The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ระเบียบปฏิบัติ9safety-HAD

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chanpibul, 2024-05-16 21:33:19

ระเบียบปฏิบัติ9safety-HAD

ระเบียบปฏิบัติ9safety-HAD

โรงพยาบาลไทรโยค หน่วยงาน..เภสัชกรรมและค้มครองผุ้บริโภคู ... ระเบียบปฏิบัติ (System Procedure) เรื่อง..การจัดการยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)... รหัส SP – PHA –001 ชื่อ - สกุล / ชื่อทีม ตําแหน่ง ลายมือชื่อ วันเดือนปี ผู้จัดทํา ภก.ถิรายุทธ์ เกตุสม หัวหน้ากลุ่มงานเภสัชกรรม และคุ้มครองผู้บริโภค ผู้รับรอง นพ.อดิศรกิตติดําเกิง ประธานคณะทํางานด้านยา ผู้อนุมัติ นพ.จิรภัทร พุมฉายา่ ผู้อํานวยการโรงพยาบาล


โรงพยาบาลไทรโยค ระเบียบปฏิบัติ เรื่อง :การจัดการยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs) รหัสเอกสาร : SP –PHA –001/2567 แกไ้ขครั้งที่ : หน้าที่ : 1/7 หน่วยงาน : เภสัชกรรมและคุ้มครองผู้บริโภค วันที่ประกาศใช้ : 7 พ.ค. 2567 ฉบับที่ : 1 บันทึกการประกาศใช้ ทบทวน และแกไข้ ฉบับที่ วันเดือนปี การทบทวน/แกไข้ รายละเอียด ผู้ทบทวน/แกไข้ 1 7 พฤษภาคม 2567 - ประกาศใช้ เภสัชกรรมและ คุ้มครองผู้บริโภค 1. นโยบาย เพื่อให้การใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงเกิดประสิทธิภาพและความปลอดภัยสูงสุดแก่ผู้ป่ วย 2.วัตถุประสงค์ เพื่อให้ทุกกระบวนการในการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงสําหรับการรักษาผู้ป่ วยของโรงพยาบาลไทร โยคมีประสิทธิภาพและความปลอดภัยสูงสุดแก่ผู้ป่ วย 3.ขอบเขต การจัดการยาที่มีความเสี่ยงสูงในทุกกระบวนการ ตั้ งแต่การจัดซื้อจัดหายา การเกบรักษายา ็การ กระจายยา การสังใช้ยา ่การรับคําสัง/การคัดลอกคําสั่ งใช้ยา ่การระบุฉลากยา การจ่ายยา การเตรียมยาและ บริหารยา ตลอดจนการติดตามการใช้ยาและการทําลายยา โดยเน้นการดําเนินการเป็ นทีมสหวิชาชีพ ทั้ ง แพทย์ เภสัชกร พยาบาล เจ้าหน้าที่และผู้เกี่ยวข้องในการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงของโรงพยาบาลไทรโยค 4.นิยามศัพท์ ยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs: HADs) หมายถึง ยาที่มีโอกาสเกิดความเสี่ยงต่อการใช้ผิด วัตถุประสงค์ มีโอกาสเกิดความคลาดเคลื่อนทางยาหรือเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากยาสูง อาจรวมถึงยาที่อยู่ ระหวางการทดลอง ยาที่ต้องควบคุม ่ ยาที่ไม่อยูในบัญชียาโรงพยาบาล ยาที่มีพิสัยการบําบัดแคบ ( ่ narrow therapeutic range) ยาทางจิตเวช ยาทางวิสัญญี ยาที่มีชื่อคล้ายกนหรือออกเสียงคล้ายก ั น จึงควรมีข้อตกลง ั ใน ทุกกระบวนการที่เกี่ยวข้องกบยาที่มีความเสี่ยงสูง โดยอาศัยความร ั ่วมมือกนในทีมสหวิชาชีพ ทั ั้ งแพทย์ เภสัชกร พยาบาล เจ้าหน้าที่และผู้เกี่ยวข้องในการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงของโรงพยาบาล เพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพและความปลอดภัยสูงสุดแก่ผู้ป่ วย


