The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ผลการดำเนินกิจกรรม อพ.สธ. 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ผลการดำเนินกิจกรรม อพ.สธ. 2565

ผลการดำเนินกิจกรรม อพ.สธ. 2565

ผลการดำเนินงาน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี สนองพระราชดำริโดยกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กองประสานงานโครงการพระราชดำริ กรมส่งเสริมสหกรณ์


คำนำ เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ.๒๕๓๕ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมี พระราชดำริกับนายแก้วขวัญ วัชโรทัย เลขาธิการพระราชวังและผู้อำนวยการโครงการส่วนพระองค์ฯ สวนจิตรลดา ให้อนุรักษ์พืชพรรณของประเทศและดำเนินการเป็นธนาคารพืชพรรณ โดยโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ได้เริ่มดำเนินการ โดยฝ่ายวิชาการโครงการส่วนพระองค์ฯ สำหรับงบประมาณ ดำเนินงานนั้นสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ได้สนับสนุนให้กับโครงการส่วนพระองค์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีโครงการอนุรักษ์ พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ โดยจัดสร้างธนาคารพืชพรรณขึ้นในปี ๒๕๓๖ สำหรับเก็บรักษา พันธุกรรมพืชที่เป็นเมล็ดและเนื้อเยื่อ และสนับสนุนงบประมาณดำเนินงาน ทุกกิจกรรมของโครงการ พ.ศ. ๒๕๓๖ จนถึงปัจจุบัน กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้ดำเนินงานโครงการเพื่อสนองพระราชดำริฯ โดยให้เข้าใช้ที่ดินบริเวณ ทุ่งตาหนอน นิคมสหกรณ์พนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ในปี 2537 ต่อมาในปี 2555 ได้กำหนดให้มีพื้นที่แปลง สาธิตโครงการแห่งละไม่น้อยกว่า 2 ไร่ มีจำนวน 10 แห่ง ในพื้นที่นิคมสหกรณ์ 10 จังหวัด และเพิ่มจำนวน พื้นที่ในการดำเนินการมาโดยต่อเนื่อง ทั้งนี้ตั้งแต่ปี 2562 เป็นต้นมา กรมส่งเสริมสหกรณ์ร่วมสนองพระราชดำริฯ ในพื้นที่รวม 53 แห่ง ได้แก่ นิคมสหกรณ์ 49 แห่ง ศูนย์สาธิตสหกรณ์โครงการหุบกะพง และสำนักงานสหกรณ์ จังหวัด 3 จังหวัด คือ จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดร้อยเอ็ด และจังหวัดสิงห์บุรีในพื้นที่ศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดไผ่ดำ แผนกสามัญศึกษา อำเภออินทร์บุรี เพื่อให้ผลการดำเนินงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี สนองพระราชดำริโดยกรมส่งเสริมสหกรณ์เป็นที่ประจักษ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์จึงได้รวบรวมผลการดำเนินงานโครงการฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เพื่อเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์โครงการฯ และใช้ประโยชน์ต่อไป กรมส่งเสริมสหกรณ์ ตุลาคม 2565


สารบัญ หน้า เกี่ยวกับโครงการ 1 แผนภาพแสดงท้องที่ดำเนินการโครงการฯ 4 พื้นที่เป้าหมาย 5 กรอบการดำเนินงานและกิจกรรมของ อพ.สธ. 7 ขั้นตอนการดำเนินงาน 8 ผลการดำเนินงานตามกรอบการดำเนินงาน อพ.สธ. 9 พันธุ์พืชที่สำรวจและปลูกในแปลงสาธิตพันธุกรรมพืช 12 ภาคผนวก ประมวลภาพการดำเนินงาน ตารางสรุปผลการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2565


