The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by krit.k, 2022-04-01 05:34:39

รายงานสังเคราะห์ SAR-ปีการศึกษา2563- สพป.ตรง เขต 1 -

ตารางที่ 36 การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย

รายการสังเคราะห์ ร้อยละ

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน
1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน

ประเด็นที่ 3 การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
1. โครงการ กิจกรรมที่ดำเนินงาน

1) มีโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง การส่งเสริม 98.48
ประชาธิปไตยในสถานศึกษา

2) มีโครงการ/กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 98.48

2. ผลที่ปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น
1) ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมการอยู่ร่วมกัน บนความแตกต่าง การ 97.72
ส่งเสริมประชาธิปไตยในสถานศึกษา

2) ผลการดำเนินการโครงการ/กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 97.72

3. แหล่งข้อมูล หลักฐาน
1) รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันบนความ 98.48

แตกต่าง การส่งเสริมประชาธิปไตยในสถานศึกษา
2) รายงานผลการดำเนินการโครงการ/กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 98.48


ประเด็นที่ 4 สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม
1) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กจกรรม ที่ส่งเสริมสุขภาวะทางร่างกาย

และด้านมีโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมด้านจิตสังคม ร้อยละ 98.48 เท่ากัน

2) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมสุขภาวะทาง
ร่างกาย และด้านผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมด้านจิตสังคม ร้อยละ 96.97 เท่ากัน

3) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมสุขภาวะ
ทางร่างกาย และรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมด้านจิตสังคม ร้อยละ 98.48 เท่ากัน

แสดงดังตารางที่ 37

ตารางที่ 37 สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม

รายการสังเคราะห์ ร้อยละ

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน
1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน

ประเด็นที่ 4 สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม
1. โครงการ กิจกรรมที่ดำเนินงาน

1) มีโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมสุขภาวะทางร่างกาย 98.48



รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563 43

รายการสังเคราะห์ ร้อยละ
2) มีโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมด้านจิตสังคม 98.48

2. ผลที่ปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น

1) ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมสุขภาวะทางร่างกาย 96.97
2) ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมด้านจิตสังคม 96.97

3. แหล่งข้อมูล หลักฐาน
1) รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมสุขภาวะทางร่างกาย 98.48

2) รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมด้านจิตสังคม 98.48

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
ประเด็นที่ 1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน

1) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการกำหนด/

ทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจของสถานศึกษา ร้อยละ 98.48
2) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดำเนินการจัดทำแผนกลยุทธ์/แผนพัฒนา
คุณภาพการศกษา/แผนปฏิบัติการ สำหรับการบริหารจัดการ ร้อยละ 98.48

3) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า แผนกลยุทธ์/แผนพัฒนาคุณภาพการศกษา/แผนปฏิบัติการ

สำหรับการบริหารจัดการ ร้อยละ 96.48 แสดงดังตารางที่ 38



ตารางที่ 38 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศกษากำหนดชัดเจน

รายการสังเคราะห์ ร้อยละ
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

ประเด็นที่ 2.1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
1. โครงการ กิจกรรมที่ดำเนินงาน

มีโครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการกำหนด/ทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจของ 98.48
สถานศึกษา

2. ผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น
ผลการดำเนินการจัดทำแผนกลยุทธ์/แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา/แผนปฏิบัติการ 98.48

สำหรับการบริหารจัดการ
3. แหล่งข้อมูล หลักฐาน

แผนกลยุทธ์/แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา/แผนปฏิบัติการ สำหรับการบริหาร 98.48
จัดการ








44 รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563

ประเด็นที่ 2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษา
1) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน พบว่า มีกิจกรรมวางแผนการพัฒนาระบบบริหาร

จัดการคุณภาพการศึกษา อิงแนวคิด/ทฤษฎีทางการบริหาร, ด้านมีกิจกรรมการดำเนินแนวทางการกำกับ
ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลโดยใช้วงจรคุณภาพ หรือรูปแบบบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษา และ

โครงการ/กิจกรรม การปรับปรุงพัฒนางาน อย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 98.48 เท่ากันทุกด้าน
2) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดำเนินกิจกรรม วางแผนการพัฒนา ระบบ

บริหารจัดการคุณภาพการศึกษา อิงแนวคิด/ทฤษฎีทางการบริหาร, ผลการกำกับ ติดตาม ตรวจสอบ และ
ประเมินผลโดยใช้วงจรคุณภาพ หรือผลการใช้รูปแบบบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษา และผลการดำเนิน

โครงการ/กิจกรรม การปรับปรุงพัฒนางาน อย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 98.48 เท่ากันทุกด้าน
3) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดำเนินกิจกรรม วางแผนการพัฒนา ระบบ

บริหารจัดการคุณภาพการศึกษา อิงแนวคิด/ทฤษฎีทางการบริหาร, ด้านรายงานผลการกำกับติดตาม
ตรวจสอบ และประเมินผลโดยใช้วงจรคุณภาพ หรือรูปแบบบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษา และรายงาน

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม การปรับปรุงพัฒนางาน อย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 98.48 เท่ากันทุกด้าน แสดง
ดังตารางที่ 39

ตารางที่ 39 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษา


รายการสังเคราะห์ ร้อยละ
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

ประเด็นที่ 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษา
1. โครงการ กิจกรรมที่ดำเนินงาน

1) มีกิจกรรมวางแผนการพัฒนาระบบบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา อิง 98.48
แนวคิด/ทฤษฎีทางการบริหาร

2) มีกิจกรรมการดำเนินแนวทางการกำกับติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลโดย 98.48
ใช้วงจรคุณภาพ หรือรูปแบบบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษา

3) โครงการ/กิจกรรม การปรับปรุงพัฒนางาน อย่างต่อเนื่อง 98.48

2. ผลที่ปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น
1) ผลการดำเนินกิจกรรม วางแผนการพัฒนา ระบบบริหารจัดการคุณภาพ 98.48

การศึกษา องแนวคิด/ทฤษฎีทางการบริหาร
2) ผลการกำกับติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลโดยใช้วงจรคุณภาพ หรือผล 98.48

การใช้รูปแบบบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษา
3) ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม การปรับปรุงพัฒนางาน อย่างต่อเนื่อง 98.48









รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563 45

ประเด็นที่ 3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก
กลุ่มเป้าหมาย

1) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน พบว่า มีมีโครงการ/กิจกรรมการพัฒนางานวิชาการ
และมีโครงการ/กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ร้อยละ 98.48 เท่ากัน

2) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมการพัฒนางานวิชาการ

และผลการดำเนินโครงการ/กจกรรมพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ร้อยละ 98.48 เท่ากัน
3) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดำเนินงานพัฒนาวิชาการ

และรายงานผลการพัฒนาหลักสูตรสถานศกษา ร้อยละ 97.72 เท่ากัน แสดงดังตารางที่ 40

ตารางที่ 40 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย


รายการสังเคราะห์ ร้อยละ
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

ประเด็นที่ 3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก
กลุ่มเป้าหมาย

1. โครงการ กิจกรรมที่ดำเนินงาน
1) มีโครงการ/กิจกรรมการพฒนางานวิชาการ 98.48

2) มีโครงการ/กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 98.48

2. ผลที่ปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น

1) ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมการพัฒนางานวิชาการ 98.48

2) ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรสถานศกษา 98.48


3. แหล่งข้อมูล หลักฐาน
1) รายงานผลการดำเนินงานพัฒนาวิชาการ 97.72

2) รายงานผลการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 97.72


ประเด็นที่ 4 พัฒนาครู และบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ

1) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กจกรรมส่งเสริมให้ครู และบุคลากรได้
พัฒนาตนเองด้วยวิธีการที่หลากหลาย ร้อยละ 98.48

2) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการส่งเสริมให้ครูและบุคลากรได้พัฒนาตนเองด้วย
วิธีการที่หลากหลาย ร้อยละ 98.48

3) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดำเนินโครงการพัฒนาครูและบุคลกรด้วย
วิธีการที่หลากหลาย ร้อยละ 98.48 แสดงดังตารางที่ 41









46 รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563

ตารางที่ 41 พัฒนาครู และบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ

รายการสังเคราะห์ ร้อยละ

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
ประเด็นที่ 4 พัฒนาครู และบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ

1. โครงการ กิจกรรมที่ดำเนินงาน
มีโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมให้ครู และบุคลากรได้พัฒนาตนเองด้วยวิธีการที่ 98.48

