั ๔ ข้ึนไป

๓.๒ ใชส้ อ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรทู้ เ่ี อ้อื ตอ่ การเรยี นรู้
๓.๒.๑) ๑) ร้อยละ ๙๕ ของครู พัฒนาและใช้ส่อื การสอน ส่อื เทคโนโลยแี ละแหลง่ เรียนรู้

ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น ทส่ี อดคล้องกับตวั ช้วี ดั ผลการประเมนิ ระดับ 4 ขึ้นไป
๓.๓ มีการบริหารจัดการชั้นเรยี นเชิงบวก
๓.๓.๑) รอ้ ยละ ๙๕ ของครู สร้างปฏสิ ัมพนั ธท์ ี่ดกี ับนกั เรยี น ผลการประเมินระดบั ๔ ขนึ้ ไป
๓.๓.๒) รอ้ ยละ ๙๕ ของครู เปดิ โอกาสให้นักเรยี นมสี ว่ นรว่ มในการสรา้ งวินยั ข้อตกลงและแนว

ทางการเรียนร้แู ละการปฏบิ ตั ติ นในการอย่รู ว่ มกัน ผลการประเมนิ ระดบั ๔ ขึน้ ไป
๓.๓.๓) ร้อยละ ๙๕ ของครู ส่งเสริมการสรา้ งมิตรภาพระหวา่ งผู้เรียน ผลการประเมนิ ระดบั ๔

ขน้ึ ไป
๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอยา่ งเปน็ ระบบ และนาผลมาพฒั นาผเู้ รยี น
๓.๔.๑) รอ้ ยละ ๙๕ ของครู มีข้อมูลนักเรียนเป็นรายบคุ คล และนาไปวางแผนจัดการเรียนการ

สอน ผลการประเมนิ ระดับ ๔ ขนึ้ ไป
๓.๔.๒) ร้อยละ ๙๕ ของครู มีแผนการวดั และประเมนิ ผลนักเรียนชดั เจน ผลการประเมนิ ระดับ

๔ ข้นึ ไป
๓.๔.๓) ร้อยละ ๙๕ ของครู มีการวเิ คราะห์ผลการเรยี นของนักเรยี นและนาผลมาพฒั นาให้

นักเรยี นบรรลุตามตวั ชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ของหลักสูตร ผลการประเมินระดับ ๔ ขึ้นไป

-๗-

๓.๕ มีการแลกเปล่ียนเรยี นรแู้ ละใหข้ ้อมูลสะทอ้ นกลับเพอ่ื พฒั นาและปรับปรงุ การจดั การเรยี นรู้
๓.๕.๑) รอ้ ยละ ๙๕ ของครู มีการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ทางวิชาการ ภาคเรียนละ ๒๕ ชั่วโมง

ผลการประเมินระดับ ๔ ขึน้ ไป
๓.๕.๒) ร้อยละ ๙๕ ของครูและผ้มู ีสว่ นเก่ียวข้องรว่ มกันแลกเปลยี่ นความรแู้ ละประสบการณ์

รวมทงั้ ให้ขอ้ มลู ปอ้ นกลับเพื่อนาไปใช้ในการปรบั ปรุงและพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ ภาคเรยี นละ ๒ ครง้ั ผลการประเมินระดับ
๔ ขึน้ ไป

๓.๕.๓) รอ้ ยละ ๘๕ ของครูและบุคลากรใชก้ ระบวนการ PLC ในการพฒั นางาน
ผลการประเมนิ ระดับ ๔ ขน้ึ ไป

ขก ๕๑๐๐๘.๒ /ว๗๔๘ โรงเรียนเมืองพลพทิ ยาคม
ตาบลลอมคอม อาเภอพล

จังหวัดขอนแกน่ ๔๐๑๒๐

๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

เรื่อง เชิญผู้ทรงคณุ วฒุ ิเป็นคณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา

เรียน นายอานาจ ปราบหนองบัว ประธานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐานโรงเรียนเมอื งพลพิทยาคม

สง่ิ ท่สี ่งมาดว้ ย แบบตอบรบั ผทู้ รงคณุ วฒุ กิ ารประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

ดว้ ยโรงเรยี นเมืองพลพิทยาคม อาเภอพล จงั หวัดขอนแกน่ สังกดั องค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัดขอนแก่น
ดาเนนิ การจดั ทารายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๔ ซึ่งเป็นการ
ดาเนินการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาตามมาตรฐานการศึกษา ตามระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา

ในการน้ี โรงเรียนเมอื งพลพิทยาคม ใคร่ขอเรยี นเชิญท่านเป็นผทู้ รงคุณวุฒขิ องคณะกรรมการประเมนิ
คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๔ รายละเอียดตามแบบตอบรบั สิ่งทีแ่ นบมาพร้อมหนงั สือ
ฉบับนี้

จงึ เรียนมาเพื่อโปรดพจิ ารณา

ขอแสดงความนบั ถอื

(นายประสาน กองทอง)
ผู้อานวยการโรงเรยี นเมอื งพลพิทยาคม

ฝา่ ยวชิ าการ
โทรศัพท์ ๐๔๓-๐๐๙๘๖๑
โทรสาร ๐๔๓-๐๐๙๖๑๖
นางสมุ าลี ภูศรีออ่ น โทร. ๐๘ ๕๒๕๕ ๒๙๖๖

ขก ๕๑๐๐๘.๒ /ว๗๔๘ โรงเรียนเมอื งพลพทิ ยาคม
ตาบลลอมคอม อาเภอพล
จงั หวัดขอนแกน่ ๔๐๑๒๐

๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

เรือ่ ง เชิญผทู้ รงคุณวฒุ เิ ปน็ คณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา

เรยี น ดร.ฉลาด เสรมิ ปัญญา คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานโรงเรียนเมืองพลพิทยาคม

ส่ิงทส่ี ่งมาดว้ ย แบบตอบรบั ผทู้ รงคุณวฒุ กิ ารประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

ด้วยโรงเรียนเมอื งพลพทิ ยาคม อาเภอพล จงั หวัดขอนแก่น สังกดั องค์การบริหารสว่ นจังหวดั ขอนแก่น
ดาเนินการจัดทารายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ซ่ึงเป็นการ
ดาเนนิ การประเมินคุณภาพการศกึ ษาตามมาตรฐานการศึกษา ตามระบบประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา

ในการน้ี โรงเรยี นเมืองพลพทิ ยาคม ใครข่ อเรียนเชญิ ท่านเปน็ ผทู้ รงคุณวุฒขิ องคณะกรรมการประเมนิ
คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา ๒๕๖๔ รายละเอียดตามแบบตอบรบั ส่งิ ที่แนบมาพร้อมหนงั สือ
ฉบับนี้

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดพิจารณา

ขอแสดงความนับถือ

(นายประสาน กองทอง)
ผู้อานวยการโรงเรยี นเมืองพลพทิ ยาคม

ฝา่ ยวิชาการ
โทรศพั ท์ ๐๔๓-๐๐๙๘๖๑
โทรสาร ๐๔๓-๐๐๙๖๑๖
นางสุมาลี ภูศรีออ่ น โทร. ๐๘ ๕๒๕๕ ๒๙๖๖

ขก ๕๑๐๐๘.๒ /ว๗๔๘ โรงเรยี นเมอื งพลพทิ ยาคม
ตาบลลอมคอม อาเภอพล
จังหวัดขอนแกน่ ๔๐๑๒๐

๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

เรือ่ ง เชิญผทู้ รงคุณวฒุ ิเปน็ คณะกรรมการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษา

เรยี น นางเปรมจิต เจริญไว คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐานโรงเรยี นเมอื งพลพิทยาคม

ส่ิงทส่ี ่งมาดว้ ย แบบตอบรบั ผ้ทู รงคุณวฒุ กิ ารประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

ด้วยโรงเรียนเมืองพลพทิ ยาคม อาเภอพล จงั หวดั ขอนแก่น สงั กัดองค์การบริหารสว่ นจงั หวัดขอนแก่น
ดาเนินการจัดทารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ซงึ่ เป็นการ
ดาเนนิ การประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา ตามระบบประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา

ในการนี้ โรงเรยี นเมอื งพลพทิ ยาคม ใครข่ อเรียนเชญิ ทา่ นเป็นผทู้ รงคุณวุฒขิ องคณะกรรมการประเมนิ
คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ รายละเอยี ดตามแบบตอบรับสิ่งทแ่ี นบมาพร้อมหนงั สือ
ฉบับนี้

จึงเรียนมาเพ่อื โปรดพิจารณา

ขอแสดงความนบั ถือ

(นายประสาน กองทอง)
ผอู้ านวยการโรงเรียนเมอื งพลพิทยาคม

ฝา่ ยวิชาการ
โทรศพั ท์ ๐๔๓-๐๐๙๘๖๑
โทรสาร ๐๔๓-๐๐๙๖๑๖
นางสุมาลี ภูศรีออ่ น โทร. ๐๘ ๕๒๕๕ ๒๙๖๖