~ 1 ~ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี สนองพระราชดำริโดยกรมส่งเสริมสหกรณ์ (อพ.สธ. - กสส.) ความเป็นมา ด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชกระแสกับ ดร. พิศิษฐ วรอุไร เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2537 ณ อาคารชัยพัฒนา มีสาระสำคัญสรุปได้ว่า ทรงสังเกตเห็นจังหวัดต่างๆ ในภาคใต้ของประเทศ มีการใช้ไม้ดอกกันมากและดอกไม้เหล่านั้น มากชนิดต้องซื้อเข้ามาจากต่างประเทศ หากจะมีการปลูกดอกไม้เสียเองในภาคใต้จะเกิดประโยชน์มาก ดร.พิศิษฐ วรอุไร ได้กราบบังคมทูลทรงทราบ ว่ามีที่ดินของนิคมสหกรณ์อยู่บนเส้นทางหลวงระหว่างสุราษฎร์ธานี- ตะกั่วป่า ใกล้กับอุทยานแห่งชาติเขาสก เหมาะสำหรับผลิตดอกไม้เมืองหนาว หากแต่ต้องได้รับอนุญาตจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ก่อน สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีจึงทรงมีพระราชประสงค์จะทราบรายละเอียดเกี่ยวกับพื้นที่ดังกล่าว ดร.พิศิษฐ วรอุไร ในฐานะผู้อำนวยการศูนย์บริการการขยายพันธุ์ไม้ผลบ้านไร่อันเนื่องมาจาก พระราชดำริ จึงได้ประสานงานและศึกษาความเป็นไปได้ในที่ดิน 2 แปลงคือ บริเวณคลองหมอกและทุ่งตาหนอน เนื้อที่รวมประมาณ 1,600 ไร่ จากการศึกษาและสำรวจปรากฏว่า ที่ดินบริเวณทุ่งตาหนอนมีความเหมาะสม แต่มีประชาชนได้เข้าไปครอบครองอาศัยอยู่ก่อนตั้งนิคมสหกรณ์พนมบางส่วน คงมีพื้นที่ที่ว่างอยู่จริงที่นิคม สหกรณ์พนมกันไว้ประมาณ 100 - 200 ไร่ และสำนักงาน กปร. ก็ได้กราบบังคมทูลในเบื้องต้น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีทรงมีพระราชดำริเพิ่มเติมเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2537 ว่าการทดลองปลูกไม้ดอกไม้ประดับในเขตจังหวัดสุราษฎร์ธานี ควรเลือกพื้นที่ดำเนินการทดลองในบริเวณ บ้านทุ่งตาหนอน เนื่องจากไม่มีผลกระทบต่อราษฎรในการใช้ที่ดิน ซึ่งกรมส่งเสริมสหกรณ์ก็ไม่ขัดข้องในการที่ จะใช้พื้นที่ดำเนินโครงการในการดำเนินกิจกรรมโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ในปี พ.ศ. 2539-2540 ได้จัดตั้งกลุ่มสมาชิกจากบ้านทุ่งตาหนอน จำนวน 30 ครอบครัว และทางโครงการ อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ เป็นพี่เลี้ยงในด้านวิชาการ จัดหาพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ แนะนำวิธีการปลูกและดูแลรักษารวมทั้งขยายตลาดเพื่อจำหน่ายผลผลิตพันธุ์ไม้ที่นำมาให้ทดลองปลูก เช่น กล้วยไม้ตัดดอกลูกผสม มะลิ แกลดิโอลัส ปทุมมา นอกจากนี้ยังมีการรวบรวมต้นพันธุกรรมพืชที ่ได้จาก กิจกรรมสำรวจเก็บรวบรวมไว้ในพื้นที่ด้วย ปี พ.ศ. 2541-2542 ได้เปลี ่ยนรูปแบบการดำเนินงาน โดยโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ มารับดำเนินการเอง และจ้างสมาชิกที่จะทำงานร่วมกับโครงการฯ เป็นรายวัน มีการเพิ่มปริมาณการปลูกและขยายพันธุกรรมพืชให้มากขึ้น ปี พ.ศ. 2543-2551 จะเป็นงานดูแลรักษา ขยายพันธุกรรมพืชเพิ ่มเติม มีการก่อสร้างอาคาร บ้านพักในพื้นที่โครงการฯ ซึ่งในการดำเนินงานจะมีองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานีเป็นหน่วยงานหลัก โดยมีโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ เป็นที ่ปรึกษาและมีส ่วนราชการต ่างๆ ในจังหวัดสุราษฎร์ธานีให้การ สนับสนุนและร่วมกิจกรรมในการดำเนินกิจกรรมของโครงการฯ แต่การดำเนินกิจกรรมไม่ประสบความสำเร็จ เท่าที่ควร