โรงพยาบาลไทรโยค ระเบียบปฏิบัติ เรื่อง :การจัดการยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs) รหัสเอกสาร : SP –PHA –001/2567 แกไขครั ้ ้งที่ : หน้าที่ : 2/7 หน่วยงาน : เภสัชกรรมและคุ้มครองผู้บริโภค วันที่ประกาศใช้ : 7 พ.ค. 2567 ฉบับที่ : 1 คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัดได้กาหนดรายการยาที่มีความเสี่ยงสูงของโรงพยาบาลไทรโยค ํ ไว้ทั้ งสิ้ น 17รายการ ดังนี้ 1. Adenosine 6 mg/2 ml inj. 10. 50% Magnesium sulfate inj. 2 ml 2. Adrenaline 1 mg/ml inj. 11. 10% Magnesium sulfate inj. 10 ml 3. Amiodarone 150 mg/3 ml inj. 12. Nicardipine 2 mg/2 ml inj. 4. Atropine sulfate 0.6 mg/ml inj. 13. Nicardipine 10 mg/10 ml inj. 5. 10% Calcium gluconate inj. 10 ml 14. Nitroglycerine 50 mg/10 ml inj. 6. Digoxin 0.5 mg/2 ml inj. 15. Potassium Chloride 20 mEq/10 ml inj. 7. Streptokinase 1,500,000units/vial inj. 16. 7.5% Sodium bicarbonate inj. 50 ml 8. Dobutamine 250 mg/20 ml inj. 17. Norepinephrine 4 mg/4 ml inj. 9. Dopamine 250 mg/10 ml inj. 5.ผ้รับผิดชอบู บุคลากรในโรงพยาบาลไทรโยคทุกระดับที่มีความเก ี่ยวข้องกบการจัดการและการบริหารยาที่มี ั ความเสี่ยงสูง 6.ขั้นตอนการปฏิบัติ การจัดการยาที่มีความเสี่ยงสูงทุกกระบวนการ ตั้ งแต่การจัดซื้อจัดหายา การเกบรักษายา การกระจาย ็ ยา การสังใช้ยา การรับคําสั ่ง/การคัดลอกคําสั่ งใช้ยา การระบุฉลากยา การจ ่่ายยา การเตรียมยาและบริหารยา ตลอดจนการติดตามการใช้ยาและการทําลายยา ต้องดําเนินการเป็ นทีมสหวิชาชีพ ทั้ งแพทย์ เภสัชกร พยาบาล และบุคลากรอื่น ๆ ที่เก ี่ยวข้องในโรงพยาบาล โดยเภสัชกรมีหน้าที่ในการจัดทํารายการยาที่อยูในกลุ ่ ่มยาที่มี ความเสี่ยงสูงตามที่คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัดได้กาหนดขึ ํ้น จัดทําคู่มือการจัดการยาที่มีความ เสี่ยงสูงซึ่งมีแนวทางการจัดการและข้อมูลสําคัญต่าง ๆ ที่ต้องใช้ในการสื่อสารให้แพทย์ พยาบาล หรือ เจ้าหน้าที่ผู้เก ี่ยวข้องทราบเพื่อให้เกิดแนวทางการปฏิบัติเดียวกนทั ัว่ทั้ งโรงพยาบาล นอกจากนั้นเภสัชกรยังมี หน้าที่สร้างความตระหนักเก ี่ ยวกบความปลอดภัย ั ในการจัดการยาที่มีความเสี่ยงสูงให้กบบุคลากรใน ั โรงพยาบาล