ขก ๕๑๐๐๘.๒ /ว๗๔๘ โรงเรยี นเมอื งพลพิทยาคม
ตาบลลอมคอม อาเภอพล
จังหวดั ขอนแก่น ๔๐๑๒๐

๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

เรือ่ ง เชญิ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิเปน็ คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา

เรยี น ดร.ธนาศักดิ์ ศริ ปิ ณุ ยนนั ท์

สง่ิ ท่สี ่งมาดว้ ย แบบตอบรบั ผู้ทรงคุณวฒุ กิ ารประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

ด้วยโรงเรียนเมืองพลพทิ ยาคม อาเภอพล จังหวัดขอนแก่น สงั กัดองค์การบริหารสว่ นจังหวัดขอนแก่น
ดาเนนิ การจดั ทารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ซง่ึ เปน็ การ
ดาเนินการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาตามมาตรฐานการศึกษา ตามระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

ในการน้ี โรงเรยี นเมอื งพลพิทยาคม ใคร่ขอเรียนเชญิ ท่านเป็นผู้ทรงคุณวุฒขิ องคณะกรรมการประเมิน
คุณภาพภายในของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ รายละเอียดตามแบบตอบรับสงิ่ ทีแ่ นบมาพร้อมหนงั สอื
ฉบับนี้

จงึ เรยี นมาเพอื่ โปรดพจิ ารณา

ขอแสดงความนับถือ

(นายประสาน กองทอง)
ผู้อานวยการโรงเรยี นเมอื งพลพทิ ยาคม

ฝา่ ยวิชาการ
โทรศัพท์ ๐๔๓-๐๐๙๘๖๑
โทรสาร ๐๔๓-๐๐๙๖๑๖
นางสมุ าลี ภูศรีออ่ น โทร. ๐๘ ๕๒๕๕ ๒๙๖๖

ขก ๕๑๐๐๘.๒ /ว๗๔๘ โรงเรยี นเมอื งพลพทิ ยาคม
ตาบลลอมคอม อาเภอพล
จังหวัดขอนแก่น ๔๐๑๒๐

๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

เรอื่ ง เชิญผ้ทู รงคุณวุฒิเป็นคณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา

เรยี น นายจตั พุ ร ภศู รีออ่ น

สง่ิ ทสี่ ่งมาดว้ ย แบบตอบรับผทู้ รงคณุ วุฒกิ ารประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

ด้วยโรงเรียนเมืองพลพทิ ยาคม อาเภอพล จังหวัดขอนแกน่ สงั กดั องค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั ขอนแกน่
ดาเนนิ การจดั ทารายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ซึ่งเป็นการ
ดาเนินการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา ตามระบบประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา

ในการน้ี โรงเรียนเมืองพลพทิ ยาคม ใครข่ อเรยี นเชิญท่านเป็นผทู้ รงคุณวุฒขิ องคณะกรรมการประเมิน
คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ รายละเอียดตามแบบตอบรับสงิ่ ท่แี นบมาพร้อมหนงั สอื
ฉบับน้ี

จงึ เรียนมาเพอ่ื โปรดพิจารณา

ขอแสดงความนับถอื

(นายประสาน กองทอง)
ผูอ้ านวยการโรงเรยี นเมอื งพลพิทยาคม

ฝา่ ยวชิ าการ
โทรศพั ท์ ๐๔๓-๐๐๙๘๖๑
โทรสาร ๐๔๓-๐๐๙๖๑๖
นางสุมาลี ภูศรีออ่ น โทร. ๐๘ ๕๒๕๕ ๒๙๖๖

แบบตอบรบั ผูท้ รงคณุ วฒุ คิ ณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

ขา้ พเจ้า นายอานาจ ปราบหนองบวั ตาแหนง่ ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พื้นฐาน
โรงเรียนเมืองพลพทิ ยาคม

 ยนิ ดี เปน็ ผู้ทรงคุณวุฒคิ ณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ปีการศกึ ษา
๒๕๖๔ ของโรงเรียนเมืองพลพทิ ยาคม

 ไมส่ ามารถเปน็ ผ้ทู รงคุณวฒุ ิคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา
๒๕๖๔ ของโรงเรียนเมอื งพลพิทยาคม เนือ่ งจาก......................................................................................................
...................................................................................................................................................................................

ลงชอื่
(นายอานาจ ปราบหนองบัว)

แบบตอบรบั ผทู้ รงคุณวุฒคิ ณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา
ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

ขา้ พเจา้ ดร.ฉลาด เสริมปัญญา ตาแหน่ง คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
โรงเรียนเมอื งพลพทิ ยาคม

 ยนิ ดี เปน็ ผทู้ รงคุณวฒุ ิคณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ของโรงเรยี นเมืองพลพทิ ยาคม

 ไม่สามารถเป็นผู้ทรงคณุ วุฒิคณะกรรมการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ของโรงเรยี นเมืองพลพทิ ยาคม เน่อื งจาก.................................................................................
...................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ
(ดร.ฉลาด เสริมปัญญา)

แบบตอบรบั ผ้ทู รงคุณวุฒคิ ณะกรรมการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
ปีการศึกษา ๒๕๖๔

ข้าพเจ้า นางเปรมจติ งานไว ตาแหน่ง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
โรงเรียนเมืองพลพทิ ยาคม

 ยนิ ดี เป็นผ้ทู รงคุณวฒุ คิ ณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ของโรงเรยี นเมอื งพลพทิ ยาคม

 ไม่สามารถเปน็ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ของโรงเรียนเมอื งพลพทิ ยาคม เนื่องจาก.................................................................................
...................................................................................................................................................................................

ลงช่อื
(นางเปรมจติ งานไว)

แบบตอบรบั ผทู้ รงคุณวฒุ คิ ณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
ปีการศึกษา ๒๕๖๔

ขา้ พเจา้ ดร.ธนาศกั ด์ิ ศริ ปิ ณุ ยนันท์ ตาแหนง่ ที่ปรึกษางานวชิ าการ โรงเรยี นเมืองพลพทิ ยาคม
 ยินดี เป็นผทู้ รงคุณวุฒิคณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา

ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ของโรงเรียนเมอื งพลพิทยาคม
 ไมส่ ามารถเปน็ ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิคณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา

ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ของโรงเรียนเมืองพลพทิ ยาคม เนอ่ื งจาก.................................................................................
...................................................................................................................................................................................

ลงชอื่
(ดร.ธนาศักด์ิ ศริ ปิ ุณยนันท์)

แบบตอบรบั ผู้ทรงคณุ วุฒิคณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

ข้าพเจ้า นายจัตพุ ร ภูศรีออ่ น ตาแหน่ง หวั หน้าสาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพล
พณิชยการ

 ยินดี เปน็ ผทู้ รงคุณวุฒิคณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ของโรงเรยี นเมืองพลพทิ ยาคม

 ไมส่ ามารถเป็นผูท้ รงคุณวุฒิคณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา
ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ของโรงเรียนเมืองพลพทิ ยาคม เน่ืองจาก.................................................................................
...................................................................................................................................................................................

ลงช่อื
(นายจัตพุ ร ภูศรีออ่ น)

คำส่งั โรงเรียนเมอื งพลพิทยำคม

ท่ี ๐๖๐/๒๕๖๕
เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมกำรดำเนินงำนประกันคณุ ภำพและมำตรฐำนกำรศึกษำ

ประจำปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๔ (เพิม่ เตมิ )

.................................................................................................................................
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ ระบุให้หน่วยงาน

ต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภา พภายใน
เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบรหิ ารการศึกษาท่ีต้องดาเนนิ การอย่างต่อเน่ือง โดยมีการจัดทารายงานประจาปีเสนอต่อ
หน่วยงานต้นสังกัด หนว่ ยงานท่เี กย่ี วขอ้ งและเปิดเผยต่อสาธารณชน เพ่อื นาไปสู่การพฒั นาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา

และเพ่ือรองรับการประกันคุณภาพภายนอก รวมถึงกฎกระทรวง “การประกันคุณภาพการศึกษา” พ.ศ. ๒๕๖๑
ในราชกิจจานเุ บกษา หนา้ ๓ เลม่ ๑๓๕ ตอนที่ ๑๑ ก วันที่ ๒๓ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑ ใหส้ ถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้

มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไป
ตามมาตรฐานการศกึ ษาแต่ละระดบั และประเภทการศกึ ษาที่รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ ารประกาศกาหนด พร้อม
ท้ังจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและดาเนินการตามแผนท่ี

กาหนดไว้ จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ติดตาม ผลการดาเนินการเพ่ือ
พฒั นาสถานศกึ ษาให้มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา

อาศัยประกาศคณะกรรมการกลางข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด เร่ือง มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการ
บริหารงานบุคคลข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา องค์การบริหารส่วนจังหวัด ประกาศ ณ วันท่ี ๔ เมษายน
พ.ศ. ๒๕๔๙ ให้องค์การบริหารส่วนจังหวัด นามาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารงานบุคคลพนักงานครูและ

บุคลากรทางการศกึ ษาของเทศบาล มาใช้บรหิ ารงานบุคคลขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา องคก์ ารบรหิ ารส่วน
จังหวัด และพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ มาตรฐานตาแหน่ง

ผอู้ านวยการสถานศึกษา ลักษณะงานท่ีปฏิบัติ ขอ้ ๑ บังคับบัญชาพนกั งานครแู ละบคุ ลากรในสถานศึกษา มอี านาจหนา้ ที่
บริหารกิจการของสถานศึกษา ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับนโยบายและวัตถุประสงค์ของสถานศึกษา
โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม จึงแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา

ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ดงั นี้

๑. คณะกรรมกำรสถำนศกึ ษำขนั้ พ้นื ฐำน ประกอบด้วย

๑.๑ นายอานาจ ปราบหนองบัว ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ประธานกรรมการ

๑.๒ นายวศิ ศิ ญ์ หนุนพาณชิ พงษ์ ผ้ทู รงคณุ วุฒิ รองประธานกรรมการ

๑.๓ นายคณติ เจตนว์ ทิ ยาชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิ รองประธานกรรมการ

๑.๔ พ.ต.ท.สมคิด นาหนอง ผแู้ ทนผูป้ กครอง กรรมการ

๑.๕ นายเวยี งชัย จรรยาศรี ผ้แู ทนครู กรรมการ

๑.๖ นายวรพงษ์ จอดพมิ าย ผแู้ ทนศษิ ยเ์ กา่ กรรมการ

๑.๗ พระมหาหนวู งษ์ สตสหสนตโต ผู้แทนพระภิกษุสงฆว์ ัดมิง่ เมอื งพลาราม กรรมการ

๑.๘ พระทองพนู สวสั ดิรักษ์ ผู้แทนพระภกิ ษุสงฆว์ ัดโพธาราม กรรมการ

๑.๙ ร.ต.บรรจง ม่งุ โนนบ่อ ผแู้ ทนองคก์ รชมุ ชน กรรมการ

๑.๑๐ นายพงษ์ หนิ กอก ผู้ทรงคณุ วุฒิ กรรมการ

/๑.๑๒ นายธนฤกษ.์ ..

-๒-

๑.๑๑ นายธนฤกษ์ ชนะวงศ์ ผู้ทรงคณุ วุฒิ กรรมการ
๑.๑๒ นางสาวฉลาด เสริมปญั ญา ผทู้ รงคุณวุฒิ กรรมการ

๑.๑๓ นางเปรมจิต งานไว ผทู้ รงคณุ วุฒิ กรรมการ
๑.๑๔ นายประสาน กองทอง ผอู้ านวยการโรงเรยี นเมืองพลพิทยาคม กรรมการและเลขานุการ

มีหนำ้ ท่ี ๑. เห็นชอบมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
๒. ให้คาปรึกษาและให้คาแนะนาคณะทางาน ให้การดาเนนิ งานประกนั คณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา

เป็นไปด้วยความเรียบร้อย
๓. นิเทศ กากบั ตดิ ตาม เสนอแนะ แกไ้ ข ปรบั ปรุง สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การดาเนินงานตามกรอบ

มาตรฐานการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานของโรงเรียน จานวน ๓ มาตรฐาน ๒๓ ประเดน็ พิจารณา

๔. เหน็ ชอบรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
๕. แก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ระหวา่ งการดาเนินงาน (ถ้าม)ี

๒. คณะกรรมกำรกำหนดมำตรฐำนกำรศกึ ษำของสถำนศกึ ษำ ประกอบดว้ ย

๒.๑ นายประสาน กองทอง ประธานกรรมการ

๒.๒ นายสุเทพ อ้นอมร รองประธานกรรมการ

๒.๓ นายพศั กร คาโคตร กรรมการ

๒.๔ นายเวียงชัย จรรยาศรี กรรมการ

๒.๕ นายจริ ะวัฒน์ นนั ททพิ รักษ์ กรรมการ

๒.๖ นายโกเมนทร์ นามวงษ์ กรรมการ

๒.๗ นางพชริ ารตั น์ ศริ ิปุณยนันท์ กรรมการ

๒.๘ นางจิตตวรี ์ จรญั วนั กรรมการ

๒.๙ นางสมถวิล รินสาธร กรรมการ

๒.๑๐ นางนกิ ร ประวนั ตา กรรมการ

๒.๑๑ นายธนาวนิ ส์ นนั ททิพรักษ์ กรรมการ

๒.๑๒ นางมยุรี เสนไสย กรรมการ

๒.๑๓ นายชาญชัย คาสแี ก้ว กรรมการ

๒.๑๔ นายจักรพันธ์ ทองผาย กรรมการ

๒.๑๕ นางวารณุ ี โพธิลกั ษณ์ กรรมการ

๒.๑๖ นางเรณู นนั ททิพรกั ษ์ กรรมการและเลขานุการ

๒.๑๗ นายจรญู ศักด์ิ รนิ สาธร กรรมการและผ้ชู ่วยเลขานกุ าร

๒.๑๘ นางสมุ าลี ภศู รีอ่อน กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ

๒.๑๙ นายสินธุ์ สมพี วง กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ

๒.๒๐ นางเพ็ญพกั ตร์ ใจภักดี กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร

๒.๒๑ นางนฤมล ไสยสาลี กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร

มหี น้ำท่ี ๑. วิเคราะห์มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มาตรฐาน
คณุ ภาพผ้เู รยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา อตั ลักษณ์ของผูเ้ รียน ความต้องการและบรบิ ทของสถานศึกษา เอกลักษณข์ อง
สถานศกึ ษา และความต้องการของชุมชนและท้องถนิ่

/๒. กาหนดค่าเป้าหมาย...

-๓-

๒. กาหนดค่าเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดข้ึนในสถานศึกษา เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการเทียบเคียงสาหรับ

การสง่ เสริมและกากับดแู ล การตรวจสอบ การประเมนิ ระดับคุณภาพและการประกันคณุ ภาพทางการศกึ ษา

๓. นาผลการประเมินคุณภาพในสถานศึกษาและผลการประเมินคุณภาพภายนอกมาวางแผนปรับปรุง

คณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา

๔. นิเทศ กากับ ติดตาม เสนอแนะ แกไ้ ข ปรบั ปรงุ สง่ เสริม สนบั สนนุ การดาเนินงานตามกรอบ

มาตรฐานการศึกษาขั้นพืน้ ฐานของโรงเรยี น จานวน ๓ มาตรฐาน ๒๓ ประเดน็ พจิ ารณา ดังนี้

๔.๑ นายสุเทพ อน้ อมร มาตรฐานท่ี ๑ (๑.๒), มาตรฐานที่ ๒ (๒.๕), (๒.๖)

มาตรฐานท่ี ๓ (๓.๓)

๔.๒ นางเรณู นันททพิ รกั ษ์ มาตรฐานที่ ๑ (๑.๑)

มาตรฐานที่ ๒ (๒.๑), (๒.๒), (๒.๓), (๒.๔), (๒.๗)

มาตรฐานที่ ๓ (๓.๑), (๓.๒), (๓.๔), (๓.๕)

๓. คณะกรรมกำรจัดทำแผนพัฒนำกำรจัดกำรศึกษำของสถำนศึกษำที่มุ่งคุณภำพตำมมำตรฐำนกำรศึกษำของ

สถำนศึกษำ ดำเนินกำรตำมแผน ติดตำมผลกำรดำเนินกำร ประเมินผลและตรวจสอบคุณภำพกำรศึกษำภำยใน

สถำนศึกษำ ประกอบดว้ ย

๓.๑ นายประสาน กองทอง ประธานกรรมการ

๓.๒ นายสเุ ทพ อ้นอมร รองประธานกรรมการ

๓.๓ นายพัศกร คาโคตร กรรมการ

๓.๔ นายเวยี งชยั จรรยาศรี กรรมการ

๓.๕ นายจิระวฒั น์ นนั ททิพรกั ษ์ กรรมการ

๓.๖ นายโกเมนทร์ นามวงษ์ กรรมการ

๓.๗ นางพชริ ารตั น์ ศริ ปิ ณุ ยนนั ท์ กรรมการ

๓.๘ นางจิตตวรี ์ จรญั วนั กรรมการ

๓.๙ นางสมถวลิ รนิ สาธร กรรมการ

๓.๑๐ นางนิกร ประวนั ตา กรรมการ

๓.๑๑ นายธนาวินส์ นันททิพรักษ์ กรรมการ

๓.๑๒ นางมยรุ ี เสนไสย กรรมการ

๓.๑๓ นายชาญชัย คาสแี ก้ว กรรมการ

๓.๑๔ นายจักรพนั ธ์ ทองผาย กรรมการ

๓.๑๕ นางวารุณี โพธิลักษณ์ กรรมการ

๓.๑๖ คณะครแู ละบุคลากรทางการศึกษาโรงเรยี นเมืองพลพทิ ยาคมทกุ คน กรรมการ

๓.๑๗ นางเรณู นนั ททิพรกั ษ์ กรรมการและเลขานุการ

๓.๑๘ นายจรูญศักด์ิ รนิ สาธร กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร

๓.๑๙ นางสุมาลี ภศู รีอ่อน กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ

๓.๒๐ นายสนิ ธุ์ สมีพวง กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ

๓.๒๑ นางเพญ็ พักตร์ ใจภกั ดี กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร

๓.๒๒ นางนฤมล ไสยสาลี กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ

/มีหนา้ ท่ี...