~ 2 ~ ในปี พ.ศ. 2552 -2553 องค์การบริหารส ่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานีโดยโครงการอนุรักษ์ พันธุกรรมพืชฯ เป็นที่ปรึกษา ได้มีการจัดทำผังและแบ่งพื้นที่ให้แต่ละส่วนราชการรับผิดชอบในแต่ละแปลงปลูก พืชที่แตกต่างกันออกไป รวมทั้งได้ก่อสร้างโรงเรือนเพาะพันธุ์กล้าไม้ ก่อสร้างถนนและฝายกั้นน้ำขนาดเล็ก ภายในบริเวณโครงการฯ โดยนิคมสหกรณ์พนมได้รับมอบที ่ดินแปลงที่ 5 ร ่วมกับสำนักงานเกษตรจังหวัด สุราษฎร์ธานี ได้รับมอบหมายให้ปลูกพืชสมุนไพรและเครื ่องเทศ และการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ พืชสมุนไพรและเครื่องเทศ เพื่อสนับสนุนโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และช่วงเวลาเดียวกัน กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้สนับสนุนให้มีการบูรณาการ ดำเนินงานโครงการฯ ในพื้นที่ร่วมกับจังหวัดนครสวรรค์ โดยสำนักงานสหกรณ์จังหวัด อีก 1 แห่ง รวม 2 แห่ง ในปี 2555 คณะกรรมการดำเนินงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ฯ กรมส่งเสริมสหกรณ์ (อพ.สธ.-กสส.) มีมติ เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2555 ให้ดำเนินงานโครงการเพื่อสนอง พระราชดำริฯ พื้นที่แปลงสาธิตโครงการแห่งละไม่น้อยกว่า 2 ไร่ ในปี 2555 จำนวน 10 แห่ง ในพื้นที่นิคมสหกรณ์ 10 จังหวัด และในปี 2556 ให้ดำเนินใน 10 นิคมสหกรณ์ 10 จังหวัดที่เหลือ ดังนั้น ในปี 2556 กรมส่งเสริม สหกรณ์สนองพระราชดำริฯ ในพื้นที่รวม 22 แห่ง ในปี 2557 คณะกรรมการดำเนินงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี กรมส่งเสริมสหกรณ์ (อพ.สธ. – กสส.) มีมติ เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2557 ให้ดำเนินงานโครงการเพื่อสนองพระราชดำริฯ พื้นที่แปลงสาธิตโครงการแห่งละไม่น้อยกว่า 2 ไร่ ในปี 2557 จำนวน 28 แห่ง ในพื้นที่นิคมสหกรณ์ 21 จังหวัด ดังนั้นในปี 2557 กรมส่งเสริมสหกรณ์ ร่วมสนองพระราชดำริฯ ในพื้นที่รวม 51 แห่ง ในปี 2558 คณะกรรมการดำเนินงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี กรมส่งเสริมสหกรณ์ (อพ.สธ. – กสส.) มีมติ เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2558 ให้เชิญชวนสหกรณ์เข้าร่วมโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ เพื่อขยายพื้นที่สำรวจ อนุรักษ์โดยขอให้สหกรณ์ช่วยสำรวจพันธุ์พืชในบริเวณพื้นที่ของสหกรณ์ดังนั้นในปี 2558 กรมส่งเสริมสหกรณ์ร่วมสนองพระราชดำริฯ ในพื้นที่รวม 51 แห่ง และมีสหกรณ์สนใจเข้าร่วมโครงการ อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ตามการเชิญชวนของสำนักงานสหกรณ์จังหวัด จำนวน 33 แห่ง ใน 27 จังหวัด ในปี2561 คณะกรรมการดำเนินงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี กรมส่งเสริมสหกรณ์ (อพ.สธ. –กสส.) มีมติ เมื่อวันที ่ 7 กุมภาพันธ์ 2561 ให้เพิ่มพื้นที่ดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จำนวน 1 แห่ง คือศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดไผ่ดำ แผนกสามัญศึกษา อำเภออินทร์บุรีจังหวัดสิงห์บุรี วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อสนองพระราชดำริโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) 2.2 เพื่อเก็บรวบรวมพันธุ์พืชท้องถิ่น และพันธุ์พืชหายาก เพื่อใช้ในการปลูกรักษา และรวบรวมพันธุ์ไม้ 2.3 เพื่อดูแล รักษา พัฒนาแปลงสาธิตให้สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ของสมาชิกนิคมสหกรณ์ นักเรียน ประชาชนและผู้ที่สนใจ 2.4 เพื่อให้เกิดฐานข้อมูลทรัพยากร พันธุกรรมพืชในท้องถิ่นของหน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดำริ 2.5 เพื ่อเผยแพร ่ประชาสัมพันธ์การดำเนินงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื ่องมาจาก พระราชดำริฯ สนองพระราชดำริโดยกรมส่งเสริมสหกรณ์


~ 3 ~ ระยะเวลาดำเนินการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (1 ตุลาคม 2564 – 30 กันยายน 2565) งบประมาณ 329,500 บาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ สหกรณ์/กลุ ่มเกษตรกร/กลุ ่มอาชีพ/นักเรียน นักศึกษา/ประชาชนทั ่วไป ในโครงการตระหนักถึง ความสำคัญของการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ตระหนักรู้และเข้าใจประโยชน์ของพืชในท้องถิ่น และสามารถนำพืช ในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ในด้านส่งเสริมอาชีพ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกได้อย่างต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริม ความเป็นอยู่ที่ดีของสมาชิกในพื้นที่โครงการ ฯ อีกทั้งเป็นการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชในท้องถิ่นไปพร้อมกัน พื้นที่ดำเนินการ ดำเนินการในพื้นที่ 53 แห่ง ดังนี้ - นิคมสหกรณ์ 49 แห่ง - ศูนย์สาธิตสหกรณ์โครงการหุบกะพง 1 แห่ง - สำนักงานสหกรณ์จังหวัด 3 แห่ง


~ 4 ~ แผนภาพแสดงท้องที่ด าเนินการโครงการอนุรักษ ์ พันธุกรรมพ ื ชอนัเน ื่องมาจากพระราชด าริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี สนองพระราชด าริโดยกรมส่งเสริมสหกรณ์