โรงพยาบาลไทรโยค ระเบียบปฏิบัติ เรื่อง :การจัดการยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs) รหัสเอกสาร : SP –PHA –001/2567 แกไขครั ้ ้งที่ : หน้าที่ : 3/7 หน่วยงาน : เภสัชกรรมและคุ้มครองผู้บริโภค วันที่ประกาศใช้ : 7 พ.ค. 2567 ฉบับที่ : 1 กระบวนการจัดการยาที่มีความเสี่ยงสูงโดยการดําเนินการร่วมกนของสหวิชาชีพมีดังนี ั้ 1. การจัดซื้อจัดหายา -การพิจารณายาที่มีความเสี่ยงสูงเข้ามาในโรงพยาบาลจะต้องผานมติของคณะกรรมการเภสัช ่ กรรมและการบําบัด โดยจะต้องคํานึงถึงความเสี่ยงในการนํายามาใช้และการเตรียมการป้องกนั อยางเหมาะสม่ -ยาที่มีความเสี่ยงสูงที่ถูกส่งมายังโรงพยาบาลไทรโยค ต้องมีกระบวนการขนส่งยาที่เหมาะสม และรัดกุม มีการตรวจรับโดยเจ้าหน้าที่ซึ่งได้รับมอบหมาย 2. การเกบรักษาและกระจายยา ็ -การเกบรักษายาที่มีความเสี่ยงสูงทุกจุด ตั ็ ้ งแต่คลังยา คลังยายอย ห้องยา ห้องอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ่ รวมถึงหอผู้ป่ วยใน ต้องจัดเกบในชั ็ ้นหรือกล่องแยกโดยเฉพาะและมีป้ายแสดงชื่อยาที่ชัดเจน รวมถึงมีการใช้สติกเกอร์ สีแดง ติดไว้บนภาชนะบรรจุยา เพื่อเป็ นสัญลักษณ์แสดงให้เห็นวา่ เป็ นยาที่มีความเสี่ยงสูงชัดเจน การจัดวางยาต้องหันชื่อยาออกมาให้เห็นเสมอ แยกยาให้เป็ น หมวดหมู่และแยกยาที่มีชื่อพ้องมองคล้ายออกจากกนั - มีการกาหนดบทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ที่เก ํ ี่ยวข้องอยางชัด ่ เจน เพื่อจํากดความสามารถในการ ั เข้าถึงยาที่มีความเสี่ยงสูง โดยผู้ที่สามารถหยิบยาที่มีความเสี่ยงสูงที่เกบในคลังยา คลังยาย ็อย และ่ ห้องยาได้ต้องเป็ นเภสัชกรหรือเจ้าพนักงานเภสัชกรรมเท่านั้น ส่วนในหน่วยงานอื่นจะต้องเป็ น แพทย์หรือพยาบาลวิชาชีพเท่านั้น กรณียาที่เป็ นยาเสพติดให้โทษหรือวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและ ประสาทต้องจํากดการเข้าถึงโดยต้องใส ั ่ในตู้หรือลิ้ นชักที่มีกุญแจ มีผู้ควบคุมการนําไปใช้ ทําการ ตรวจสอบจํานวนยาอยางสมํ่าเสมอ ทุกครั ่้งที่มีการใช้ยาต้องบันทึกแบบ ยส.5 และหยิบยาโดย เภสัชกรหรือพยาบาลวิชาชีพหัวหน้าเวรของหน่วยงานนั้น ๆ -การส่งมอบยาที่มีความเสี่ยงสูงในหน่วยงานเภสัชกรรมในเวลาราชการทวนซํ้ ายาโดยเภสัชกร ทุกครั้งก่อนการจ่ายยา (นอกเวลาราชการทวนซํ้ าเภสัชกรหรือเจ้าพนักงานเภสัชกรรมที่อยูเวร่ ) -การรับยาจากกลุ่มงานเภสัชกรรมทุกครั้ง พยาบาลที่ได้รับยาต้องทําการตรวจสอบยาที่ได้รับกบั