-๔-

มีหนำ้ ท่ี ๑. ศกึ ษาสภาพปัญหาและความต้องการทจี่ าเปน็ ของสถานศกึ ษาอย่างเป็นระบบ
๒. กาหนดวิสยั ทศั น์ พนั ธกจิ เป้าหมาย และความสาเรจ็ ของการพฒั นาไว้อย่างชดั เจนและเป็นรปู ธรรม

๓. กาหนดวิธีดาเนินงานที่มีหลักวิชา ผลการวิจัยหรือข้อมูลเชิงประจักษ์ที่อ้างอิงได้ ให้ครอบคลุม
การพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษาด้านการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ การส่งเสรมิ การเรยี นรู้ การวดั

และประเมนิ ผล การพฒั นาบุคลากร และการบรหิ ารจัดการ เพอ่ื นาไปสมู่ าตรฐานการศึกษาที่กาหนดไว้
๔. กาหนดแหล่งวทิ ยาการภายนอกท่ีให้การสนับสนนุ ทางวิชาการ
๕. กาหนดบทบาทหน้าที่ให้บุคลากรของสถานศกึ ษาและผู้เรียนรับผดิ ชอบและดาเนินงานตามที่กาหนด

อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
๖. กาหนดบทบาทหนา้ ท่ีและแนวทางการมีส่วนร่วมของ บิดา มารดา ผู้ปกครอง และองค์กรชมุ ชน

๗. กาหนดการใช้งบประมาณและทรัพยากรอยา่ งมีประสิทธิภาพ
๘. จดั ทาแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา
๙. ปฏิบัติงานตามแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมทีก่ าหนดไว้ในแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา

ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและบรรลุผลสาเร็จตามแผน
๑๐. ตดิ ตาม ตรวจสอบคุณภาพการดาเนนิ งานและประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน

๔. คณะกรรมกำรดำเนินงำนตำมมำตรฐำนกำรศกึ ษำ

มำตรฐำนท่ี ๑ คณุ ภำพของผเู้ รยี น

ผลการเรียนรู้ท่ีเป็นคุณภาพของผู้เรียนท้ังด้านผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการ ประกอบด้วยความสามารถในการอ่าน

การเขียน การส่ือสาร การคิดคานวณ การคิดประเภทต่าง ๆ การสร้างนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ

การสื่อสาร ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตร การมีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพและด้าน

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ที่เป็นค่านิยมที่ดีตามท่ีสถานศึกษากาหนด ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย การ

ยอมรับทจี่ ะอยู่ร่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย รวมทั้งสขุ ภาวะทางรา่ งกายและจิตสงั คม

ประเดน็ พิจำรณำ ๑.๑ ผลสัมฤทธ์ทิ ำงวิชำกำรของผ้เู รียน

นางเรณู นนั ททิพรกั ษ์ รองผูอ้ านวยการฝ่ายวชิ าการ กรรมการทป่ี รึกษา

ประเด็นพจิ ำรณำยอ่ ยที่ ๑ มีควำมสำมำรถในกำรอ่ำน กำรเขียน กำรสื่อสำรและกำรคดิ คำนวณ : ผเู้ รียนมที กั ษะใน

การอา่ น การเขียน การส่อื สารและการคิดคานวณตามเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากาหนด ในแตล่ ะระดบั ช้นั

๑. นางนกิ ร ประวนั ตา ประธานกรรมการ

๒. นางศุพรรณี ศรโี ยธา รองประธานกรรมการ

๓. นางสาวจรนิ ทรพ์ ร คาคอน กรรมการ

๔. นางนฤมล ไสยสาลี กรรมการ

๕. นายจักรี ฦาชา กรรมการและเลขานกุ าร

๖. นางสาวพรทิพย์ สพุ รรณ กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ

ประเด็นพจิ ำรณำย่อยท่ี ๒ มีควำมสำมำรถในกำรคิดวเิ ครำะห์ คดิ อย่ำงมีวจิ ำรณญำณ อภปิ รำย แลกเปลีย่ นควำม

คิดเหน็ และแกป้ ญั หำ : ผูเ้ รยี นมคี วามสามารถในการคิดแยกแยะ ใคร่ครวญไตรต่ รอง พจิ ารณาอยา่ งรอบคอบ โดยใช้

เหตุผลประกอบการตดั สินใจ มกี ารอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเหน็ และแกป้ ญั หาอยา่ งมเี หตุผล

๑. นางสมถวิล รนิ สาธร ประธานกรรมการ

๒. นายวรวุธ อคั รกตญั ญู รองประธานกรรมการ

๓. นางศติ าพร ธรรมมา กรรมการ

/๔. นางจินตนา...

-๕-

๔. นางจินตนา อสิ รพงศ์ กรรมการ
๕. นางสาวธญั ญารตั น์ คามวฒุ ิ กรรมการ

๖. นางมยรุ ี อน้ อมร กรรมการและเลขานุการ
๗. นางสาววาสนา เชื้อแพง กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ

ประเดน็ พจิ ำรณำย่อยท่ี ๓ มีควำมสำมำรถในกำรสร้ำงนวตั กรรม : ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการรวบรวมความรไู้ ด้

ทัง้ ด้วยตนเองและการทางานเปน็ ทมี เชื่อมโยงองคค์ วามร้แู ละประสบการณม์ าใชใ้ นการสรา้ งสรรค์สิ่งใหม่ ๆ อาจเป็น

แนวความคิด โครงการ โครงงาน ชน้ิ งาน ผลผลิต

๑. นายจกั รพนั ธ์ ทองผาย ประธานกรรมการ

๒. นางสาวศศมิ า นันทิยเภรี รองประธานกรรมการ

๓. นางสาวปิยะวรรณ มลุ าลี กรรมการ

๔. นางวิชริญฎา พรหมเยน็ กรรมการ

๕. นางอานวยพร ชนม์นภัทร กรรมการ

๖. นางศิรพิ ร เหงา้ ศรี กรรมการ

๗. นางเจิมขวญั อิสสระพงศ์ กรรมการ

๘. นางวิทชรียา ทองผาย กรรมการและเลขานกุ าร

๙. นายสุรชยั สุขรี กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร

ประเดน็ พิจำรณำย่อยที่ ๔ มีควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสอื่ สำร : ผ้เู รยี นมคี วามสามารถใน

การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารเพ่ือการพฒั นาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสอ่ื สาร การทางาน

อยา่ งสร้างสรรคแ์ ละมีคณุ ธรรม

๑. นายธนาวินส์ นันททพิ รกั ษ์ ประธานกรรมการ

๒. นางมุตจรนิ ทร์ ดีทะเล รองประธานกรรมการ

๓. นางสชุ ลี า สจุ ติ รกลุ กรรมการ

๔. นางสาวดลศจี มธรุ าพลิ าศ กรรมการ

๕. นางสาวขวัญเวยี ง มะโนเคร่ือง กรรมการ

๖. นางสาวไอยรณิ รัตต์ วงั ขนั ธ์ กรรมการ

๗. นางสาวหนึง่ ฤทัย พชั ราชวี ิน กรรมการ

๘. นายขวัญชยั หายหตั ถี กรรมการและเลขานกุ าร

๙. นางสาวคมคาย เจริญอนิ ทร์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

ประเด็นพิจำรณำย่อยที่ ๕ มีผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนตำมหลักสูตรสถำนศกึ ษำ : ผู้เรียนบรรลุและมีความก้าวหนา้ ใน

การเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาจากพ้ืนฐานเดิมในด้านความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการต่าง ๆ รวมท้ัง

ความก้าวหนา้ ในผลการทดสอบระดับชาติหรอื ผลการทดสอบอ่ืน ๆ

๑. นายจรูญศักดิ์ รนิ สาธร ประธานกรรมการ

๒. นางกาญจนา ประดบั วนั รองประธานกรรมการ

๓. นางปาริฉตั ร เมฆะสวุ รรณดิษฐ์ กรรมการ

/๕.นายรัตนชาติ...