หลากหลาย
2. ผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น

ผลการส่งเสริมให้ครูและบุคลากรได้พัฒนาตนเองด้วยวิธีการที่หลากหลาย 98.48

3. แหล่งข้อมูล หลักฐาน
รายงานผลการดำเนินโครงการพัฒนาครูและบุคลกรด้วยวิธีการที่หลากหลาย 98.48


ประเด็นที่ 5 จัดสภาพแวดล้อมทางทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
1) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรม พัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพ

สังคม แหล่งเรียนรู้ทั้งภายใน ภายนอกห้องเรียน ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 98.48

2) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม พัฒนาสภาพ แวดล้อมทาง
กายภาพ สังคม แหล่งเรียนรู้ทั้งภายใน ภายนอกห้องเรียน ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 98.48
3) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมพัฒนาสภาพ แวดล้อมทาง

กายภาพ สังคม แหล่งเรียนรู้ทั้งภายใน ภายนอกห้องเรียน ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 98.48 แสดงดังตารางที่ 41


ตารางที่ 42 จัดสภาพแวดล้อมทางทางกายภาพและสังคมที่เออต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
ื้
รายการสังเคราะห์ ร้อยละ

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
ประเด็นที่ 5 จัดสภาพแวดล้อมทางทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ

1. โครงการ กิจกรรมที่ดำเนินงาน
มีโครงการ/กิจกรรม พัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพ สังคม แหล่งเรียนรู้ทั้ง 98.48

ภายใน ภายนอกห้องเรียน ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้

2. ผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม พัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพ สังคม แหล่ง 98.48
ื้
เรียนรู้ทั้งภายใน ภายนอกห้องเรียน ที่เออต่อการจัดการเรียนรู้
3. แหล่งข้อมูล หลักฐาน

รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม พัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพ สังคม 98.48
แหล่งเรียนรู้ทั้งภายใน ภายนอกห้องเรียน ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้




รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563 47

ประเด็นที่ 6 จัดเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้

1) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กจกรรม ที่ส่งเสริม สนับสนุนการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการบริหารจัดการ และมีโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริม สนับสนุนการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ ในการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 98.48 เท่ากัน

2) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริม สนับสนุน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการบริหารจัดการ และผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริม สนับสนุน

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 98.48 เท่ากัน
3) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการจัดโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริม สนับสนุนการ

ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการบริหารจัดการ และรายงานผลการจัดโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริม สนับสนุน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 97.72 ตามลำดับ แสดงดังตารางที่ 43


ื่
ตารางที่ 43 จัดเทคโนโลยีสารสนเทศเพอสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้

รายการสังเคราะห์ ร้อยละ
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

ประเด็นที่ 6 จัดเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้
1. โครงการ กิจกรรมที่ดำเนินงาน

1) มีโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริม สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการ 98.48
บริหารจัดการ

2) มีโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริม สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการ 98.48
จัดการเรียนรู้

2. ผลที่ปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น
1) ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริม สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 98.48

ในการบริหารจัดการ
2) ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริม สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 98.48

ในการจัดการเรียนรู้
3. แหล่งข้อมูล หลักฐาน

1) รายงานผลการจัดโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริม สนับสนุนการใช้เทคโนโลยี 97.72
สารสนเทศ ในการบริหารจัดการ

2) รายงานผลการจัดโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริม สนับสนุนการใช้เทคโนโลยี 97.72
สารสนเทศ ในการจัดการเรียนรู้









48 รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ประเด็นที่ 1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้


1) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กจกรรมการจัดการเรียนรู้โดยผ่าน
กระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ และมีการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้

ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ร้อยละ 98.48 เท่ากัน
2) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมการจัดการเรียนรู้

โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ และผลการจัดทำแผนการ
จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ร้อยละ 96.97 เท่ากัน

3) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมการจัดการ
เรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ และแผนการจัดการ
เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ร้อยละ 98.48 เท่ากัน แสดงดังตารางที่ 44


ตารางที่ 44 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้

รายการสังเคราะห์ ร้อยละ

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ประเด็นที่ 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้

1. โครงการ กิจกรรมที่ดำเนินงาน

1) มีโครงการ/กิจกรรมการจัดการเรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและ 98.48
สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
2) มีการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 98.48

2. ผลที่ปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น

1) ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมการจัดการเรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดและ 96.97
ปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้

2) ผลการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 69.97

3. แหล่งข้อมูล หลักฐาน

1) รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมการจัดการเรียนรู้โดยผ่านกระบวนการ 98.48
คิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้

2) แผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 98.48

ประเด็นที่ 2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้

1) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กจกรรมพัฒนาสื่อ นวัตกรรม

เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการเรียนรู้ ร้อยละ 98.48 รองลงมา คือ มีโครงการ/กิจกรรมพัฒนาห้องสมุด

แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น ร้อยละ 96.97 ตามลำดับ
2) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมพัฒนาสื่อ
นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการเรียนรู้ ร้อยละ 96.97 รองลงมา คือ ผลการดำเนินโครงการ/



รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563 49

กิจกรรมพัฒนาห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น ร้อยละ 96.21 ตามลำดับ
3) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลโครงการ/กิจกรรมพัฒนาห้องสมุด แหล่งเรียนรู้

และภูมิปัญญาท้องถิ่น ร้อยละ 98.48 รองลงมา คือ รายงานผลโครงการ/กิจกรรมพัฒนาสื่อ นวัตกรรม
เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการเรียนรู้ ร้อยละ 95.48 ตามลำดับ แสดงดังตารางที่ 45

ื้
ตารางที่ 45 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เออต่อการเรียนรู้

รายการสังเคราะห์ ร้อยละ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

ประเด็นที่ 3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้

1. โครงการ กิจกรรมที่ดำเนินงาน
1) มีโครงการ/กิจกรรมพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการเรียนรู้ 98.48
1) มีโครงการ/กิจกรรมพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการเรียนรู้ 98.48

2) มีโครงการ/กิจกรรมพัฒนาห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น 96.97

2. ผลที่ปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น
1) ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ 96.97

สำหรับการเรียนรู้
2) ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมพัฒนาห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น 96.21

3. แหล่งข้อมูล หลักฐาน
1) รายงานผลโครงการ/กิจกรรมพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับ 95.48

การเรียนรู้
2) รายงานผลโครงการ/กิจกรรมพัฒนาห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น 98.48


ประเด็นที่ 3 ประเด็นที่ 3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก

1) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กจกรรมที่มีการบริหารจัดการ เน้นการมี
ปฏิสัมพันธ์เชิงบวก สามารถเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข ร้อยละ 98.48

2) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่มีการบริหารจัดการ
เน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก สามารถเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข ร้อยละ 96.97

3) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่มีการบริหารจัดการ
เน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก สามารถเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข ร้อยละ 96.97 แสดงดังตารางที่ 46













50 รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563

ตารางที่ 46 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก

รายการสังเคราะห์ ร้อยละ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

ประเด็นที่ 3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก

1. โครงการ กิจกรรมที่ดำเนินงาน
มีโครงการ/กิจกรรมที่มีการบริหารจัดการ เน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก สามารถ 98.48

เรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข
2. ผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่มีการบริหารจัดการ เน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก 96.97
สามารถเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข

3. แหล่งข้อมูล หลักฐาน
รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่มีการบริหารจัดการ เน้นการมีปฏิสัมพันธ์ 96.97


เชิงบวก สามารถเรียนรู้ร่วมกนอย่างมความสุข


ประเด็นที่ 4 ประเด็นที่ 4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน

1) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน พบว่า ด้านมีโครงการ/กิจกรรมพัฒนาการวัดและ
ประเมินผลการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ, ด้านมีโครงการ/กิจกรรมการสร้างเครื่องมือวัดประเมินผลที่
หลากหลาย และมีกิจกรรมการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้ ร้อยละ 98.48 เท่ากัน

2) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ด้านผลการดำเนินการโครงการ/กิจกรรมพัฒนาการวัด

และประเมินผลการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ ด้านผลการดำเนินการโครงการ/กิจกรรมการสร้างเครื่องมือ
วัดประเมินผลที่หลากหลาย และผลการดำเนินการกิจกรรมการให้ขอมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อนำไป

พัฒนาการเรียนรู้ ร้อยละ 96.97 เท่ากัน

3) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดำเนินการโครงการ/กิจกรรมพัฒนาการวัด

และประเมินผลการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ และด้านรายงานผลการดำเนินการโครงการ/กิจกรรมการ
สร้างเครื่องมือวัดประเมินผลที่หลากหลาย ร้อยละ 98.48 เท่ากัน ส่วนด้านบันทึกการนำข้อมูลย้อนกลับเพื่อ
พัฒนา ร้อยละ 96.21 แสดงดังตารางที่ 47

















รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563 51

ตารางที่ 47 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน

รายการสังเคราะห์ ร้อยละ

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ประเด็นที่ 4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน

1. โครงการ กิจกรรมที่ดำเนินงาน
1) มีโครงการ/กิจกรรมพฒนาการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ 98.48

2) มีโครงการ/กิจกรรมการสร้างเครื่องมือวัดประเมินผลที่หลากหลาย 98.48
3) มีกิจกรรมการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้ 98.48

2. ผลที่ปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น

1) ผลการดำเนินการโครงการ/กิจกรรมพัฒนาการวัดและประเมินผลการจัดการ 96.97
เรียนรู้อย่างเป็นระบบ
2) ผลการดำเนินการโครงการ/กิจกรรมการสร้างเครื่องมือวัดประเมินผลที่ 96.97

หลากหลาย

3) ผลการดำเนินการกิจกรรมการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้ 96.97
3. แหล่งข้อมูล หลักฐาน

1) รายงานผลการดำเนินการโครงการ/กิจกรรมพัฒนาการวัดและประเมินผลการ 98.48
จัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ

2) รายงานผลการดำเนินการโครงการ/กิจกรรมการสร้างเครื่องมือวัดประเมนผลที่ 98.48

หลากหลาย

3) บันทึกการนำข้อมูลย้อนกลับเพื่อพัฒนา 96.21


ประเด็นที่ 5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้

1) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้
ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 98.48
2) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 96.97
3) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมการแลกเปลี่ยน

เรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 96.97 แสดงดังตารางที่ 48












52 รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563

ตารางที่ 48 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้

รายการสังเคราะห์ ร้อยละ

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ประเด็นที่ 5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้

1. โครงการ กิจกรรมที่ดำเนินงาน
มีโครงการ/กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพอพัฒนาและ 98.48
ื่
ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
2. ผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อ 96.97
พัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้

3. แหล่งข้อมูล หลักฐาน
รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อน 96.97

กลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้


จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา และแผนการดำเนินงานเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
จุดเด่น
1) ด้านคุณภาพผู้เรียน จุดเด่นที่พบมากที่สุด คือ

- ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด
- มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ

- มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสานเทศและการสื่อสาร
2) ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ จุดเด่นที่พบมากที่สุด คือ

- จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เออต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคณภาพ
ื้

- มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศกษากำหนดชัดเจน

- จัดเทคโนโลยีสารสนเทศเพอสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้
ื่
3) ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จุดเด่นที่พบมากที่สุด

- การบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
- จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้

- ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
จุดที่ควรพัฒนา

1) ด้านคุณภาพผู้เรียน จุดที่ควรพัฒนามากที่สุด คือ
- ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม

- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
- ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ

แก้ปัญหา



รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563 53

2) ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ จุดที่ควรพัฒนามากที่สุด คือ
- ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก

กลุ่มเป้าหมาย
- พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ

- มีระบบบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษา
3) ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จุดที่ควรพัฒนามากที่สุด คือ

- ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน

- การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้

แผนการดำเนินงานเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สูงขึ้น

1) ด้านคุณภาพผู้เรียน พบว่า ด้านการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ร้อยละ 70.25
รองลงมา ด้านการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ การแก้ปัญหา ร้อยละ 68.30 และด้านการสร้างนวัตกรรม

ร้อยละ 63.30 ตามลำดับ
2) ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ พบว่า ด้านการปรับเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจของ

สถานศึกษา ร้อยละ 78.55 รองลงมา ด้านระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ร้อยละ 89.52 และด้านการ
พัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ85.22 ตามลำดับ

3) ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ พบว่า ด้านการจัดการเรียนรู้
ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ร้อยละ 67.90 รองลงมา

ด้านการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ร้อยละ 70.34 และด้านการบริหารจัดการ
ชั้นเรียนเชิงบวก ร้อยละ 45.70 ตามลำดับ ดังตารางที่ 49
























54 รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563


ื่
ตารางที่ 49 ผลการวิเคราะห์แผนการดำเนินงานเพอยกระดับคุณภาพการศกษาให้สูงขึ้น
รายการสังเคราะห์ ร้อยละ

แผนการดำเนินงานเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สูงขึ้น
1. ด้านคุณภาพผู้เรียน

1) ด้านการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ 96.21
2) ด้านการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ การแก้ปัญหา 96.21

3) ด้านการสร้างนวัตกรรม 88.30
4) ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 91.70


5) ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศกษา 96.21
6) ด้านความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ 93.18
7) ด้านคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี 92.40

8) ด้านความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 90.90
9) ด้านการอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 90.91

10) ด้านสุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม 94.70

2. ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ


1) ด้านการปรับเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจของสถานศกษา 97.12
2) ด้านระบบบริหารจัดการคณภาพของสถานศึกษา 95.50

3) ด้านการพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา 95.45
และทุกกลุ่มเป้าหมาย

4) ด้านการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 91.67

5) ด้านการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เออต่อการจัดการเรียนรู้ 92.42
ื้
อย่างมีคุณภาพ
6) จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ 93.93

3. ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

1) ด้านการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และ 94.70
สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้

2) ด้านการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อ 96.21
ต่อการเรียนรู้

3) ด้านการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 94.70
4) ด้านการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน 93.93

5) ด้านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุง 93.93
การจัดการเรียนรู้





รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563 55

ส่วนที่ 4


รายงานการสังเคราะหประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคณภาพ


ของสถานศึกษา


ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย

ผลการสังเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศกษา ระดับปฐมวัยใน

สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 จำนวน 132 แห่ง พบว่า จัดกลุ่มตาม

ประสิทธิภาพของสถานศึกษาได้ 3 กลุ่ม ดังนี้

1. กลุ่ม YYY จำนวน 104 แห่ง (ร้อยละ 78.78) ได้แก่ โรงเรียนบ้านนาทะเล, โรงเรียนบ้านในควน,
โรงเรียนวัดไทรทอง, โรงเรียนวัดควนสีนวล, โรงเรียนวัดธรรมาราม, โรงเรียนบ้านไร่หลวง, โรงเรียนบ้านห้วยลึก,
โรงเรียนวัดช่องเปี่ยมราษฎร์, โรงเรียนบ้านช่อง, โรงเรียนวัดมงคลสถาน, โรงเรียนบ้านควนสวรรค์, โรงเรียนบ้าน

หนองไทร, โรงเรียนไทรงาม, โรงเรียนบ้านคลองลำปริง, โรงเรียนบ้านหนองยวน โรงเรียนวัดจอมไตร โรงเรียน
วัดเกาะมะม่วง, โรงเรียนบ้านควนยาง, โรงเรียนบ้านโคกชะแง้, โรงเรียนมิตรภาพที่ 31 (วัดทุ่งหวัง),


โรงเรียนวัดศรีสุวรรณาราม, โรงเรียนวัดอมพวัน, โรงเรียนวัดนานอน, โรงเรียนวัดเชี่ยวชาญกิจ, โรงเรียนบ้านกลาง
นา, โรงเรียนเพาะปัญญา ในพระอุปถัมภ์ฯ, โรงเรียนวัดนางประหลาด, โรงเรียนวัดนิคมประทีป, โรงเรียนวัดทุ่งหิน

ผุด, โรงเรียนบ้านเกาะปุด, โรงเรียนบ้านคลองเต็ง, โรงเรียนบ้านบางยาง, โรงเรียนบ้านทุ่งค่าย, โรงเรียนบ้านควน
ยวน โรงเรียนวัดไทรงาม, โรงเรียนบ้านไร่พรุ, โรงเรียนบ้านนาป้อ, โรงเรียนวัดน้ำผุด, โรงเรียนวัดไพรสณฑ์,

โรงเรียนวัดควนวิเศษ, โรงเรียนอนุบาลตรัง, โรงเรียนบ้านควนปริง, โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 39 (บ้านนาโต๊ะหมิง),
โรงเรียนวัดขุนสิทธิ์, โรงเรียนบ้านห้วยเร็จ, โรงเรียนบ้านห้วยไทร, โรงเรียนบ้านหนองเรี้ย, โรงเรียนบ้านทุ่งนา

(เมือง), โรงเรียนวัดโพธาราม, โรงเรียนต้นบากราษฎร์บำรุง, โรงเรียนบ้านทุ่งนา(ย่านตาขาว), โรงเรียนบ้านหนอง
ชวด, โรงเรียนบ้านควนเคี่ยม, โรงเรียนบ้านเขาติง, โรงเรียนบ้านแหลม, โรงเรียนหาดทรายทอง, โรงเรียนบ้านทุ่ง