โรงพยาบาลไทรโยค ระเบียบปฏิบัติ เรื่อง :การจัดการยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs) รหัสเอกสาร : SP –PHA –001/2567 แกไขครั ้ ้งที่ : หน้าที่ : 4/7 หน่วยงาน : เภสัชกรรมและคุ้มครองผู้บริโภค วันที่ประกาศใช้ : 7 พ.ค. 2567 ฉบับที่ : 1 ใบสังยาของแพทย์ให้ถูกต้อง ่ทั้ งชื่อ-สกุลผู้ป่ วย ชนิดยา ความแรง รูปแบบยา และจํานวนยา หาก เป็ นยาใหม่ที่ไม่คุ้นเคยและ/หรือไม่มีฉลากข้อมูลยาระบุวาเป็ นยาที่แพทย์สั ่ งหรือไม ่่ ให้สอบถาม กลับไปยังหน่วยจ่ายยาเพื่อยืนยันความถูกต้องของยาทุกครั้ง 3.การสังใช้ยา ่ -ก่อนการสังใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูง ่ แพทย์จะต้องระบุตัวผู้ป่ วยอยางถูกต้อง ่และพิจารณาผลตรวจ ทางห้องปฏิบัติการหรือค่าพารามิเตอร์ที่สําคัญก่อนสังยาที่มีความเสี่ยงสูงให้แก ่่ผู้ป่ วย ตลอดจน พิจารณาข้อห้ามใช้และอันตรกิริยาระหวางยาที่มีความเสี่ยงสูงก ่ บยาอื่น ัๆ ที่ผู้ป่ วยใช้อยูก่ ่อนการ สังใช้ยาในกลุ ่่มนี้กรณีต้องคํานวณยาตามนํ้ าหนักตัวผู้ป่ วย จะต้องตรวจสอบนํ้ าหนักตัวผู้ป่ วยและ คํานวณขนาดยาอยางถูกต้อง รวมทั ่้ งต้องมีการคํานวณซํ้ าหลังสังใช้ยาอีกครั ่ ้ง -การสังใช้ยาในกลุ ่่มที่มีความเสี่ยงสูงแพทย์ต้องเขียนชื่อสามัญทางยาให้ชัดเจน ไม่ใช้ชื่อการค้า ไม่ใช้ชื่อยอ ่ ต้องระบุความแรงของยาที่ต้องการใช้รูปแบบยา และการบริหารยาลายมือที่อ่านง่าย ชัดเจน พร้อมทั้ งลงชื่อแพทย์ผู้สังใช้ก ่าํกบั ในใบสังยา่ทุกครั้ง - หลีกเลี่ยงการสังยา่ผา่ นทางโทรศัพท์ ยกเว้น กรณีที่จําเป็ นหรือเร่งด่วนเท่านั้น หากมีการสังยา่ ผานทาง่ โทรศัพท์ผู้รับคําสั่ งต้องมีการทวนคําสังแพทย์ทุกครั ่ ้ง และแพทย์ผู้สังต้องมีการตามมาลง ่ ชื่อกาํกบภายใน 24 ชั ั วโมง่ - ในการสัง่ ใช้ยาที่นิยมสังใช้เป็ นอัตราส ่่วน แพทย์ผู้สังใช้ยาต้อง ่ระบุคําสังใช้ ่อยางละเอียด ่ ชัดเจน โดยเฉพาะตัวเลขอัตราส่วนและสารละลายที่ใช้ผสมหรือเจือจางยา รวมทั้ งขอความร่วมมือให้มี การระบุขนาดยาเป็ นหน่วยมิลลิกรัมในสารละลายที่มีการระบุปริมาตรเป็ นมิลลิลิตร ทั้ งนี้เพื่อลด โอกาสในการเกิดความคลาดเคลื่อนจากการรับคําสังใช้ยา ่ในกลุ่มนี้ 4. การรับคําสัง/คัดลอกคําสั่ง่ -การรับคําสังทางโทรศัพท์ ่ และ/หรือมีการคัดลอกคําสังแพทย์ ่พยาบาลผู้รับคําสังต้องมีการทวน ่ คําสังที่แพทย์สั ่งทุกครั่ ้ง รวมทั้ งต้องมีพยาบาลอีกคนทําหน้าที่เป็ นพยานและผู้ตรวจสอบซํ้ าในการ รับคําสังด้วย ่กรณีคําสังแพทย์ไม ่่ชัดเจน เช่น อ่านลายมือไม่ชัดเจน ไม่ระบุขนาด วิธีบริหารไม่ ชัดเจน ต้องมีการสอบถามกลับกบแพทย์ผู้สั ั งใช้ยา ่ทุกครั้งและต้องทวนคําสังใหม่่ทุกครั้งกรณีที่ เกิดความผิดพลาดของคําสังนั่ ้น


โรงพยาบาลไทรโยค ระเบียบปฏิบัติ เรื่อง :การจัดการยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs) รหัสเอกสาร : SP –PHA –001 แกไขครั ้ ้งที่ : หน้าที่ : 5/7 หน่วยงาน : เภสัชกรรมและคุ้มครองผู้บริโภค วันที่ประกาศใช้ : 7 พ.ค. 2567 ฉบับที่ : 1 5. การจ่ายยา -ขั้ นตอนการจ่ายยาความเสี่ยงสูง ในเวลาเปิ ดห้องยา 1. แพทย์สังใช้ยาความเสี่ยงสูง พยาบาลจะลงข้อมูลการสั ่งยาในระบบ ่ HosXp พร้อมส่ง Copy Order มาห้องยา 2. เภสัชกรรับใบ Copy Order ตรวจสอบ ชื่อ-สกุลผู้ป่ วย ชื่อยา ข้อบ่งใช้ยา ขนาดยา รูปแบบยา วิธีการผสม วิธีการบริหาร ข้อห้ามใช้ยา (contraindication) รวมถึงอันตร กิริยาระหวางยา ( ่ drug interaction)กรณีพบปัญหาให้ปรึกษาแพทย์ทันที 3. รายการยาความเสี่ยงสูงที่ผานการตรวจสอบ จะพิมพ์ฉลากยา แล้วส ่ ่งให้เจ้าพนักงาน เภสัชกรรมจัดยา 4. เจ้าพนักงานเภสัชกรรมจัดยาความเสี่ยงสูงตามฉลากยา หยิบยา สารนํ้ าที่เหมาะสม ฉลากเสริม และใบติดตามยาความเสี่ยงสูง ใส่ตะกร้ายา 5. เภสัชกรตรวจสอบรายการยา สารนํ้ า ฉลากยาเสริมอีกครั้งก่อนส่งให้พยาบาล ในเวลาปิ ดห้องยา 1. แพทย์สังใช้ยาความเสี่ยงสูง พยาบาลจะลงข้อมูลการสั ่งยาในระบบ ่ HosXp พร้อมส่ง Copy Order มาห้องยา 2. พยาบาลวิชาชีพรับใบ Copy Order ตรวจสอบ ชื่อ-สกุลผู้ป่ วย ชื่อยา ข้อบ่งใช้ยา ขนาด ยา รูปแบบยา วิธีการผสม วิธีการบริหาร ข้อห้ามใช้ยา (contraindication)รวมถึงอันตร กิริยาระหวางยา ( ่ drug interaction)กรณีพบปัญหาให้ปรึกษาแพทย์ทันที 3. รายการยาความเสี่ยงสูงที่ผานการตรวจสอบ พิมพ์ฉลากยา หยิบยา ่ยากล่องฉุกเฉินมา ใช้ พร้อมฉลากยาฉุกเฉิน และใบติดตามยาความเสี่ยงสูงก่อนบริหารยา