๔. นายรัตนชาติ -๖- กรรมการ
๕. นางสมันตชดิ า กรรมการและเลขานุการ
๖. นายณฐั พล รตั นสมบัติ กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร
ฦาชา
พานนนท์

ประเดน็ พิจำรณำยอ่ ยที่ ๖ มีควำมรู้ ทกั ษะพ้นื ฐำนและเจตคติทด่ี ตี ่องำนอำชีพ : ผู้เรยี นมีความรู้ ทกั ษะพน้ื ฐาน

ในการจัดการ เจตคติทีด่ ี พร้อมท่ีจะศึกษาตอ่ ในระดบั ชนั้ ทส่ี งู ข้ึน การทางานหรืองานอาชีพ

๑. นายจรญู ศกั ดิ์ รินสาธร ประธานกรรมการ

๒. นางกาญจนา เทนอสิ ระ รองประธานกรรมการ

๓. นายพนมเทียน ท้าวนิล กรรมการ

๔. นางสาววรรณภิ า กองมี กรรมการ

๕. นางสธุ าสนิ ี กนั ยาสุด กรรมการและเลขานกุ าร

๖. นางหงสห์ ยก บวั แสง กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร

ประเด็นพิจำรณำท่ี ๑.๒ คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรยี น

นายสเุ ทพ อ้นอมร รองผอู้ านวยการฝ่ายบรกิ าร กรรมการทีป่ รึกษา

ประเดน็ พิจำรณำยอ่ ยที่ ๑ กำรมคี ณุ ลกั ษณะและคำ่ นิยมทีด่ ตี ำมท่สี ถำนศึกษำกำหนด : ผเู้ รียนมีพฤตกิ รรมเปน็ ผ้ทู ีม่ ี

คณุ ธรรม จริยธรรม เคารพในกฎกตกิ า มีคา่ นิยมและจติ สานกึ ตามที่สถานศึกษากาหนด โดยไมข่ ดั กบั กฎหมายและ

วฒั นธรรมอันดีของสังคม

๑. นายจิระวฒั น์ นันททพิ รักษ์ ประธานกรรมการ

๒. นายจรัส ที่รัก รองประธานกรรมการ

๓. นางสกุ ลั ยา แววไธสง กรรมการ

๔. นางสาวกญั ญา โทดามา กรรมการ

๕. นางวนั ชยาภรณ์ นนั ททพิ รักษ์ กรรมการ

๖. นายยทุ ธชัย แก้วเกิดเคน กรรมการ

๗. นายภวู นันท์ สายกลาง กรรมการ

๘. นางสาววรารตั น์ ศรบี ดุ ดา กรรมการและเลขานุการ

๙. นายวุฒไิ กร ปิดตาฝา้ ย กรรมการและผ้ชู ่วยเลขานุการ

ประเดน็ พิจำรณำยอ่ ยท่ี ๒ ควำมภมู ใิ จในทอ้ งถิ่นและควำมเปน็ ไทย : ผ้เู รยี นมคี วามภูมใิ จในท้องถิน่ เห็นคณุ ค่าของ

ความเปน็ ไทย มีส่วนร่วมในการอนุรกั ษว์ ัฒนธรรมและประเพณไี ทย รวมท้ังภมู ิปัญญาไทย

๑. นางมยรุ ี เสนไสย ประธานกรรมการ

๒. นางสุภารตั น์ พลยางนอก รองประธานกรรมการ

๓. นางสาวนวภทั ร ตระกูลพร กรรมการ

๔. นางสาววภิ าวี สมอหมอบ กรรมการ

๕. นายคุณานนท์ คานอ้ ย กรรมการ

๖. นายเสกสรร หารี กรรมการ

/๗. นางกรรณิกา...

-๗-

๗. นางกรรณกิ าร์ แก้วนอก กรรมการและเลขานกุ าร
๘. นายกวี แสนยามลู กรรมการและผูช้ ่วยเลขานุการ

ประเดน็ พิจำรณำย่อยท่ี ๓ กำรยอมรบั ทีจ่ ะอยรู่ ว่ มกนั บนควำมแตกตำ่ งและหลำกหลำย : ผู้เรียนยอมรับและอยรู่ ว่ มกนั

บนความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลในด้าน เพศ วัย เช้อื ชาติ ศาสนา ภาษา วัฒนธรรม ประเพณี

๑. นางมยุรี เสนไสย ประธานกรรมการ

๒. นางสุภารัตน์ พลยางนอก รองประธานกรรมการ

๓. นางสาวนวภทั ร ตระกลู พร กรรมการ

๔. นางสาววภิ าวี สมอหมอบ กรรมการ

๕. นายคุณานนท์ คาน้อย กรรมการ

๖. นายเสกสรร หารี กรรมการ

๗. นางกรรณิการ์ แกว้ นอก กรรมการและเลขานุการ

๘. นายกวี แสนยามูล กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร

ประเด็นพจิ ำรณำย่อยท่ี ๔ สุขภำวะทำงร่ำงกำยและจติ สงั คม : ผู้เรียนมีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจติ อารมณแ์ ละ

สังคม และแสดงออกอยา่ งเหมาะสมในแต่ละชว่ งวัย สามารถอยูร่ ่วมกบั คนอนื่ อย่างมีความสขุ เขา้ ใจผูอ้ ่นื ไมม่ คี วาม

ขัดแยง้ กับผอู้ ื่น

๑. นางวารุณี โพธิลักษณ์ ประธานกรรมการ

๒. นางอรวรรณ ธรรมทอง รองประธานกรรมการ

๓. นายพรี ะสันต์ ประไกรวนั กรรมการ

๔. นายเวยี งชัย จรรยาศรี กรรมการ

๕. นายพรี เดช เสนไสย กรรมการ

๖. นายสันตชิ ยั พรหมศลิ า กรรมการ

๗. นายปรีชา ปลอ้ งยาง กรรมการ

๘. นางสาวปฆรณี พรมกณั ฑ์ กรรมการ

๙. นายธนรัตน์ นามเดช กรรมการและเลขานกุ าร

๑๐. นางยวุ ดี แกว้ รักษา กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานุการ

ประเดน็ พจิ ำรณำยอ่ ยที่ ๕ ใฝ่เรยี นรู้คู่คณุ ธรรม (อตั ลกั ษณข์ องนักเรียน) :

ใฝเ่ รียนรู้ หมายถงึ การท่ีผู้เรียนมพี ฤตกิ รรมโดยรวม ดงั นี้ เป็นคนช่างสงั เกตอยากรู้อยากเห็น มีความ
พยายามและตงั้ ใจ มคี วามขยันและอดทน มีความรับผิดชอบ มีความมน่ั ใจในตนเอง การกล้าคิดรเิ ริ่ม การศกึ ษา
คน้ คว้าดว้ ยตนเอง การมีเหตุผล

คู่คุณธรรม หมายถึง การทผี่ ้เู รียนยึดถือและปฏบิ ตั ิตามพระบรมราโชวาทท่พี ระราชทานเร่อื งคณุ ธรรม ๔
ประการ ประกอบดว้ ย ๑. สัจจะ คอื การรกั ษาความสัจ ความจริงใจต่อตัวเอง ทจี่ ะประพฤติปฏิบตั ิแตส่ ิ่งท่เี ป็นประโยชน์
และเปน็ ธรรม ๒. ทมะ คอื การร้จู กั ข่มใจตนเอง ฝึกใจตนเอง ให้ประพฤติปฏิบัตอิ ยูใ่ นความสัตย์ ความดี ๓. ขันติ คือการ
อดทน อดกล้ัน และอดออม ไม่ประพฤติล่วงความสัจสุจรติ ไม่ว่าจะด้วยเหตุประการใด ๔. จาคะ คอื การรูจ้ ักละวาง

ความชั่ว ความทุจริต และรู้จกั เสียสละประโยชน์ส่วนน้อยของตนเพ่อื ประโยชน์ส่วนใหญ่ของบา้ นเมอื ง

/๑. นายจิระวัฒน.์ ..