มะขามป้อม, โรงเรียนบ้านทุ่งปาหนัน, โรงเรียนบ้านสามแยก, โรงเรียนบ้านทุ่งยาว, โรงเรียนบ้านยวนโปะ, โรงเรียน

บ้านหยงสตาร์, โรงเรียนบ้านท่าข้าม, โรงเรียนบ้านหนองหว้า, โรงเรียนบ้านทอนหาน, โรงเรียนบ้านลิพง, โรงเรียน
บ้านหนองเจ็ดบาท, โรงเรียนหาดสำราญ, โรงเรียนวัดหนองสมาน, โรงเรียนบ้านบกหัก, โรงเรียนบ้านทุ่งกอ,
โรงเรียนบ้านวังศิลา, โรงเรียนบ้านโคกรัก, โรงเรียนวัดปากปรน, โรงเรียนบ้านบ้าหวี, โรงเรียนบ้านปากปรน,

โรงเรียนบ้านตะเสะ, โรงเรียนบ้านหัวควน, โรงเรียนบ้านบางด้วน, โรงเรียนบ้านห้วยม่วง, โรงเรียนบ้านหนองยาย
แม็ม, โรงเรียนบ้านหินคอกควาย, โรงเรียนบ้านย่านตาขาว, โรงเรียนบ้านควนอินทนินงาม, โรงเรียนวัดชลวาปี

วิหาร, โรงเรียนบ้านทอนพลา, โรงเรียนบ้านนาโตง, โรงเรียนบ้านท่าบันได, โรงเรียนบ้านคลองปะเหลียน, โรงเรียน
บ้านควนโพธิ์, โรงเรียนบ้านลำพิกุล, โรงเรียนบ้านทุ่งเกาะญวน, โรงเรียนวัดหนองเป็ด, โรงเรียนบ้านโคกทราย,

โรงเรียนบ้านทุ่งศาลา, โรงเรียนบ้านปะเหลียน, โรงเรียนบ้านแหลมสอม, โรงเรียนบ้านหาดเลา, โรงเรียนบ้านลำ
แคลง, โรงเรียนบ้านนาทุ่ง, โรงเรียนบ้านโพรงจระเข้, โรงเรียนวัดควนนิมิตศิลา, โรงเรียนบ้านไทรงาม และโรงเรียน

บ้านทุ่งหนองแห้ง




รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563 56

2. กลุ่ม NYY จำนวน 26 แห่ง (ร้อยละ 19.70) ได้แก่ โรงเรียนบ้านท่าคลอง, โรงเรียนวัดโหละคล้า,
โรงเรียนบ้านหนองโต๊ะ, โรงเรียนบ้านทุ่งส้มป่อย, โรงเรียนวัดสาลิการาม, โรงเรียนบ้านคลองทรายขาว,

โรงเรียนบ้านเขาไม้แก้ว, โรงเรียนบ้านด่าน, โรงเรียนบ้านปากห้วย, โรงเรียนบ้านเขาหลัก, โรงเรียนวัดแจ้ง,
โรงเรียนบ้านควนสระแก้ว, โรงเรียนทุ่งรวงทอง, โรงเรียนทุ่งไทรทอง, โรงเรียนบ้านท่าเทศ, โรงเรียนหนองผัก

ฉีด, โรงเรียนบ้านนานิน, โรงเรียนบ้านนายายหม่อม, โรงเรียนบ้านห้วยด้วน, โรงเรียนวัดท่าพญา, โรงเรียน
บ้านลำปลอกเหนือ, โรงเรียนวัดควนวิไล, โรงเรียนบ้านควนไม้ดำ, โรงเรียนบ้านป่าแก่, โรงเรียนบ้านหนอง

ชุมแสง และโรงเรียนบ้านยูงงาม

3. กลุ่ม NNY จำนวน 2 แห่ง (ร้อยละ 1.52) ได้แก โรงเรียนบ้านปากไพ และโรงเรียนบ้านสุโสะ
รายละเอียดโดยสรุปดังตารางที่ 50

ตารางที่ 50 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย

ผลการวิเคราะห์ จำนวนสถานศึกษา (แห่ง)

จำนวน (แห่ง) ร้อยละ
YYY 104 78.78

NYY 26 19.70
NNY 2 1.52

รวม 132 100.00


1.1) ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ระดับ
ปฐมวัย กลุ่ม YYY

จากผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศกษาระดับ

ปฐมวัย พบว่า สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 มีสถานศึกษากลุ่ม YYY
จำนวน 104 แห่ง (ร้อยละ 78.78) เป็นกลุ่มสถานศึกษาที่มีความพร้อมด้านกายภาพ บุคลากรได้รับการ
พัฒนาตนเองและมีเพียงพอ และได้รับการสนับสนุนจากผู้ปกครองและหน่วยงานภายนอกเพียงพอ มี
กระบวนการบริหารและการจัดการ และกระบวนการจัดประสบการณที่เน้นเด็กเป็นสำคัญที่มีประสิทธิภาพ


ส่งผลให้เด็กมีคุณภาพตามเป้าหมายตามที่สถานศกษากำหนดหรือสูงกว่า ดังนี้
ด้านปัจจัยนำเข้า (Input) พิจารณาจากความเพียงพอและความเหมาะสมของทรัพยากร
และสิ่งสนับสนุนการศึกษาของสถานศึกษา ทั้งด้านกายภาพ ด้านบุคลากร และด้านการสนับสนุนจาก
ภายนอกสถานศึกษา พบว่า โรงเรียนมีความพร้อมทางด้านกายภาพ มีห้องปฏิบัติการ ห้องพิเศษ มีพื้นที่สนามเพื่อ

การเรียนรู้ และการออกกำลังกาย มีแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนเพียงพอและพร้อมใช้งาน ด้านบุคลากรมีผู้บริหารและ

จำนวนครูครบทุกห้องเรียนและทุกระดับชั้น บุคลากรเข้ารับการพัฒนาตนเอง โดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ชุมชนทาง
วิชาชีพ (PLC) ทั้งในโรงเรียนและระดับกลุ่มโรงเรียน มีการอบรม ศึกษาดูงานทั้งที่ต้นสังกัดจัดและตามความสนใจของ
ครู เพื่อเพิ่มประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก อย่าง







57 รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563

หลากหลายและเพียงพอ มีกระบวนการบริหารและการจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ โดยใช้
กระบวนการทำงานเชิงระบบใช้วงจรคุณภาพ PDCA เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา มี

การกำกับ ติดตามการดำเนินงานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ด้านกระบวนการจัดประสบการณ์ที่เน้นผู้เด็กเป็นสำคัญที่
มีประสิทธิภาพ โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่มีการเตรียมความพร้อมและไม่เร่งรัดวิชาการ เน้นการเรียนรู้ ผ่านการ

เล่นและการลงมือปฏิบัติ เพื่อให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียนรู้ พัฒนาทักษะการคิด ให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงจาก
การเล่น และปฏิบัติกิจกรรม ลงมือกระทำผ่านประสาทสัมผัสส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณภาพบรรลุเป้าหมายตามที่

สถานศึกษากำหนด นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีพัฒนาการเหมาะสมกับวัย

ด้านกระบวนการ (Process) พิจารณาจากผลการประเมินตนเอง (SAR) ของสถานศึกษา ใน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ และ มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็น

สำคัญ พบว่า ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ มีคุณภาพระดับดีขึ้นไป โดยสถานศึกษาจัดระบบ
บริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม มีการบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษาอย่างเป็น


ระบบ เช่น การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศกษา แผนปฏิบัติการประจำปี การประเมินมาตรฐานการศึกษา
ปฐมวัย และจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา มีการระบุเป้าหมายคุณภาพของเด็กปฐมวัย

เชิงคุณภาพ 5 ระดับ ดังนี้ กำลังพัฒนา ปานกลาง ดี ดีเลิศ และยอดเยี่ยม มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง
4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น กำหนดโครงการและกิจกรรม เช่น การพัฒนาและจัดทำหลักสูตร

การศึกษาปฐมวัย การจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ มีแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับพัฒนาการ
ของผู้เรียน จัดครูเพียงพอกับชั้นเรียน แผนพัฒนาบุคลากรในการส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัด

ประสบการณ์ สภาพแวดล้อม และสื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัยและเพียงพอ จัดบริการสื่อเทคโนโลยี
สารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์สำหรับครู สนับสนุนคอมพิวเตอร์และ


เครือข่ายอินเตอร์เน็ต การจัดโครงการที่เกี่ยวกับการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ โดยครูจัดประสบการณที่ส่งเสริมให้
เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพและจัดประสบการณ์การพัฒนาเด็กอย่างเป็นระบบ และ

สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข ครูจัดประสบการณ์ที่เชื่อมโยงกับ
ประสบการณ์เดิมของเด็กเปิดโอกาสให้เด็กเลือกเล่น ทำกิจกรรม อย่างอิสระตามความต้องการ ความสามารถ

และความสนใจจัดกิจกรรมบูรณาการการเรียนรู้ในรูปแบบเรียนปนเล่น เด็กได้ลงมือปฏิบัติจริงอย่างมี
ความสุข เด็กมีส่วนร่วมในการจัดสภาพแวดล้อมและจัดห้องเรียนที่สะอาด ปลอดภัย มีการประเมินพัฒนาการ

เด็กเป็นไปตามตามสภาพจริง โดยใช้เครื่องมือและวิธีการประเมินที่หลากหลาย ประเมินแฟ้มสะสมผลงาน
ของเด็ก ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่เด็กและผู้ปกครอง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมประเมิน วิเคราะห์ผลการ

ื่
ประเมิน และนำผลการประเมินไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์เพอพัฒนาคุณภาพ
ด้านผลลัพธ์ (Output/Outcome) พิจารณาจากผลการประเมินตนเอง (SAR) ของสถานศึกษา
ระดับการศึกษาปฐมวัย ในมาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก พบว่า สถานศึกษามีความพร้อม ด้านกายภาพ บุคลากร

มีคุณภาพ ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอกอย่าง หลากหลาย และเพียงพอ และมีกระบวนการดำเนินงาน
ที่มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้เด็กมีคุณภาพมีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัย







รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563 58


ของตนเองได้ มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้มีพฒนาการด้านสังคม
ช่วยเหลือตนเองและเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม และมีพัฒนาการด้านสติปัญญา บรรลุเป้าหมายตามที่สถานศึกษา

กำหนด มาตรฐานที่ 1 มีกระบวนการบริหารทีมีเป้าหมายที่ชัดเจนและการมีส่วนร่วม มาตรฐาน ที่ 3 การจัด
ประสบการณ์ ของเด็กเป็นไปตามหลักสูตร

1.2) ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ระดับ

ปฐมวัย กลุ่ม NYY


จากผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพฒนาคุณภาพของสถานศึกษาระดับปฐมวัย
พบว่า สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 มีสถานศึกษากลุ่ม YYY จำนวน 26 แห่ง (ร้อยละ
19.70) เป็นกลุ่มสถานศึกษาที่ขาดความพร้อมด้านกายภาพ ขาดความพร้อมด้านบุคลากร ส่วนบุคลากรมรามีอยู่

ได้รับการพัฒนาตนเองและปฏิบัติหน้าที่ได้ระดับหนึ่ง และได้รับการสนับสนุนจากผู้ปกครองและหน่วยงาน

ภายนอกเพยงพอ มีกระบวนการบริหารและการจัดการ และกระบวนการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญที่มี
ประสิทธิภาพ ส่งผลให้เด็กมีคุณภาพตามเป้าหมายตามที่สถานศึกษากำหนดหรือสูงกว่า ดังนี้


ด้านปัจจัยนำเข้า (Input) พิจารณาจากความเพยงพอและความเหมาะสมของทรัพยากร และสิ่ง
สนับสนุนการศึกษาของสถานศึกษา พบว่า โรงเรียนขาดความพร้อมด้านกายภาพ สนามเด็กเล่น แหล่งเรียนรู้ใน
โรงเรียนไม่เหมาะสมกับวัย และไม่เพียงพอกับจำนวนนักเรียน สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศไม่เหมาะสมและไม่

เพียงพอ ด้านบุคลากรมีผู้บริหารและครูครบทุกห้องเรียนและทุกระดับชั้น บุคลากรเข้ารับการพัฒนาตนเอง โดย
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ชุมชนทางวิชาชีพ (PLC) ทั้งในโรงเรียนและระดับกลุ่มโรงเรียน มีการอบรมทั้งที่ต้นสังกัดจัด
และตามความสนใจของครู เพื่อเพิ่มประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ได้รับการสนับสนุนจาก
หน่วยงานภายนอก อย่างหลากหลายและเพียงพอ มีกระบวนการบริหารและการจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพ

การศึกษาที่มีประสิทธิภาพ โดยใช้กระบวนการทำงานเชิงระบบใช้วงจรคุณภาพ PDCA เปิดโอกาสให้บุคลากรทุก
ฝ่ายมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ด้านกระบวนการจัดประสบการณ์ที่เน้นผู้เด็กเป็นสำคัญที่มีประสิทธิภาพ
โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบเชื่อมโยงประสบการณ์เดิม ให้เด็กเลือกทำกิจกรรมอย่างอิสระ ตามความ

ต้องการ ความสนใจ ความสามารถ เพื่อพัฒนาเด็กครบ 4 ด้าน พัฒนาทักษะการคิด ให้เด็กได้รับประสบการณ์
ตรงจากการเล่น และปฏิบัติกิจกรรมเรียนรู้ ลงมือทำ หาคำตอบและแก้ปัญหาด้วยตนเอง ส่งผลให้ผู้เรียนมีคณภาพ

บรรลุเป้าหมายตามที่สถานศึกษากำหนด นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีพัฒนาการเหมาะสมกับวัย

ด้านกระบวนการ (Process) พิจารณาจากกระบวนการบริหารจัดการในรายงานผลการประเมิน
ตนเอง (SAR) ของสถานศึกษา พบว่า ผลการประเมินตนเอง (SAR) ของสถานศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัย

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ และ มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็น สำคัญ มี
การระบุเป้าหมาย คุณภาพของเด็กปฐมวัยเชิงคุณภาพ 5 ระดับ ระบุวิธีพัฒนาคุณภาพ ของเด็กปฐมวัยอย่างเป็น

ระบบ ตามเป้าหมายการพฒนาเด็กปฐมวัย สถานศึกษามีหลักสูตร ครอบคลุมพฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับ


บริบท ของท้องถิ่น มีสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศสนับสนุนการจัดประสบการณ์สำหรับครู การจัดทำแผนการจัด
ประสบการณ์ มีแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับพัฒนาการของผู้เรียน จัดครูเพียงพอกับชั้นเรียน
แผนพัฒนาบุคลากรในการส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ สภาพแวดล้อม และสื่อที่เอื้อ






59 รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563

ต่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัยและเพียงพอ เช่น การจัดสภาพแวดล้อม และสื่อการเรียนรู้ การพัฒนาสิ่งแวดล้อม
ื่
โดยจัดทำแผนพัฒนาสิ่งแวดล้อมและสื่อการเรียนรู้จัดบริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพอ
สนับสนุนการจัดประสบการณ์สำหรับครู สนับสนุนคอมพิวเตอร์และเครือข่ายอินเตอร์เน็ต การจัดโครงการที่
เกี่ยวกับการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ เช่น การจัดหาพัฒนาและบริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการจัด


ประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ มีคุณภาพระดับดีขึ้นไป โดยครูจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพฒนาการทุก
ด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพและจัดประสบการณ์การพัฒนาเด็กอย่างเป็นระบบ เช่น วิเคราะห์ข้อมูลเด็ก

รายบุคคลเพื่อจัดประสบการณ์ที่เหมาะกับพัฒนาการเด็ก จัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับ
พัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ครูจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุก

ด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ โดยสถานศึกษาจัดระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม
มีการบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ รวมทั้งมีส่วนร่วมทุกฝ่ายมีตระหนักรับรู้และความเข้าใจ

ในการจัดการศึกษาปฐมวัย และให้ความร่วมมือในการพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพเป็นอย่างดี

ด้านผลลัพธ์ (Output/Outcome) พิจารณาจากผลการประเมินตนเอง (SAR) ของสถานศึกษา ใน
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก พบว่า ผลการประเมินตนเอง (SAR) ของสถานศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัย ใน

มาตรฐานที่ 1 เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายแข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี ดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ มีพัฒนาการ
ด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้อย่างยอดเยี่ยม มีพฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง


และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมได้ยอดเยี่ยม อกทั้งมีพฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐานและ

แสวงหาความรู้ได้อย่างดีเลิศ

1.3) ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาระดับปฐมวัย กลุ่ม NNY
จากผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาระดับปฐมวัย

พบว่า สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 มีสถานศึกษากลุ่ม NNY จำนวน 2 แห่ง (ร้อยละ
1.52) เป็นกลุ่มสถานศึกษาที่ขาดความพร้อมด้านกายภาพ ขาดความพร้อมด้านบุคลากร และขาดการสนับสนุน

จากผู้ปกครองและหน่วยงานภายนอกเพียงพอ เป็นโรงเรียนในโครงการควบรวมโรงเรียนขนาดเล็กที่ขาดความ