โรงพยาบาลไทรโยค ระเบียบปฏิบัติ เรื่อง :การจัดการยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs) รหัสเอกสาร : SP –PHA - 001 แกไขครั ้ ้งที่ : หน้าที่ : 6/7 หน่วยงาน : เภสัชกรรมและคุ้มครองผู้บริโภค วันที่ประกาศใช้ : 7 พ.ค. 2567 ฉบับที่ : 1 6. การเตรียมยาและบริหารยา (ทั้ งผู้ป่ วยในและห้องฉุกเฉิน) 1. หลังรับยา พยาบาลตรวจสอบยาขนาด สารนํ้ า ฉลากยาเสริม และใบติดตามยาความ เสี่ยงสูงซํ้ าอีกครั้งเทียบกบใบสั ั งยาของแพทย์ ่ก่อนการหยิบใช้ยาเพื่อบริหารยาให้แก่ ผู้ป่ วยโดยตรวจสอบ 2 คน 2. เขียนชื่อ ปริมาณสารนํ้ า ความเข้มข้น ผู้ผสมยาผู้ตรวจสอบการผสมยาในฉลากเสริม แล้วนําไปติดบนถุงยาความเสี่ยงสูงที่จะบริหารให้ผู้ป่ วย 3. ในขั้ นตอนการบริหารยา พยาบาลบันทึก Vital sign ก่อนให้ยาในใบติดตามยาความ เสี่ยงสูงแล้วทวนชื่อผู้ป่ วยเตียง ตรวจสอบวิธีฉีด ตําแหน่งการบริหารยา อัตราเร็วใน การบริหารยาทุกครั้ง เมื่อตรวจสอบถูกต้อง บริหารยาให้ผู้ป่ วย และนําป้าย “HAD” คล้องเสานํ้ าเกลือผู้ป่ วย เพื่อเตือนวาผู้ป่ วยก ่ าลัง ํ รับยาความเสี่ยงสูง 4. ติดตามผลการฉีดยาตามใบติดตามยาความเสี่ยงสูงตามเวลาที่กาหนดํ กรณีมีความ ผิดพลาดเกิดขึ้นรีบรายงานแพทย์ทันทีเพื่อให้ผู้ป่ วยได้รับการแกไขอย ้ างทันที ่ 5. เมื่อบริหารยาครบถ้วน ให้พยาบาลลงชื่อเวลาที่บริหารยาจบ พยาบาลผู้ตรวจสอบ 2 คนบนฉลากยาเสริม เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของการให้ยา 6. หลังติดตามการใช้ยาความเสี่ยงสูงจนครบ ให้ส่งใบติดตามยาความเสี่ยงสูงยาที่ลง ข้อมูลครบถ้วนให้ห้องยา เพื่อใช้วิเคราะห์ข้อมูล และจํานวนยาที่ใช้ในแต่ละช่วงเวลา 7. การติดตามและประเมินผล(ทั้ งผู้ป่ วยในและห้องฉุกเฉิน) - พยาบาลทําการติดตามผลการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงตามแบบบันทึกและคําสังแพทย์ ่หาก พบความผิดปกติจากการติดตามการใช้ยานั้น ต้องรีบรายงานแพทย์ทันที - ในช่วงที่มีการใช้ยาและการบริหารยาให้แก่ผู้ป่ วย เภสัชกรควรมีการเข้าไปประเมินการใช้ยาที่ มีความเสี่ยงสูงซํ้ าอีกครั้ง ทั้ งขนาดยา ข้อบ่งใช้กบผู้ป่ วยรายนั ั้น ๆ รวมทั้ งติดตามผลตรวจทาง ห้องปฏิบัติการหรืออาการที่ควรเฝ้าระวังวาผู้ป่ วยได้รับการประเมินจากแพทย์และพยาบาล ่ เหมาะสมหรือไม่ พร้อมทั้ งเกบข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ต ็ ่อการพัฒนาระบบต่อไป - ในกรณีที่เกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงหรือเกิดความผิดพลาดใน กระบวนการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูง จะต้องมีการบันทึกข้อมูลเพื่อการพัฒนาระบบต่อไป