-๘-

๑. นายจิระวฒั น์ นนั ททิพรักษ์ ประธานกรรมการ
๒. นายพศั กร คาโคตร รองประธานกรรมการ

๓. นางปรศิ นา คาโคตร กรรมการ
๔. นายอานนท์ ไรข่ าม กรรมการ

๕. นายธีระสันต์ ชว่ ยรักษา กรรมการ
๖. นายศราวธุ ศรยี างนอก กรรมการ
๗. นายธงชัย พรมลาย กรรมการ

๘. นายอนุรตั น์ มสุ กิ เสถยี ร กรรมการ
๙. นายชาครยี ์ นาชิต กรรมการ

๑๐. นายมนตรี สดุ เฉลยี ว กรรมการ
๑๑. นางสาววภิ าภรณ์ อา่ งบุญมี กรรมการ
๑๒. นางสาวณัฐกานต์ บุญแสน กรรมการและเลขานุการ

๑๓. นายชวนา ภสู สิ ิตร์ กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ

มำตรฐำนที่ ๒ กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร

เป็นการจัดระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา มีการกาหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจอย่าง

ชัดเจน สามารถดาเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา ในทุกกลุ่มเป้าหมาย

จัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ดาเนินการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางด้านวิชาชีพ และ

จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการและการเรียนรู้ รวมท้ังจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ

และสังคมท่เี อ้ือต่อการจดั การเรยี นรู้

ประเด็นพิจำรณำท่ี ๒.๑ มีเปำ้ หมำย วสิ ยั ทศั น์ และพันธกจิ ท่ีสถำนศึกษำกำหนดชัดเจน : สถานศกึ ษากาหนด

เปา้ หมาย วิสยั ทัศน์และพันธกิจ ไวอ้ ย่างชัดเจน สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษา ความต้องการของชมุ ชน ทอ้ งถ่ิน

วตั ถุประสงค์ของแผนการศกึ ษาแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาลและของตน้ สังกัด รวมทง้ั ทนั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงของสังคม

นางเรณู นนั ททิพรกั ษ์ รองผู้อานวยการฝา่ ยวิชาการ กรรมการที่ปรึกษา

๑. นางพชริ ารัชต์ ศริ ิปณุ ยนนั ท์ ประธานกรรมการ
๒. นางวงเดือน รุมฉิมพลี รองประธานกรรมการ
๓. นางนิตยา พรมเกตุ กรรมการ
๔. นางสาวยพุ เรส แสงบวั ท้าว กรรมการ

๕. นายสนิ ธ์ุ สมีพวง กรรมการและเลขานุการ
๖. นางสาวสภุ าพร ผลสนอง กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร

ประเดน็ พิจำรณำท่ี ๒.๒ มรี ะบบบริหำรจดั กำรคุณภำพของสถำนศึกษำ : สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการคุณภาพ

ของสถานศกึ ษาอยา่ งเป็นระบบ ท้งั ในส่วนการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา การนาแผนไปปฏิบตั ิเพ่อื พัฒนา

คุณภาพการศกึ ษา มีการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและปรับปรงุ พัฒนางานอยา่ งต่อเนอ่ื ง มีการบริหารอตั รากาลงั

ทรัพยากรทางการศกึ ษาและระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน มรี ะบบการนเิ ทศภายใน การนาข้อมลู มาใชใ้ นการพัฒนา

บคุ ลากรและผ้เู ก่ียวขอ้ ง ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการวางแผน ปรบั ปรุงและพัฒนา และร่วมรบั ผิดชอบตอ่ ผลการจัด

การศกึ ษา

นางเรณู นนั ททิพรกั ษ์ รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ กรรมการท่ปี รกึ ษา

/นางพชริ ารัตช์...

-๙-

๑. นางพชริ ารชั ต์ ศริ ปิ ุณยนันท์ ประธานกรรมการ
๒. นางสมุ าลี ภศู รอี อ่ น รองประธานกรรมการ

๓. นางยุพิน ลุนบง กรรมการ
๔. นางนิตยา พรมเกตุ กรรมการ

๕. นางสาวยพุ เรส แสงบัวทา้ ว กรรมการ
๖. นายสินธ์ุ สมพี วง กรรมการและเลขานกุ าร
๗. นางสาวสุภาพร ผลสนอง กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร

ประเด็นพิจำรณำที่ ๒.๓ ดำเนินงำนพฒั นำวิชำกำรที่เน้นคุณภำพของผู้เรียนรอบด้ำนตำมหลักสูตรสถำนศึกษำและ

ทกุ กลมุ่ เป้ำหมำย : สถานศกึ ษาบริหารจดั การเกยี่ วกับงานวิชาการ ทั้งด้านการพัฒนาหลักสูตร กิจกรรมเสรมิ หลกั สูตรที่

เน้นคณุ ภาพผ้เู รียนรอบดา้ น เช่อื มโยงวถิ ชี ีวิตจริงและครอบคลุมทกุ กลมุ่ เป้าหมาย หมายรวมถึงการจดั การเรยี นการสอน

ของกลุม่ ทเ่ี รยี นแบบควบรวมหรอื กลุม่ ท่ีเรยี นร่วมด้วย

นางเรณู นันททิพรกั ษ์ รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ กรรมการทป่ี รกึ ษา

๑. นายจรูญศักด์ิ รินสาธร ประธานกรรมการ

๒. นายธาตรี พมิ พบ์ ึง รองประธานกรรมการ
๓. นางสาวภัทรภรณ์ สิทธิศร กรรมการ

๔. นางสาวพัฒทริ า โคตศริ ิ กรรมการ
๕. นางหมอกฟา้ ท่ีรัก กรรมการและเลขานกุ าร
๖. นางสาวกรรณกิ าร์ จนั ดา กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร

ประเด็นพิจำรณำท่ี ๒.๔ พัฒนำครแู ละบคุ ลำกรใหม้ ีควำมเช่ยี วชำญทำงวชิ ำชีพ : สถานศึกษาสง่ เสรมิ สนับสนุน

พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเช่ียวชาญทางวิชาชพี และจัดให้มชี ุมชนการเรยี นร้ทู างวิชาชพี มาใชใ้ นการพฒั นางานและ

การเรียนร้ขู องผ้เู รยี น

นางเรณู นนั ททิพรักษ์ รองผู้อานวยการฝ่ายวชิ าการ กรรมการทป่ี รกึ ษา

๑. นางพชิรารัชต์ ศริ ิปุณยนันท์ ประธานกรรมการ
๒. นางวงเดือน รุมฉมิ พลี รองประธานกรรมการ

๓. นางพรธรี า วะชะโก กรรมการ
๔. นางสาวพิมพ์ชนก มณที ัพ กรรมการ
๕. นางสาวบรรจนา วรรณพฤกษ์ กรรมการ

๖. นางสาวมนสั นนั ท์ บตุ รวงศ์ กรรมการ
๗. นางสาวดรณุ ณี หมื่นสพี รม กรรมการ

๘. นางวรฤทัย ชานาญพล กรรมการและเลขานุการ
๙. นางสาวกุลธดิ า ปญั ญาธร กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

ประเด็นพิจำรณำที่ ๒.๕ จัดสภำพแวดล้อมทำงกำยภำพและสังคมท่ีเอ้ือต่อกำรจัดกำรเรียนรู้อย่ำงมีคุณภำพ :

สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพท้ังภายในและภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอื้อต่อการ

จัดการเรยี นรแู้ ละมคี วามปลอดภัย

นายสุเทพ อน้ อมร รองผอู้ านวยการฝา่ ยบรกิ าร กรรมการทปี่ รึกษา

/๑. นายโกเมนทร์...

-๑๐-

๑. นายโกเมนทร์ นามวงษ์ ประธานกรรมการ

๒. นายชุมพล นอ้ ยถนอม รองประธานกรรมการ
๓. นายพรหมพริ ยิ ะ เมอื งขนั ธ์ กรรมการ
๔. นางประภาวดี นิ่มสังกัด กรรมการ

๕. นางสาววชิราภรณ์ สอนประเทศ กรรมการ
๖. นางสาวเกศทิพย์ จันทะเนตร กรรมการ

๗. นางสมบรู ณ์ สมีพวง กรรมการ
๘. นายสทิ ธิพล อูปแกว้ กรรมการ
๙. นายไชยพงศ์ หวานเสรจ็ กรรมการ

๑๐. นางสกุ ัญญา ศรีภูมิ กรรมการและเลขานกุ าร
๑๑. นายศวิ ะกูล วะชะโก กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ

ประเด็นพิจำรณำท่ี ๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศเพ่ือสนับสนุนกำรบริหำรจัดกำรและกำรจัดกำรเรียนรู้ :

สถานศึกษาจัดระบบการจัดหา การพัฒนาและการบรกิ าร เทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือใช้ในการบริหารจัดการและการ

จดั การเรยี นรู้ท่ีเหมาะกับสภาพของสถานศกึ ษา

นายสุเทพ อน้ อมร รองผูอ้ านวยการฝา่ ยบรกิ าร กรรมการทป่ี รึกษา

๑. นายชาญชัย คาสีแก้ว ประธานกรรมการ
๒. นายนิติวุฒิ แก้วรกั ษา รองประธานกรรมการ
๓. นายวรวัฒน์ ทพิ วฒั น์ กรรมการ

๔. นางปยิ ะนชุ ทที า กรรมการ
๕. นางสาวศริ ญิ ญา เซ็นกลาง กรรมการ

๖. นางสาวกาไร ซง่ึ เสน กรรมการ
๗. นางสาวศภุ นติ ย์ ปานาราช กรรมการ
๘. นายสมชาย แพทยม์ ด กรรมการ

๙. นางจันทมิ า ไปดี กรรมการและเลขานุการ
๑๐. นางสุภานนั นามวงษ์ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ

ประเด็นพิจำรณำท่ี ๒.๗ เป็นองค์กรแห่งกำรเรียนรู้ : องค์กรท่ีส่งเสริมให้บุคลากรครูและผู้เรียน เกิดการเรียนรู้

ตลอดเวลา มีการพฒั นาทัง้ ด้านความคิดและจิตใจ มีการถา่ ยโอนความรู้ส่บู ุคคลและชมุ ชน และมกี ารทางานร่วมกันเป็น

ทีม มีการแก้ปัญหาการปฏิบัติงานอย่างสร้างสรรค์ รวมถึงมีการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนรู้ และพัฒนางานอย่าง

ต่อเนื่องไปสู่เป้าหมายร่วมกันขององค์กร มีการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ซึ่งอยู่ภายใต้องค์กรท่ีมี

บรรยากาศการเรยี นรู้ตลอดชีวิต

นางเรณู นนั ททพิ รักษ์ รองผอู้ านวยการฝ่ายวชิ าการ กรรมการท่ปี รึกษา

๑. นางพชริ ารชั ต์ ศริ ปิ ุณยนนั ท์ ประธานกรรมการ
๒. นางวงเดือน รุมฉิมพลี รองประธานกรรมการ
๓. นายธนกฤต โพธิลักษณ์ กรรมการ

๔. นางสาวปาณิศา จงเทพ กรรมการ
๕. นายชชั วาล วรรณาหาร กรรมการ

/๖. นางสาวนชิ าภทั ร...