~ 5 ~ พื้นที่เป้าหมายโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ที่ พื้นที่ อำเภอ จังหวัด พื้นที่แปลงสาธิต (ไร่) 1 นิคมสหกรณ์ชัยบาดาล ท่าหลวง ลพบุรี 3 2 นิคมสหกรณ์กบินทร์บุรี กบินทร์บุรี ปราจีนบุรี 5 3 นิคมสหกรณ์วังน้ำเย็น วังน้ำเย็น สระแก้ว 2 4 นิคมสหกรณ์สระแก้ว เมือง สระแก้ว 3 5 นิคมสหกรณ์ทองผาภูมิ ทองผาภูมิ กาญจนบุรี 4 6 นิคมสหกรณ์ห้วยขมิ้น ด่านช้าง สุพรรณบุรี 9 7 นิคมสหกรณ์บางสะพาน บางสะพาน ประจวบคีรีขันธ์ 2 8 นิคมสหกรณ์ท่ายาง ท่ายาง เพชรบุรี 3 9 นิคมสหกรณ์ชะอำ ชะอำ เพชรบุรี 5 10 นิคมสหกรณ์บ้านไร่ เมือง สมุทรสาคร 2 11 นิคมสหกรณ์โคกขาม เมือง สมุทรสาคร 2 12 นิคมสหกรณ์ทับเสลา ลานสัก อุทัยธานี 2 13 นิคมสหกรณ์ท่าแซะ ท่าแซะ ชุมพร 5 14 นิคมสหกรณ์ประทิว ปะทิว ชุมพร 2 15 นิคมสหกรณ์หลังสวน หลังสวน ชุมพร 2 16 นิคมสหกรณ์พนม พนม สุราษฎร์ธานี 2 17 นิคมสหกรณ์ท่าฉาง วิภาวดี สุราษฎร์ธานี 250 18 นิคมสหกรณ์กาญจนดิษฐ์ กาญจนดิษฐ์ สุราษฎร์ธานี 14 19 นิคมสหกรณ์ทุ่งสง ทุ่งสง นครศรีธรรมราช 2 20 นิคมสหกรณ์ปากพญา เมือง นครศรีธรรมราช 2 21 นิคมสหกรณ์คลองท่อม คลองท่อม กระบี่ 5 22 นิคมสหกรณ์อ่าวลึก อ่าวลึก กระบี่ 5 23 นิคมสหกรณ์บาเจาะ บาเจาะ นราธิวาส 80 24 นิคมสหกรณ์ปิเหล็ง เจาะไอร้อง นราธิวาส 5 25 นิคมสหกรณ์โป่งน้ำร้อน สอยดาว จันทบุรี 2


~ 6 ~ ที่ พื้นที่ อำเภอ จังหวัด พื้นที่แปลงสาธิต (ไร่) 26 นิคมสหกรณ์ชะแวะ ชะแวะ ระยอง 10 27 นิคมสหกรณ์ดงมูล กระนวน ขอนแก่น 2 28 นิคมสหกรณ์ดงเย็น ดงเย็น มุกดาหาร 4 29 นิคมสหกรณ์ดอนตาล ดอนตาล มุกดาหาร 5 30 นิคมสหกรณ์พนา พนา อำนาจเจริญ 5 31 นิคมสหกรณ์ขามทะเลสอ ขามทะเลสอ นครราชสีมา 6 32 นิคมสหกรณ์สตึก แคนดง บุรีรัมย์ 2 33 นิคมสหกรณ์พร้าว พร้าว เชียงใหม่ 3 34 นิคมสหกรณ์แม่แตง แม่แตง เชียงใหม่ 10 35 นิคมสหกรณ์แม่แจ่ม ฮอด เชียงใหม่ 8 36 นิคมสหกรณ์ห้างฉัตร ห้างฉัตร ลำปาง 5 37 นิคมสหกรณ์เชียงคำ เชียงคำ พะเยา 2 38 นิคมสหกรณ์แม่สอด แม่สอด ตาก 3 39 นิคมสหกรณ์คลองสวนหมาก เมือง กำแพงเพชร 3 40 นิคมสหกรณ์นครชุม นครชุม กำแพงเพชร 2 41 นิคมสหกรณ์วังทอง เนินมะปราง พิษณุโลก 12 42 นิคมสหกรณ์ฟากท่า ฟากท่า อุตรดิตถ์ 17 43 นิคมสหกรณ์พิชัย พิชัย อุตรดิตถ์ 3 44 นิคมสหกรณ์หนองบัว ศรีนคร สุโขทัย 4 45 นิคมสหกรณ์ศรีสำโรง ศรีสำโรง สุโขทัย 6 46 นิคมสหกรณ์สวรรคโลก สวรรคโลก สุโขทัย 6 47 นิคมสหกรณ์พระร่วง สวรรคโลก สุโขทัย 14 48 นิคมสหกรณ์คีรีมาศ คีรีมาศ สุโขทัย 2 49 นิคมสหกรณ์นครเดิฐ ศรีนคร สุโขทัย 3 50 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดร้อยเอ็ด สุวรรณภูมิ ร้อยเอ็ด 3 51 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดนครสวรรค์ ตากฟ้า นครสวรรค์ 0 52 โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดไผ่ดำ อินทร์บุรี สิงห์บุรี 8 53 ศูนย์สาธิตสหกรณ์โครงการหุบกะพง ชะอำ เพชรบุรี 5 รวมพื้นที่ดำเนินงานแปลงสาธิต 571 ไร่