โรงพยาบาลไทรโยค ระเบียบปฏิบัติ เรื่อง :การจัดการยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs) รหัสเอกสาร : SP –PHA - 001 แกไขครั ้ ้งที่ : หน้าที่ : 7/7 หน่วยงาน : เภสัชกรรมและคุ้มครองผู้บริโภค วันที่ประกาศใช้ : 7 พ.ค. 2567 ฉบับที่ : 1 8. การทําลายยาที่เหลือหรือยาหมดอายุ -ยาที่มีความเสี่ยงสูงที่หมดอายุแล้วให้ส่งคืนฝ่ ายเภสัชกรรมเพื่อทําลายตามข้อกาหนดํต่อไป -จําแนกยาที่ต้องทําลายเป็ นหมวดหมู่ และส่งทําลายตามกระบวนการที่กาํหนด -ยาเสพติดที่เปิ ดใช้แล้วมียาเหลือ ให้ทําลายทิ้ งโดยมีพยานรู้เห็น 9. การประกนคุณภาพั - เมื่อเกิดอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยาที่มีความรุนแรงระดับ E ขึ้นไป ต้องมีการวิเคราะห์ รากสาเหตุ (Root Cause Analysis/RCA) ร่วมกนในทีมสหสาขาวิชาชีพเพื่อการแก ั ไขเชิงระบบ ้ และวางแนวทางปฏิบัติที่รัดกุมขึ้นเพื่อป้องกนอุบัติการณ์ซํ ั้ าโดยส่งรายงานผลการวิเคราะห์ถึง คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัดหรือทีมที่เกี่ยวข้องภายในระยะเวลา 1 เดือน 7.ตัวชี้วัด อัตราความคลาดเคลื่อนทางยาของยาที่มีความเสี่ยงสูง ≤ 0 ครั้ง ต่อ 1000 /วันนอน Medication error with harms (level E up)= 0 8.เอกสารอ้างอิง สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน). (2564). มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการ สุขภาพ ฉบับที่ 5. นนทบุรี: สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน).


9. ภาคผนวก แพทย์สังใช้ยาที่มีความ ่ เสี่ยงสูงตามเกณฑ์ เภสัชกรรับคําสัง ่ ตรวจสอบการใช้ยา จ่ายยา พร้อมแนบฉลากเสริม และใบติดตามยา ความเสี่ยงสูง พยาบาลตรวจสอบยาที่ได้รับซํ้ ากบใบสั ั งแพทย์ ่ แล้ว บริหารยาตามคําสังแพทย์ ่ติดใบฉลากเสริมบนขวดยา ติดตามและบันทึกใบติดตามยาความเสี่ยงสูง สรุปแบบประเมินการใช้ยาและ ส่งคืนห้องยา ผู้เกี่ยวข้องบันทึกข้อมูล หากเกิด อาการไม่พึงประสงค์หรือความ คลาดเคลื่อนทางยา วิเคราะห์หรือทํา RCA ร่วมกนใน ั ทีม สาขาวิชาชีพและส่งรายงานให้ PTC เพื่อกาหนดแนวทางป้องก ํนั พยาบาลรับคําสังใช้ยา พร้อมทั ่ ้ งมีพยาบาล อีกคนตรวจสอบซํ้ า


9. ภาคผนวก รูปที่ 1 ตัวอยางฉลากยาเสริม ่ รูปที่ 2 ตัวอยางใบบันทึกยาความเสี่ยงสูง ่


Click to View FlipBook Version