-๑๑-

๖. นางสาวนิชาภทั ร มุมอภยั กรรมการ
๗. นางสาวโสรยา แกว้ ทมุ กรรมการ

๘. นางฐาปณี เกตภุ ูเขยี ว กรรมการและเลขานุการ
๙. นางสาวนจุ รี พรมมนตรี กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร

มำตรฐำนที่ 3 กระบวนกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนทเ่ี นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั

เป็นกระบวนการจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานและตัวช้ีวดั ของหลักสูตรสถานศึกษา สร้างโอกาสให้ผเู้ รยี น

มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก สร้างปฏิสัมพันธ์ท่ีดี

ครูร้จู กั ผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล ดาเนินการตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนาผลมาพัฒนาผู้เรียน รวมทั้ง

ร่วมแลกเปลีย่ นเรียนรูแ้ ละนาผลท่ไี ดม้ าใหข้ ้อมูลปอ้ นกลับเพอ่ื พัฒนาและปรับปรุงการจดั การเรียนรู้

ประเด็นพิจำรณำท่ี ๓.๑ จัดกำรเรียนรู้ผ่ำนกระบวนกำรคดิ และปฏิบัติจริง และสำมำรถนำมำประยกุ ต์ใช้ในชีวิตได้ :

กิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัดของหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ โดยผ่าน

กระบวนการคิดและปฏิบัติจริง มีแผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่สามารถนาไปจัดกิจกรรมได้จรงิ มีรูปแบบการจัด การเรยี นรู้

เฉพาะสาหรับผู้ที่มีความจาเป็นและต้องการความช่วยเหลือพิเศษ ผู้เรียนได้รับการฝึกทักษะ แสดงออกแสดงความ

คดิ เหน็ สรุปองค์ความรู้ นาเสนอผลงานและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้

นางเรณู นนั ททพิ รักษ์ รองผอู้ านวยการฝ่ายวิชาการ กรรมการทป่ี รึกษา

๑. นางจติ ตวรี ์ จรญั วัน ประธานกรรมการ

๒. นางมนิ ทิราพร มสี จั รองประธานกรรมการ
๓. นางสิยาพัฐ นพรัตน์ กรรมการ

๔. นางสาวอารยา มังคละ กรรมการ
๕. นางนงนุช เตชะตานนท์ กรรมการ
๖. นางระเพญ็ ทอง ทา้ วนิล กรรมการ

๗. นางปราณี สงั ข์น้อย กรรมการ
๘. นางสาวปรศิ นา หายหัตถี กรรมการ

๙. นางสาวสชุ าดา สุวรรณมาโจ กรรมการ
๑๐. นางรดา กาลวบิ ูลย์ กรรมการและเลขานกุ าร
๑๑. นางสาววรัญญา คาสา กรรมการและผูช้ ่วยเลขานุการ

ประเดน็ พิจำรณำท่ี ๓.๒ ใช้สือ่ เทคโนโลยสี ำรสนเทศและแหล่งเรยี นร้ทู ่ีเออื้ ตอ่ กำรเรยี นรู้ : มีการใช้สือ่ เทคโนโลยี

สารสนเทศและแหล่งเรยี นรู้ รวมทงั้ ภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ โดยสร้างโอกาสให้ผู้เรยี นไดแ้ สวงหา

ความรูด้ ้วยตนเองจากส่ือที่หลากหลาย

นางเรณู นันททิพรกั ษ์ รองผู้อานวยการฝา่ ยวชิ าการ กรรมการทปี่ รกึ ษา

๑. นางนงลกั ษณ์ ประไกรวัน ประธานกรรมการ

๒. นายจกั รนิ งานไว รองประธานกรรมการ
๓. นางสาวสรุ ียล์ ักษณ์ สาระฤทธิ์ กรรมการ
๔. นางสาวปัทมพร สงวนทรพั ย์ กรรมการ

๕. นางสาวช่นื กมล เทินไพร กรรมการ
๖. นางภาวิดา นามเดช กรรมการและเลขานกุ าร

/๗. นางสาวสกุ ณี...

-๑๒-

๗. นางสาวสกุณีย์ พานสูงเนนิ กรรมการและผ้ชู ่วยเลขานกุ าร

ประเด็นพิจำรณำท่ี ๓.๓ มีกำรบริหำรจัดกำรช้ันเรียนเชิงบวก : ครูผู้สอนมีการบริหารจัดการช้ันเรียน โดยเน้นการ
มีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก ให้เด็กรักครู ครูรักเด็กและเด็กรักเด็ก เด็กรักที่จะเรียนรู้ สามารถเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสขุ

นายสเุ ทพ อน้ อมร รองผู้อานวยการฝ่ายบรกิ าร กรรมการท่ีปรึกษา

๑. นายธัชกร ชนม์นภทั ร ประธานกรรมการ

๒. นางปราณี มาตย์นอก รองประธานกรรมการ
๓. นายธวัชชัย ผลรงุ่ กรรมการ

๔. นายสมชาติ ตงั คณิตานนท์ กรรมการ
๕. ว่าท่ี ร.ต.สวุ ัฒน์ วงศจ์ นั ทรล์ า กรรมการ
๖. นางเบญจวรรณ วงศ์จันทร์ลา กรรมการ

๗. นางสาวบุญพพิ ฒั น์ ประสิทธน์ิ อก กรรมการ
๘. นางยพุ นิ ลนุ บง กรรมการและเลขานกุ าร
๙. นางทพิ ย์พร บญุ ประคม กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร

ประเด็นพจิ ำรณำท่ี ๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่ำงเป็นระบบและนำผลมำพฒั นำผูเ้ รยี น : มกี ารตรวจสอบ

และประเมนิ คณุ ภาพการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ มขี ัน้ ตอนโดยใช้เครื่องมอื และวธิ กี ารวดั และประเมินผลทเ่ี หมาะสม
กับเปา้ หมายในการจัดการเรยี นรู้ และใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลับแก่ผูเ้ รยี น เพ่ือนาไปใช้พฒั นาการเรียนรู้

นางเรณู นนั ททิพรกั ษ์ รองผู้อานวยการฝา่ ยวิชาการ กรรมการทป่ี รึกษา

๑. นางดรุณณี ดจี ะมาลา ประธานกรรมการ

๒. นางกาญจนา ประดบั วัน รองประธานกรรมการ
๓. นางปารฉิ ตั ร เมฆะสวุ รรณดษิ ฐ์ กรรมการ

๔. นายณัฐพล พานนนท์ กรรมการ
๕. นางมะลวิ รรณ พฤกษามาตย์ กรรมการและเลขานกุ าร
๖. นางสาวเมธาวี ศรปี ลัดกอง กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ

ประเด็นพิจำรณำท่ี ๓.๕ มีกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนำและปรับปรุงกำรจัดกำร
เรียนรู้ : ครูและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันแลกเปล่ียนความรู้และประสบการณ์รวมท้ังให้ข้อมูลป้อนกลับ เพ่ือนาไปใช้
ในการปรับปรงุ และพัฒนาการจดั การเรยี นรู้

นางเรณู นันททพิ รักษ์ รองผ้อู านวยการฝ่ายวิชาการ กรรมการทป่ี รกึ ษา
๑. นางสจุ ันทรญ์ า
๒. นางสาวเกียรติสดุ า อุปแกว้ ประธานกรรมการ

๓. นางอญั ชญั แก่นจนั ทร์ รองประธานกรรมการ
๔. นางสาวกัญชลิตา
ชินภาชน์ กรรมการ

วงศ์จารย์ กรรมการ

/๕. นางสาวชนิดาพร...