~ 7 ~ กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้ร่วมดำเนินการใน 3 กรอบ 4 กิจกรรม คือ 1. กรอบการเรียนรู้ทรัพยากร ได้แก่ กิจกรรมสำรวจเก็บทรัพยากรและกิจกรรมปลูกรักษาทรัพยากร 2. กรอบการใช้ประโยชน์ได้แก่ กิจกรรมศูนย์ข้อมูลทรัพยากร 3. กรอบการสร้างจิตสำนึก ได้แก่ กิจกรรมพิเศษสนับสนุนการอนุรักษ์ทรัพยากร อพ.สธ. 1. กรอบการเรียนรู้ทรัพยากร กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมปกปักทรัพยากร กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมส ารวจเก็บทรัพยากร กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมปลูกรักษาทรัพยากร 2. กรอบการใช้ประโยชน์ กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมอนุรักษ์ และการใช้ประโยชน์ ทรัพยากร กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมศูนย์ข้อมูลทรัพยากร กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมวางแผนพัฒนา ทรัพยากร 3. กรอบการสร้างจิตส านึก กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมสร้างจิตส านึก ในการอนุรักษ์ทรัพยากร กิจกรรมที่ 8 กิจกรรมพิเศษสนับสนุนการ อนุรักษ์ทรัพยากร เป้าหมาย - พัฒนาบุคคลากร - อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรพันธุกรรมพืช วัตถุประสงค์ - ให้เข้าใจและเห็นความส าคัญ - ให้ร่วมคิด รวมปฏิบัติ จนเกิดประโยชน์ - ให้มีระบบข้อมูลพันธุกรรมพืช กรอบการดำเนินงานและกิจกรรมของ อพ.สธ.


~ 8 ~ ขั้นตอนการดำเนินงาน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ส่วนภูมิภาคจัดทำแผนปฏิบัติงาน และออกคำสั่งมอบหมายเจ้าหน้าที่ในนิคมสหกรณ์อย่างน้อย 1 คน เป็นผู้รับผิดชอบแปลงสาธิตพันธุกรรมพืชในพื้นที่นิคมสหกรณ์ ประสาน และสำรวจพันธุกรรมพืชร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) โรงเรียนสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนในพื้นที่นิคมสหกรณ์เพื่อสำรวจและจดบันทึกลักษณะตามพันธุกรรมของพืชท้องถิ่น ในบริเวณโดยรอบนิคมสหกรณ์ ตามรูปแบบของโครงการฯ จัดทำข้อฐานข้อมูลแปลงสาธิตให้เป็นปัจจุบัน เช่น ขนาดแปลงสาธิต ชื่อและจำนวนพันธุ์พืช จำนวนต้นไม้ แนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์นิคมเข้าร่วมดำเนินกิจกรรมอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี โดยดำเนินกิจกรรมให้สอดคล้องกับแนวทาง โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ จัดทำ/พัฒนาแปลงสาธิตพันธุกรรมพืชในพื้นที่นิคมสหกรณ์ ให้พร้อมเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านพันธุกรรมพืช ของชุมชน/สมาชิกสหกรณ์ อยู่เสมอ พร้อมจัดทำแผนผังเส้นทางเดินสำหรับศึกษาเรียนรู้ธรรมชาติ สำรวจจำนวนป้ายชื่อพันธุ์พืชและประมาณการข้อมูลจำนวนป้ายที่ต้องใช้ หน่วยงานส่วนภูมิภาครายงานผลการดำเนินงาน จำนวนผู้ใช้ประโยชน์/ ผู้เข้ามาศึกษาแปลงสาธิตพันธุกรรมพืช ในพื้นที่ ให้กองประสานงานโครงการพระราชดำริ


~ 9 ~ กิจกรรม โครงการ การดำเนินงาน ตามแผนแม่บท งบประมาณ ผลการดำเนินงาน 1 สำรวจเก็บ รวบรวม ทรัพยากร (F1A2) สำรวจเก็บรวบรวม ทรัพยากรในเขตพื้นที่จัด นิคมสหกรณ์ ดำเนินการ ร่วมกับ อบต. และ สถานศึกษาที่ร่วมสนอง พระราชดำริ อพ.สธ. ✓ 100,700 1. พื้นที่เป้าหมาย 53 แห่ง คือ - นิคมสหกรณ์ 49 แห่ง - ศูนย์สาธิตฯหุบกะพง เพชรบุรี - จ.นครสวรรค์, จ.สิงห์บุรี,จ. ร้อยเอ็ด 2. พื้นที่แปลงสาธิต 571 ไร่ 3. สำรวจเก็บรวบรวมทรัพยากรใน เขตพื้นที่จัดนิคมสหกรณ์ ศูนย์สาธิต สหกรณ์ฯ และจังหวัดที่ร่วม ดำเนินการ โดยมีการสำรวจ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มีพันธุ์พืชที่ได้รับการสำรวจ 1,591 ชนิด จำนวน 10,271 ต้น 2 ปลูกรักษา ทรัพยากรใน พื้นที่นิคม สหกรณ์ (F1A3) ปลูกรักษาทรัพยากร ในพื้นที่นิคมสหกรณ์ ✓ 228,800 1. ปลูกในแปลงสาธิต 571 ไร่ 2. พื้นที่ดำเนินการ 52 แห่ง คือ - นิคมสหกรณ์ 49 แห่ง - ศูนย์สาธิตฯหุบกะพง เพชรบุรี - จ.สิงห์บุรีและ จ.ร้อยเอ็ด 3. ปลูกต้นไม้บริเวณแปลงสาธิต ภายในนิคมสหกรณ์ 4. ดูแล สำรวจพืชที่เสียหาย เพื่อทดแทนโดยการปลูกใหม่ พันธุ์พืชในแปลงสาธิต จำนวน 1,149 ชนิด จำนวน 8,853 ต้น 5. ผู้เข้าชมแปลงสาธิตฯ ทั้งสิ้น 3,645 ราย เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ร้อยละ 1.42 (ปี 2564 มีจำนวน 3,594 ราย) ผลการดำเนินงานตามกรอบการดำเนินงาน อพ.สธ.