พร้อม โดยขนส่งนักเรียนไปเรียนรวมกับโรงเรียนหลัก ส่งผลให้เด็กมีคณภาพตามเป้าหมายตามที่สถานศึกษา
กำหนดหรือสูงกว่า

โอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาและแนวทางในการส่งเสริม นิเทศ ติดตามของ

หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษา การพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษามีแนวทางในการ
ส่งเสริม นิเทศ ติดตามของหน่วยงานต้นสังกัด หรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษา ดังนี้
1) ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูทุกคนได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการทำวิจัยในชั้นเรียน การสร้าง/

พัฒนานวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดประสบการณ์ให้เป็นแบบอย่างแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice)
2) ยกย่องการเป็นสถานศึกษาต้นแบบ ให้คำแนะนำช่วยเหลือ รวมทั้งติดตามผลการดำเนินงานอย่าง

น้อยปีการศึกษาละ 1 ครั้ง
3) ส่งเสริมให้สถานศึกษามีโครง/กิจกรรมพัฒนาเด็กที่เน้นการปฏิบัติจริงมีประสบการณ์ตรง มีผลงาน/ชิ้นงาน

4) ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูใช้สื่อเทคโนโลยี สารสนเทศ (ICT) ในการจัดประสบการณ์




รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563 60

ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน


ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพฒนาคุณภาพของสถานศึกษาระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 จำนวน 132 แห่งจัด กลุ่มตาม
ประสิทธิภาพของสถานศึกษาได้ 3 กลุ่ม ดังนี้

1. กลุ่ม YYY จำนวน 98 แห่ง (ร้อยละ 74.24) ได้แก่ โรงเรียนบ้านนาทะเล, โรงเรียนบ้านใน

ควน, โรงเรียนวัดไทรทอง, โรงเรียนวัดควนสีนวล, โรงเรียนบ้านช่อง, โรงเรียนวัดธรรมาราม, โรงเรียนบ้านไร่
หลวง, โรงเรียนบ้านห้วยลึก, โรงเรียนวัดช่องเปี่ยมราษฎร์, โรงเรียนบ้านทุ่งส้มป่อย, โรงเรียนวัดมงคลสถาน,

โรงเรียนบ้านควนสวรรค์, โรงเรียนบ้านหนองไทร, โรงเรียนบ้านไทรงาม, โรงเรียนบ้านหนองยวน, โรงเรียนวัด
จอมไตร, โรงเรียนวัดเกาะมะม่วง, โรงเรียนบ้านโคกชะแง้, โรงเรียนมิตรภาพที่ 31 (วัดทุ่งหวัง), โรงเรียนวัดนา

นอน, โรงเรียนวัดเชี่ยวชาญกิจ, โรงเรียนบ้านกลางนา, โรงเรียนเพาะปัญญา ในพระอุปถัมภ์ฯ,โรงเรียนวัดนาง
ประหลาด, โรงเรียนวัดนิคมประทีป, โรงเรียนวัดทุ่งหินผุด, โรงเรียนบ้านเกาะปุด, โรงเรียนบ้านเขาไม้แก้ว,

โรงเรียนบ้านคลองเต็ง, โรงเรียนบ้านบางยาง, โรงเรียนบ้านทุ่งค่าย, โรงเรียนบ้านควนยวน, โรงเรียนวัดไทร
งาม, โรงเรียนบ้านไร่พรุ, โรงเรียนบ้านน้ำผุด, โรงเรียนวัดควนวิเศษ, โรงเรียนอนุบาลตรัง, โรงเรียนบ้านควน

ปริง, โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 39 (บ้านนาโต๊ะหมิง), โรงเรียนวัดขุนสิทธิ์, โรงเรียนบ้านห้วยเร็จ, โรงเรียนบ้านทุ่ง
นา (เมือง), โรงเรียนต้นบากราษฎ์บำรุง, โรงเรียนบ้านทุ่งนา (ย่านตาขาว), โรงเรียนบ้านหนองชวด, โรงเรียน

บ้านควนเคี่ยม, โรงเรียนบ้านเขาติง, โรงเรียนบ้านแหลม, โรงเรียนหาดทรายทอง, โรงเรียนบ้านทุ่ง
มะขามป้อม, โรงเรียนบ้านทุ่งปาหนัน, โรงเรียนบ้านสามแยก, โรงเรียนบ้านทุ่งยาว, โรงเรียนบ้านยวนโปะ,

โรงเรียนบ้านหยงสตาร์, โรงเรียนบ้านท่าข้าม, โรงเรียนบ้านหนองหว้า, โรงเรียนบ้านทอนหาน, โรงเรียนบ้าน

ลิพง, โรงเรียนบ้านหนองเจ็ดบาท, โรงเรียนหาดสำราญ, โรงเรียนวัดหนองสมาน, โรงเรียนบ้านบกหัก,
โรงเรียนบ้านทุ่งกอ, โรงเรียนบ้านวังศิลา, โรงเรียนทุ่งไทรทอง, โรงเรียนบ้านโคกรัก, โรงเรียนวัดปากปรน,
โรงเรียนบ้านบ้าหวี, โรงเรียนบ้านปากปรน, โรงเรียนบ้านตะเสะ, โรงเรียนบ้านบางด้วน, โรงเรียนบ้านห้วย

ม่วง, โรงเรียนบ้านหนองยายแม็ม, โรงเรียนบ้านหินคอกควาย, โรงเรียนบ้านย่านตาขาว, โรงเรียนบ้านควนอิน
ทนินงาม, โรงเรียนวัดชลวาปีวิหาร, โรงเรียนบ้านทอนพลา, โรงเรียนบ้านนาโตง, โรงเรียนบ้านนานิน,
โรงเรียนบ้านนายายหม่อม, โรงเรียนบ้านท่าบันได, โรงเรียนบ้านคลองปะเหลียน, โรงเรียนบ้านควนโพธิ์,

โรงเรียนบ้านลำพิกุล, โรงเรียนบ้านทุ่งเกาะญวน, โรงเรียนวัดหนองเป็ด, โรงเรียนบ้านโคกทราย, โรงเรียน

บ้านทุ่งศาลา, โรงเรียนบ้านปะเหลียน, โรงเรียนบ้านแหลมสอม, โรงเรียนบ้านลำแคลง, โรงเรียนบ้านนาทุ่ง,
โรงเรียนบ้านโพรงจระเข้, โรงเรียนวัดควนนิมิตศิลา, โรงเรียนบ้านไทรงาม, และโรงเรียนบ้านทุ่งหนองแห้ง

2. กลุ่ม NYY จำนวน 32 แห่ง (ร้อยละ 24.24) ได้แก่ โรงเรียนบ้านท่าคลอง, โรงเรียนวัดโหละ
คล้า, โรงเรียนบ้านหนองโต๊ะ, โรงเรียนบ้านคลองลำปริง, โรงเรียนบ้านควนยาง, โรงเรียนวัดศรีสุวรรณาราม,

โรงเรียนวัดอัมพวัน, โรงเรียนวัดสาริการาม, โรงเรียนบ้านคลองทรายขาว, โรงเรียนบ้านนาป้อ, โรงเรียนวัด
ไพรสณฑ์, โรงเรียนบ้านด่าน, โรงเรียนบ้านปากห้วย, โรงเรียนบ้านเขาหลัก, โรงเรียนบ้านห้วยไทร, โรงเรียน

บ้านหนองเรี้ย, โรงเรียนวัดแจ้ง, โรงเรียนบ้านควนสระแก้ว, โรงเรียนวัดโพธาราม,






61 รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563

โรงเรียนทุ่งรวงทอง, โรงเรียนบ้านหัวควน, โรงเรียนบ้านท่าเทศ, โรงเรียนหนองผักฉีด, โรงเรียนบ้านห้วยด้วน,
โรงเรียนวัดท่าพญา, โรงเรียนบ้านลำปลอกเหนือ, โรงเรียนบ้านหาดเลา, โรงเรียนวัดควนวิไล, โรงเรียนบ้าน

ควนไม้ดำ, โรงเรียนบ้านป่าแก่, โรงเรียนบ้านหนองชุมแสง, และโรงเรียนบ้านยูงงาม

3. กลุ่ม NNY จำนวน 2 แห่ง (ร้อยละ 1.52) ได้แก่ โรงเรียนบ้านปากไพ และโรงเรียนบ้านสุโสะ
รายละเอียดดังตามรางที่ 51

ตารางที่ 51 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ระดับการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน

ลการวิเคราะห์ จำนวนสถานศึกษา (แห่ง)

จำนวน (แห่ง) ร้อยละ
YYY 98 74.24

NYY 32 24.24
NNY 2 1.52

รวม 132 100.00

2.1) ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน กลุ่ม YYY
จากผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาระดับ

การศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 มีสถานศึกษากลุ่ม YYY จำนวน 98

แห่ง (ร้อยละ 26.67) เป็นกลุ่มสถานศึกษาที่มีความพร้อมด้านกายภาพบุคลากรได้รับการพัฒนาตนเอง และมีเพียงพอ
ได้รับการสนับสนุนจากผู้ปกครองและหน่วยงานภายนอกเพียงพอ กระบวนการบริหาร และการจัดการ และกระบวนการ
จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญไม่มีประสิทธิภาพ แต่ผู้เรียนยังมีคุณภาพบรรลุเป้าหมายตามที่สถานศึกษา

กำหนด ดังนี้

ด้านปัจจัยนำเข้า (Input) พิจารณาจากความเพียงพอและความเหมาะสมของทรัพยากรและสิ่งสนับสนุน
การศึกษาของสถานศึกษาทั้งด้านกายภาพ ด้านบุคลากร และด้านการสนับสนุนจากภายนอกสถานศึกษา พบว่า มีความ


พร้อมด้านกายภาพ ห้องปฏิบัติการแหล่งเรียนรู้เพยงพอ พร้อมใช้งงาน มีผู้บริหารและจำนวนครูครบทุกห้องเรียนและ
ทุกระดับชั้น บุคลากรได้รับการพัฒนาตนเองนักเรียนอ่านออกเขียนได้ทุกคน มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี มีสุข

ภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ สุขภาพกายแข็งแรง มีความอ่อนน้อม จิตเมตตา มีจิตอาสา ครูจัดการเรียนการสอนตาม
มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด และ

ปฏิบัติจริง มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดี ครูรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ดำเนินการ
ตรวจสอบและประเมินผลอย่างเป็นระบบ โดยมีผู้อำนวยการสถานศึกษาปฏิบัติงานครบทุกแห่ง มีครูครบทุกระดับชั้น


และทุกรายวิชา ในปีการศึกษาที่ผ่านมา ครูทุกคนได้รับการพฒนาตนเองโดยเฉลี่ย 20 ชั่วโมงขึ้นไป ได้เข้าร่วมกิจกรรม
PLC โดยเฉลี่ย 50 ชั่วโมงขึ้นไป ได้เข้าร่วมประชุม แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการประกัน

คุณภาพการศึกษามีบุคลากรอื่นสนับสนุนงานวิชาการและงานธุรการด้าน




รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563 62

การสนับสนุนจากภายนอก มีความพร้อมระดับมาก โดยได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากผู้ปกครองและ
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และคณะกรรมการสถานศึกษาเข้าร่วมประชุมปีละ 3 - 4 ครั้ง และได้รับการ

สนับสนุนเงินทุนการศึกษา สื่อการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสูงขึ้น

ด้านกระบวนการ (Process) พิจารณาจากผลการประเมินตนเอง (SAR)ของสถานศึกษา ระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ มีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจไว้
อย่างชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาความต้องการของชุมชนท้องถิ่น วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษา
แห่งชาติ นโยบายของรัฐบาลและของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีการดำเนินงานพัฒนาวิชาการผู้เรียนรอบด้านตาม

หลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมายเชื่อมโยงกับชีวิตจริง พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
ตรงตามความต้องการของครูและสถานศึกษา มีการจัดประชุมครูและบุคลากรเพื่อจัดทำแผนพัฒนาการศึกษา และ
แผนปฏิบัติการประจำปี มีโครงการระบบดูแลช่วยเหลือเข้มแง ระบบเทคโนโลยีพร้อมใช้งาน มีอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง

มีนวัตกรรมการสอน จัดกิจกรรม Active Learning โรงเรียนมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ที่กำหนดไว้ชัดเจน
สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนตามความต้องการของชุมชน พัฒนางานวิชาการรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และ
ส่งเสริมให้ครูพัฒนาตนเองให้มีความเชี่ยวชาญตรงตามความต้องการ มีกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน
เป็นสำคัญ ครูมุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน จัดกิจกรรมที่เน้นทักษะกระบวนการคิด ได้ปฏิบัติจริง มีการให้วิธีการและ
แหล่งเรียนที่หลากหลาย นักเรียนได้แสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง สภาพแวดล้อมเอื้อต่อ

การเรียนรู้ มีการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เอื้อต่อการเรียนรู้ โดยสร้าง
โอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยให้ผู้เรียนจัดทำโครงงานแบบบูรณาการหลายกลุ่มสาระการเรียนรู้ใน
แต่ละระดับชั้น และจัดทำชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ

เพื่อพัฒนา และปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ครูมีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้และมีการเผยแพร่ เช่น การพัฒนา
รูปแบบการพัฒนาทักษะภาษาไทยตามแนว PISA สื่อวิดีทัศน์การจัดการเรียนรู้พัฒนาทักษะ 3R8C ในศตวรรษที่ 21
การผลิตสื่อวิดีทัศน์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์รายวิชาภาษาไทย

ด้านผลลัพธ์ (Output/Outcome) พิจารณาจากผลการประเมินตนเอง (SAR) ของสถานศึกษา
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในมาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน พบว่า ผู้เรียนได้รับการพัฒนาวิชาการอย่างรอบด้านตาม

หลักสูตรสถานศึกษา เชื่อมโยงกับชีวิตจริง มีรูปแบบการเรียนรู้ที่ได้ฝึกปฏิบัติจริง (Active Learning) มีกระบวนการคิด
เกิดการเรียนรู้จากการทำโครงงาน (Project-based learning) มีการเรียนรู้อย่างหลากหลายรูปแบบในทุกกลุ่มสาระการ

เรียนรู้ เช่น การเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาแบบร่วมมือ แบบแลกเปลี่ยนความคิด (Think-Pair-Share) แบบใช้เกม
(Games) แบบวิเคราะห์วีดีโอ และแบบแผนผังความคิด (Concept mapping) ผู้เรียนได้เข้าร่วมโครงการและกิจกรรม

ื่
อย่างหลากหลายที่สถานศึกษาจัดขึ้นเพอพัฒนาคุณภาพผู้เรียน จากการประเมินผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน พบว่า ผู้เรียนมีผล
การทดสอบการอ่าน การเขียน ผลการประเมินด้านการสื่อสาร ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านการ

คิดคำนวณผ่านเกณฑ์ที่กำหนด และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ สูงกว่าเป้าหมายที่
สถานศึกษากำหนด ผลการประเมินด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน พบว่า ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะ

และค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด มีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทยโดยประเมินการเข้าร่วมโครงการและ
กิจกรรมต่างๆที่สถานศึกษาจัดขึ้น ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย และมีสุขภาวะทางร่างกาย
ผ่านตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย และมีจิตสังคม ซึ่งสูงกว่าค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด






63 รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563

2.2) ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน กลุ่ม NYY

จากผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาระดับปฐมวัย
พบว่า สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 มีสถานศึกษากลุ่ม YYY จำนวน 26 แห่ง

(ร้อยละ 19.70) เป็นกลุ่มสถานศึกษาที่ขาดความพร้อมด้านกายภาพ ขาดความพร้อมด้านบุคลากร ส่วนบุคลากรม
รามีอยู่ได้รับการพัฒนาตนเองและปฏิบัติหน้าที่ได้ระดับหนึ่ง และได้รับการสนับสนุนจากผู้ปกครองและหน่วยงาน

ภายนอกเพียงพอ มีกระบวนการบริหารและการจัดการ และกระบวนการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญที่มี
ประสิทธิภาพ ส่งผลให้เด็กมีคุณภาพตามเป้าหมายตามที่สถานศึกษากำหนดหรือสูงกว่า ดังนี้

ด้านปัจจัยนำเข้า (Input) พิจารณาจากความเพียงพอและความเหมาะสมของทรัพยากร และสิ่ง

สนับสนุนการศึกษาของสถานศึกษา พบว่า โรงเรียนขาดความพร้อมด้านกายภาพ มีความพร้อมด้านกายภาพ ด้าน
บุคลากรและด้านสนับสนุนจากภายนอกสถานศึกษาจัดห้องเรียนครบตามระดับชั้นที่เปิดสอน มีสื่อส่งเสริมการ

เรียนรู้อย่างหลากหลาย มีห้องปฏิบัติการ แหล่งเรียนรู้เพียงพอและพร้อมใช้งาน มีผู้บริหารและจำนวนครูครบทุก
ห้องเรียน และทุกระดับชั้น โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพและ

ปลอดภัย มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารและการจัดการเรียนรู้ ผู้ปกครอง คณะกรรมการ
สถานศึกษา มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียนและได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานองค์กรที่