-๑๓-

๕. นางสาวชนดิ าพร พลนามอนิ ทร์ กรรมการและเลขานุการ
๖. นางเพ็ญพักตร์ ใจภักดี กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ

มหี นำ้ ที่ วเิ คราะหม์ าตรฐานการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ออกแบบเครื่องมือเก็บขอ้ มูล จัดทาเอกสาร หลกั ฐาน ดาเนนิ กจิ กรรม

งาน/โครงการ ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา เพื่อรายงานคุณภาพการจัดการศึกษาพร้อมท้ังแสดงข้อเสนอแนะ
ข้อคิดเห็นต่าง ๆ รวมถึงการรวบรวม วิเคราะห์และประเมินผลข้อมูลเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ตามแนวทางของระบบประกนั คุณภาพการศกึ ษา

๕. คณะกรรมกำรผปู้ ระสำนงำนตดิ ตำมมำตรฐำนกำรศกึ ษำ

๑. นางเรณู นนั ททพิ รักษ์ ประธานกรรมการ

๒. นายจรูญศักดิ์ รินสาธร รองประธานกรรมการ

๓. นางสุมาลี ภูศรีออ่ น กรรมการและเลขานุการ

มำตรฐำนที่ ๑ ดำ้ นคณุ ภำพผ้เู รยี น

๑. นายวรวุธ อัครกตัญญู

๒. นายสุรชัย สขุ รี

๓. นายขวญั ชยั หายหัตถี

๔. นางวิทชรียา ทองผาย

มหี นำ้ ที่ รวบรวมเอกสาร กากับ ติดตาม ตรวจสอบความเรียบร้อยสมบรู ณ์ ของมาตรฐานท่ี ๑

มำตรฐำนที่ ๒ ดำ้ นกระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร

๑. นางสาวเกยี รติสดุ า แก่นจันทร์

๒. นางเพ็ญพกั ตร์ ใจภักดี

๓. นางนฤมล ไสยสาลี

มหี น้ำที่ รับผิดชอบการรวบรวมเอกสาร กากับ ตดิ ตาม ตรวจสอบความเรยี บรอ้ ยสมบูรณ์ ของมาตรฐานที่ ๒

มำตรฐำนท่ี ๓ ด้ำนกระบวนกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั

๑. นายธวชั ชัย ผลรงุ่

๒. นางสาวเมธาวี ศรีปลัดกอง

๓. นางภาวิดา นามเดช

มหี นำ้ ท่ี รับผดิ ชอบการรวบรวมเอกสาร กากบั ติดตาม ตรวจสอบความเรยี บรอ้ ยสมบรู ณ์ ของมาตรฐานท่ี ๓

๖. คณะกรรมกำรประเมินคณุ ภำพภำยในสถำนศึกษำ

๑. นายอานาจ ปราบหนองบัว ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ประธานกรรมการ
รองประธานกรรมการ
๒. ดร.ฉลาด เสริมปัญญา ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ กรรมการ
กรรมการ
๓. นางเปรมจิต งานไว ผู้ทรงคุณวฒุ ิ
กรรมการ
๔. ดร.ธนาศกั ดิ์ ศริ ปิ ุณยนันท์ ผทู้ รงคณุ วุฒิ

๕. นายจตั ุพร ภศู รีอ่อน ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ

/๖. นายสุเทพ...

-๑๔-

๖. นายสเุ ทพ อ้นอมร รองผูอ้ านวยการ ฝ่ายบรกิ าร ร.ร.เมอื งพลพิทยาคม กรรมการ
๗. นายประสาน กองทอง
ผูอ้ านวยการโรงเรียนเมอื งพลพทิ ยาคม กรรมการและเลขานุการ
๘. นางเรณู นนั ททิพรักษ์
๙. นายจรูญศักดิ์ รินสาธร รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ ร.ร.เมืองพลพทิ ยาคม กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร

๑๐. นางสมุ าลี ภูศรีออ่ น หวั หนา้ ฝ่ายวิชาการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร
๑๑. นายสินธ์ุ สมีพวง
๑๒. นางเพ็ญพักตร์ ใจภกั ดี หวั หนา้ งานพัฒนาระบบประกันคณุ ภาพภายในฯ กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร

๑๓. นางนฤมล ไสยสาลี หวั หนา้ งานแผนงานและงบประมาณ กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ

งานพฒั นาระบบประกนั คุณภาพภายในฯ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

งานพฒั นาระบบประกนั คุณภาพภายในฯ กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร

มหี นำ้ ที่ ตรวจสอบความสอดคลอ้ ง ถูกตอ้ ง ชัดเจน ของเอกสาร แผนงาน โครงการ รายงาน ของมาตรฐานการศึกษา
ตามผลการดาเนินงานของวงจรคุณภาพ PDCA ท้ัง ๓ มาตรฐาน ๒๓ ประเดน็ พิจารณา

ใหผ้ ้ทู ไี่ ด้รบั การแต่งตง้ั ปฏบิ ัตหิ น้าท่ีด้วยความเอาใจใส่และเสียสละอย่างยง่ิ เพอื่ ประโยชน์และบงั เกิดผลดี
แกท่ างราชการสบื ไป

ทงั้ นต้ี ง้ั แต่บัดน้ีเป็นตน้ ไป

สัง่ ณ วนั ที่ ๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๕

(นายประสาน กองทอง)
ผอู้ านวยการโรงเรียนเมืองพลพิทยาคม

หนาน 1/4

รหหสโรงเรรยน รายงานผลการทดสอบทางการศศกษาระดบห ชาตขพ ตนห พชนต ฐาน (O-NET)
ชตหนมธห ยมศศกษาปร ทรช 3 ปร การศศกษา 2564

ฉบหบทรช 5 - คกาสถตพ แพ ยกตามสาระการเรรยนรทรสสาหรหบโรงเรรยน
3040100101 ชชอโรงเรรยน เมชองพลพทพ ยาคม

ขนาดโรงเรรยน ใหญกพเพ ศษ ทตชร ตงห โรงเรรยน นอกเมชอง

จงห หวดห ขอนแกกน ภาค ตะวนห ออกเฉรยงเหนชอ สหงกดห กรมสกงเสรพมการปกครองททองถนพช
วชพ า : ภาษาไทย (91)

ระดบห จสานวน คะ(แMนeนaเnฉ)ลยรช สกวนเบยรช ง(Sเบ.Dน.ม) าตรฐาน คะแ(Mนนaxส.รง)สสด คะแ(Mนนinต.)สชาสสด (มMธห eยdฐiaานn) ฐ(าMนoนdพยeม)
ผทรเขทาสอบ ปรนหย อตห นหย รวม ปรนหย อตห นหย รวม ปรนหย อตห นหย รวม ปรนหย อตห นหย รวม รวม รวม
โรงเรรยน
ขนาดโรงเรรยน 393 40.64 16.13 56.77 9.80 5.27 12.75 62.53 29.25 86.42 11.21 0.00 15.71 57.54 53.70
ทรทตตงโรงเรรยน
จงต หวดต 107,876 41.82 16.92 58.74 11.47 6.20 15.79 70.00 30.00 99.00 0.00 0.00 0.00 60.54 69.73
สงต กดต
ภาค 8,801 33.75 12.28 46.04 11.03 6.24 15.34 67.64 29.25 94.14 0.00 0.00 3.50 45.70 37.96
ประเทศ
12,902 35.03 13.03 48.06 11.52 6.42 16.10 67.64 30.00 94.14 0.00 0.00 0.00 47.81 51.06

27,379 34.14 12.77 46.92 11.16 6.25 15.52 66.27 29.50 94.27 0.00 0.00 2.50 47.10 49.18

126,467 35.20 13.14 48.34 11.49 6.37 16.03 70.00 30.00 97.50 0.00 0.00 0.00 48.54 49.06*

336,696 36.80 14.40 51.19 11.82 6.58 16.59 70.00 30.00 99.00 0.00 0.00 0.00 51.80 59.40

* : มรคาค ฐานนนยมมากกวาค 1 คาค

คกาสถตพ จพ าส แนกตามระดบห

สาระ คะแนน โรงเรรยน โรขงนเรารยดน โรทงเชตร รตงหรยน จงห หวดห สหงกดห ภาค ประเทศ
เตมต
การอคาน Mean S.D. Mean S.D. Mean S.D. Mean S.D. Mean S.D. Mean S.D. Mean S.D.
การเขรยน 100.00 58.75 19.54 60.52 21.34 47.78 20.37 49.74 21.19 48.43 20.81 49.94 21.16 52.58 21.67
การฟตง การดด และการพดด 100.00 53.42 15.36 56.46 18.66 41.28 18.40 43.71 19.19 42.92 18.51 44.09 19.02 47.94 19.72
หลกต การใชภน าษาไทย 100.00 86.70 19.37 85.96 21.89 74.26 27.00 76.29 26.75 75.46 27.24 76.33 26.98 78.53 26.23
วรรณคดรและวรรณกรรม 100.00 42.48 15.77 45.60 18.15 38.82 17.18 39.78 17.43 38.59 17.01 40.09 17.29 41.37 17.66
100.00 62.85 30.72 59.97 31.88 48.28 31.86 50.38 32.33 47.21 32.07 50.58 32.15 52.27 32.43

วนต ททร 02/04/2022 22:03:10


Click to View FlipBook Version