~ 10 ~ กิจกรรม โครงการ การดำเนินงาน ตามแผนแม่บท งบประมาณ ผลการดำเนินงาน 3 ศูนย์ข้อมูล ทรัพยากร (F2A5) รวบรวมจัดเก็บข้อมูลด้าน พรรณไม้ ✓ - รวบรวมข้อมูลพันธุ์ไม้บริเวณโดยรอบ เข้าเป็นฐานข้อมูล โดยปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มีพันธุ์พืชที่ได้รับการ สำรวจ 1,591 ชนิด จำนวน 10,271 ต้น และพันธุ์พืชในแปลง สาธิต จำนวน 1,149 ชนิด จำนวน 8,853 ต้น 4 สนับสนุน อนุรักษ์ ทรัพยากร (F3A8) -การจัดทำ/ดูแลเว็บไซต์ อพ.สธ.-กสส. ✓ - กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้จัดทำเว็บไซต์ และพัฒนาระบบเว็บไซต์ เพื่อ ประชาสัมพันธ์การดำเนินการของ อพ.สธ.-กสส. และเพื่อให้สามารถ นำเข้าข้อมูลพันธุ์พืชและเรียกดู รายงานได้ ที่เว็บไซต์ https://office.cpd.go.th/rspg/ รวมงบประมาณทั้งสิ้น 329,500 คำอธิบายสัญลักษณ์ F: Frame (กรอบการด าเนินงาน) A: Activity (กจิกรรม) สญัลกัษณ์ F1 กรอบการเรยีนรทู้รพัยากร A1 กจิกรรมปกปักทรพัยากร F1A1 A2 กจิกรรมสา รวจเกบ็รวบรวมทรพัยากร F1A2 A3 กจิกรรมปลกูรกัษาทรพัยากร F1A3 F2 กรอบการใช้ประโยชน์ A4 กจิกรรมอนุรกัษ์และใช้ประโยชน์ทรพัยากร F2A4 A5 กจิกรรมศูนย์ข้อมูลทรพัยากร F2A5 A6 กจิกรรมวางแผนพัฒนาทรพัยากร F2A6 F3 กรอบการสรา้งจิตสา นึก A7 กจิกรรมสรา้งจิตสา นึกในการอนุรกัษ์ทรพัยากร F3A7 A8 กจิกรรมพิเศษสนับสนุนการอนุรกัษ์ทรพัยากร F3A8


~ 11 ~ กรมส ่งเสริมสหกรณ์ได้เข้าร ่วมจัดนิทรรศการ ภายในงานการประชุมวิชาการและนิทรรศการ ทรัพยากรไทย : ๓๐ ปี อพ.สธ. ประโยชน์แท้แก่มหาชน ครั้งที่ ๑/๒๕๖๕ ณ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช ระหว่างวันที่ 19 – 24 ตุลาคม 2565 โดยจัดบูธขนาด 5 x 6 เมตร ภายในบูธนำเสนอ ประวัติการเข้าร่วมโครงการ อพ.สธ. ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ผลการดำเนินงานร่วมสนองพระราชดำริของ โครงการ อพ.สธ. - กสส. และการสาธิตการใช้ประโยชน์จากป ่านศรนารายณ์ โดยการทำพวงกุญแจ ปลาตะเพียนจากป ่านศรนารายณ์ รวมทั้งแสดงผลิตภัณฑ์จากป ่านศรนารายณ์ เช ่น หมวก กระเป๋าสะพาย กระเป๋าใส่ธนบัตร ฯลฯ โดยใช้งบประมาณในการจัดกิจกรรมทั้งสิ้น 116,900 บาท ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กรมส ่งเสริมสหกรณ์ใช้งบประมาณในการดำเนินงานทั้งสิ้น 446,400 บาท