เกี่ยวข้องอย่างเพียงพอ ส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณภาพบรรลุเป้าหมายตามที่สถานศึกษากำหนด

ด้านกระบวนการ (Process) พิจารณาจากกระบวนการบริหารจัดการในรายงานผลการประเมินตนเอง
(SAR) ของสถานศึกษา พบว่า มีกระบวนการบริหารและการจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ

โดยใช้กระบวนการทำงานเชิงระบบใช้วงจรคุณภาพ PDCA เปิดโอกาสให้บุคลากรทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการแสดง
ความคิดเห็น ด้านกระบวนการจัดประสบการณ์ที่เน้นผู้เด็กเป็นสำคัญที่มีประสิทธิภาพ โดยใช้รูปแบบการจัดการ

เรียนรู้แบบบูรณาการให้สอดคล้องกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์เพื่อพัฒนาเด็กครบ 4 ด้าน โดยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้

ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน พัฒนาทักษะการคิด ให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงจากการเล่น และปฏิบัติ
กิจกรรม เรียนรู้ ลงมือทำ หาคำตอบและแก้ปัญหาด้วยตนเอง ส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณภาพบรรลุเป้าหมายตามที่

สถานศึกษากำหนด นักเรียนมีพัฒนาการเหมาะสมกับวัย

ด้านผลลัพธ์ (Output/Outcome) พิจารณาจากผลการประเมินตนเอง (SAR) ของสถานศึกษา ใน
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก พบว่า ผลการประเมินตนเอง (SAR) ของสถานศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัย ใน

มาตรฐานที่ ๑ เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายแข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี ดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ มีพัฒนาการ
ด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้อย่างยอดเยี่ยม มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง

ื้
และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมได้ยอดเยี่ยม อีกทั้งมีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพนฐานและ
แสวงหาความรู้ได้อย่างดีเลิศ








รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563 64

2.3) ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่ม NNY

จากผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 มีสถานศึกษากลุ่ม NNY

จำนวน 2 แห่ง (ร้อยละ 1.52) เป็นกลุ่มสถานศึกษาที่ขาดความพร้อมด้านกายภาพ ขาดความพร้อมด้าน
บุคลากร และขาดการสนับสนุนจากผู้ปกครองและหน่วยงานภายนอกเพียงพอ เป็นโรงเรียนในโครงการควบ

รวมโรงเรียนขนาดเล็กที่ขาดความพร้อม โดยขนส่งนักเรียนไปเรียนรวมกับโรงเรียนหลัก ส่งผลให้เด็กมี
คุณภาพตามเป้าหมายตามที่สถานศึกษากำหนดหรือสูงกว่า

โอกาสในการพัฒนาของสถานศึกษาและแนวทางในการส่งเสริม นิเทศ ติดตาม ของ

หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษา การพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา
มีแนวทางในการส่งเสริม นิเทศ ติดตามของหน่วยงานต้นสังกัด หรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษา ดังนี้

1) ทบทวนแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา แผนปฏิบัติการ
ประจำปี จัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้านโดยเฉพาะโครงการ/

กิจกรรมที่ยังไม่บรรลุเป้าหมาย โดยการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา
2) ทบทวนการจัดระบบการบริหารและจัดการ มีการติดตามตรวจสอบ

การดำเนินโครงการ/กิจกรรมเป็นระยะตามปฏิทินปฏิบัติงาน โดยแต่งตั้งคณะกรรมการติดตามตรวจสอบ
พร้อมรายงานผลอย่างเป็นระบบแล้วนำข้อมูลไปใช้ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง

3) นิเทศภายในอย่างเป็นระบบโดยการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
อย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง

4) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาให้คำปรึกษาช่วยเหลือ แนะนำ และ นิเทศ กำกับ
ติดตามผลการดำเนินงานของสถานศึกษา


































65 รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563

ภาคผนวก

ภาคผนวก

โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการสังเคราะห์รายงานผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2564
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1












































67 รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563

รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563 68

69 รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563

รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563 70

71 รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563

รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563 72

73 รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563

คำสั่งแต่งตั้งกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ปีงบประมาณ 2564
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1














































รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563 74

75 รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563

รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563 76

ภาพกิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ปีงบประมาณ 2564
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1

ระหว่างวันที่ 27 กรกฎาคม 2564











































































77 รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563

คณะท ำงำน




คณะที่ปรึกษำ

นายธีระวัฒน์ วรรณนุช ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
นางจุรีรัตน์ คีรีรัตน์ รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
นางเนาวลักษณ์ วิชัยดิษฐ ผู้อำนวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและเมินผลการจัดการศึกษา


ผู้รบผิดชอบโครงการ

นายกฤช กาหยี ศึกษานิเทศก์

คณะท ำงำน
วิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปผลการดำเนินงานของสถานศึกษาจากรายงานผล

การประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2563


นางวิรัตน์ รักภักดี ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดนานอน

นายพงษ์ศักดิ์ จันทรเกษ ผู้อำนวยการโรงเรียนเพาะปัญญา ในพระอุปถัมภ์ฯ
นายรัตพล มุสิกพันธ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองเรี้ย
นายปิยะ ลักษณะพริ้ม ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดไทรทอง
นายจรูญศักดิ์ โรจน์จิรนนท์ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านทุ่งมะขามป้อม

นางเสาวภา สมาพงค์ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านตะเสะ
นางเสาวลักษณ์ พลพัง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านท่าเทศ
นางสาวศิริภรณ์ เพชรแก้ว ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านทอนพลา
นางสาววาสนา ศรีเปาระยะ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านทุ่งส้มป่อย

นายสุวิทารณ์ ธำรงวิศว ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านทุ่งนา (อ.ย่านตาขาว)
นางพรพนา สมัยรัฐ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหยงสตาร์
นางสาวอรอุมา ชูสุวรรณ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดชลวาปีวิหาร


นายศุภพงค์ คงออนศรี ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านควนอินทนินงาม
นางเบญญารัต นวลนิล รองผู้อำนวยการโรงเรียนวัดควนวิเศษ
นางสุพิศ เอียดชูทอง ครูโรงเรียนบ้านกลางนา
นางรื่นฤดี ตันประดิษฐ์ ครูโรงเรียนวัดเชี่ยวชาญกิจ
นางสาวสุทธิดา สรรเพชร ศึกษานิเทศก์ สพป.ตรัง เขต ๑

นายทำนูล จันทราวุฒิกร ครูโรงเรียนมิตรภาพที่ 31 (วัดทุ่งหวัง)
นางสาววันดี เสียมไหม ครูโรงเรียนบ้านนาทะเล
นายสุเมธ.../



รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563 79

นายสุเมธ ลุ้งใหญ่ ศึกษานิเทศก์ สพป.ตรัง เขต ๑
นางเฉลิมขวัญ ศกุนตะฤทธิ์ ศึกษานิเทศก์ สพป.ตรัง เขต ๑

นายณณฐกร พิริยาภรณ์ ศึกษานิเทศก์ สพป.ตรัง เขต ๑
นางสาวพรพรรณ เนตรขำ ศึกษานิเทศก์ สพป.ตรัง เขต ๑
นายกฤช กาหยี ศึกษานิเทศก์ สพป.ตรัง เขต ๑


ผู้รำยงำน/จัดพิมพ์

นายกฤช กาหยี ศึกษานิเทศก์ สพป.ตรัง เขต ๑
นางสาวสุทธิดา สรรเพชร ศึกษานิเทศก์ สพป.ตรัง เขต ๑
นายณณฐกร พิริยาภรณ์ ศึกษานิเทศก์ สพป.ตรัง เขต ๑

นางสาวพรพรรณ เนตรขำ ศึกษานิเทศก์ สพป.ตรัง เขต ๑
นางสาวสุทธิดา สรรเพชร ศึกษานิเทศก์ สพป.ตรัง เขต ๑

นางสาวพรพรรณ เนตรขำ ศึกษานิเทศก์ สพป.ตรัง เขต ๑
นางรวงพิน อ่อนคง เจ้าพนักงานธุรการชำนาญงาน

ปก/รปเล่ม

นายกฤช กาหยี ศึกษานิเทศก์ สพป.ตรัง เขต ๑


เจ้ำของเอกสำร
กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
เลขที่ 193 ถนนตรัง-ปะเหลียน
ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง 92000

โทร. 075 572028 โทรสาร. 075 224947


















80 รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2563

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1

https://www.trang1.go.th



เลขที่ 193 ถนนตรัง-ปะเหลียน

ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง 92000

โทร. 075 572028 โทรสาร. 075 224947


Click to View FlipBook Version