~ 12 ~ พันธุ์พืชที่ส ำรวจและปลูกในแปลงสำธิตฯ 1 กระบี่ 1 นิคมสหกรณ์คลองท่อม เหรียง, จ ำปำ, เทียม, ชด, กระถินเทพำ, ทุ้งฟ้ำ, สน, มะเฟือง, เงำะ, ชมพู่แก้ว, สักทอง, กระท้อน, หมำก, รำชพฤกษ์, มะม่วงหิมพำนต์, มะพร้ำว, เนียง, หูกวำง, ยอ, กระถินณรงค์, ทุ่งฟ้ำ, มะค่ำ, มะกอกป่ำ, ตะเคียนทอง, สะเดำ, ลำงสำด, ชมพู่ม่ำเหมี่ยว, มังคุด, ทุเรียนพื้นเมือง, ตีนเป็ด, เตำร้ำง, ไฝ่, ปอ, ขี้เหล็ก, มะเฟือง, ขนุน, ตะแบก, มะขำม, มะม่วง, มะหำด, เคียนทอง, แก้ว, ต้นไทร, พยุง, สะตอ, ทุ้งฟ้ำ, อินทนินท, ์แซะ, อ๊อคคำนี, พะยอม, สำเหล้ำ, เม้ำ, สำละ, สุเหรียน, โกว่ำว, หลุมพอ, ศรีตรัง, รำชพฤกษ์ 2 นิคมสหกรณ์อ่ำวลึก ตะเคียนทอง, หลุมพอ, ยำงนำ, กระดังงำ, ก ำจัด, หูกระจง, จ ำปำทอง, ชะมวง,จิก, เทียม , ตะขบ, ประดู่, ไผ่หวำน, พะยูง, พะยอม, พิกุล, มะกอก, หมำก, มะขำมป้อม, มะนำว, มะเฟือง, มะม่วงหิมพำนต์, มะสัง, ละมุด, ล ำดวน, จันผำ, มะพร้ำว 2 กำญจนบุรี 3 นิคมสหกรณ์ทองผำภูมิขี้เหล็กใหญ, ่สะเลียม, ก ำทวด, เซป่ำยี้, ต้นไม้ยำงนำ, ต้นไม้แดง, ต้นไม้สัก, ต้นไม้พยุง, ต้นไม้ประด, ู่ต้นไม้มะฮอกกำน, ีต้นไม้กฤษณำ, ต้นไม้ตะเคียนทอง, ต้นไม้ก้ำมปู 3 ก ำแพงเพชร 4 นิคมสหกรณ์นครชุม พะยูง, มะขำมป้อม, แคนำ, ตะลิงปลิง, มะตูม, จิก, กันเกรำ, ล ำดวน, ตะแบก, อินทนิล, สมอพิเภก, สมอไทย, มะค่ำ, ยำงนำ, ประดู่แดง, ไข่เน่ำ, ไม้แดง, ตะเคียน, รำชพฤกษ์, กล้วยไข่, เสลำ, แคทรำย, ไข่เน่ำ, ไม้แดง, กระท้อน, กันเกรำ, ควำย, ชงโค, ต้นกลุ่มน้ ำ, ต้นพิกุล, ต้นมะแขว่น, ต้นสำระ, ตะแบก, ต้นสีส ำโรง, ต้นหว้ำ, ตะขบ, ตะลิงปลิง, ประดู่, ปีบ, พยุง, มะม่วงหำวมะนำวโห่, มะเฟือง, มะไฟ, มะขวิด, มะขำมป้อม, มะค่ำ, มะยม, ยำงนำ, สะเดำด ำ, สัก, สำเก, สีเสียด 5 นิคมสหกรณ์คลองสวนหมำก พะยูง, แคนำ, ประดู่กิ่งอ่อน, ประดู่ป่ำ, สำรภี, ไม้สักทอง, สีเสียดแก่น, นนทร, ีเสลำ, หมำก, ตะแบก, ต้นปู่, ค ำแสด, มะพลับ, มะฮอกกำนี, ชิงชัน, ตะเคียน, มะขำมป้อม, กันเกรำ, มะขวิด, สีเสียด, ตะแบก, เสลำ, แคทรำย, ไม้แดง, ปีบ, ต้นสีส ำโรง, มะขำมป้อม, ต้นหว้ำ, สะเดำด ำ, ไข่เน่ำ, มะยม, สำเก, กระท้อน, มะไฟ, ต้นพิกุล, ต้นมะแขว่น, ต้นชงโค, กลุ่มน้ ำ, มะเฟือง, ตะลิงปิง, สัก, ควำย, มะม่วง หำวมะนำวโห่, มะค่ำ หนว่ยงำน พันธุ์พืชที่ส ำรวจและปลูกในแปลงสำธิตพันธุกรรมพืช


~ 13 ~ หนว่ยงำน พันธุ์พืชที่ส ำรวจและปลูกในแปลงสำธิตฯ 4 ขอนแก่น 6 นิคมสหกรณ์ดงมูล แดง, พยุง, เต็ง, รัง, พวง, ยำงนำ, ชิงชัน, สักทอง, หว้ำ, ประดู่, จำมจุร, ี มะขำมเปรี้ยว, ขนุน, มะค่ำแต, ้มะขำมป้อม, มะค่ำโมง, พิกุล, ส ำโรง, คูณ, ไผ่รวก, มะม่วงหิมพำนต์, จันทน์ผำ, แคป่ำ, ตะค้อ, มะเกลือ, ฝำดแดง, แพกำ, มะลุม, ฟ้ำทะลำยโจร, ช้ำงน้ำว, กระดังงำ, หนำดหลวง, กฤษณำ, รวงผึ้ง, รำชพฤกษ์, มะม่วง, ขี้เหล็ก, หว้ำ, ชิงชัน 5 จันทบุรี 7 นิคมสหกรณ์โป่งน้ ำร้อน ดีปล, ีพริกไทย, ไพล, ว่ำนหำงจระเข, ้อัคดีทวำร, ตะขำบบิน, พญำยอ, ทองพันชั่ง, คนทีสอ, ดำวเรือง, ตะไคร้, ผักกำดขำว, มะนำว, แมงลัก, โหระพำ, พญำยอ, เสลดพังพอน, พลูคำว, ผักกำดน้ ำ, ก ำลังเจ็ดช้ำงสำร, ต้นจัน, มะเกลือ, มะค ำดีควำย, ชุมเห็ดเทศ, ดีปล, ีชะมำง, ธรณีสำร, ทองพันชั่ง, พิมเสนต้น, กระดังงำ ไทย, เจตมูลเพลิงขำว, เจตมูลเพลิงแดง, มะดูก, กฤษณำ, มะตูมนิ่ม, กระบือ 7 ตัว, ข่ำ, ตะไคร้, มะกรูด, มะเขือพวง, ย่ำนำง, มะม่วง, มะขำม, ลีลำวดี, ล ำไย, สัก 6 ชุมพร 8 นิคมสหกรณ์ท่ำแซะ ย่ำนำง, จักรนำรำยณ์, มะเฟือง, ตะลิงปลิง , ฟ้ำทะลำยโจร, มะกรูด, เสลดพังพอน, มะเดื่อ, กระทุ้งฟ้ำไห้, ปลำไหลเผือก, เสำวรส, ยอ, หว้ำ, ชุมเห็ด, มะขำมป้อม, สักดิ์สยำมมินทร, ์มเหสักด, ิ์มะตูม, มะนำว, รำงจืด, กระเจี๊ยบแดง , มะแว้ง, ว่ำนหำงจระเข, ้หญ้ำหนวดแมว, หญ้ำปักกิ่ง, หญ้ำรีแพร์, พริกไทย, ดีปล, ีส้มหลอด, พะยอม, แก่นตะวัน, ขิง, มะยม, ดีปล, ีสมอไทย, ส้มซ่ำ, ส้มจี๊ด, ส้มแป้น, ยำงนำ, มะม่วงหิมพำนต์, มะพร้ำว, มะขำมป้อม, ปลำไหลเผือก, ทุ่งฟ้ำ, กระท่อม, อะโวคำโด้, เสลดพังพอนตัวผู้, หำงนกยูง, สัก, รำชพฤกษ์, มะฮอกกำนี, พะยูง, ตะเคียน, กระถิน, ขนุน, เงำะ 9 นิคมสหกรณ์ปะทิว ลองกอง, ชมพู่, ละมุด, เงำะ, ไทร, หมำกเขียว, ตะลิงปลิง, มะพลับ, มะกรูด, จันเทศ, อบเชย, ต้นสัก, พะยูง, ตะเคียน, มะฮอกกำนี, ยำงนำ, เคี่ยม, กระถินเทพำ, มะม่วงหิมพำนต์, มะขำมป้อม 10 นิคมสหกรณ์หลังสวน ตะเคียนทอง, มะขำมป้อม, หลุมพอ, มันป, ูไผ่ตง, ขี้เหล็ก, พยุง, จ ำปำทอง, พญำเสือโคร่ง, มะขำมเปรี้ยวยักษ, ์ ประดู่แดง, กรันเกรำ, ยำงนำ, ลูกเนียง, สักทอง, พญำไม้, เหลียงป่ำ, เคี่ยม, ทัง, ธัมมัง, สะตอ, มะฮอกกำนี, ตะแบก, อินทนิล, กระถินเทพำ, หมำกเม่ำ, เหลืองปรีดำธร, สะเดำเทียม, สักมเหสักข, ์ สักสยำมมินทร์


~ 14 ~ หนว่ยงำน พันธุ์พืชที่ส ำรวจและปลูกในแปลงสำธิตฯ 7 เชียงใหม่ 11 นิคมสหกรณ์พร้ำว เสลดพังพอน, ว่ำนชักมดลูก, ต้นยำงนำ, ว่ำนเพชรน้อย, พญำลิ้นง, ูม้ำแดง, เพชรใหญ่, รำงจืดหัว, รำงจืดเถำ, เพชรกลับ, พะตะบะ, ห้ำร้อยนำง จ ำปี ไพลปลุกเสก, หอมแดง, ขมิ้นทอง, ไพลด ำ, ขมิ้นเหลือง, ว่ำนเอ็นเหลือง, ขมิ้นชัน, กระชำยด ำ, ขมิ้นด ำ, ว่ำนมหำลำภ, ต้นกำแฟอำร์บิกำ, เพชรสังฆำต, ว่ำนจูง นำง, ไม้ตะคร้อ, ขมิ้นอ้อย, ต้นก่อ, เต็ง, ว่ำนนำงค ำ, กระบี่ทอง, หญ้ำเอ็นยืด, มะเขือพวง, อินทผำลัม ดีปลำกั้ง, ชะพลู, ปลำไหลเผือก, สบู่เลือด, หญ้ำหนวดแมว, ฟ้ำทะลำยโจน, พญำไร้ใบ, มะม่วง, มะยงชิด, ล ำไย, ต้นสัก, ไม้พยุง, มะไฟ, มะตูม, หว้ำ, ดอกรัก, ทองพันชั่ง, ว่ำนหำงจระเข้บอระเพ็ด 12 นิคมสหกรณ์แม่แตง มะไฟ, หูปลำช่อน, ลูกหว้ำ, กระบก, สักสยำมมินทร, ์ผักดำวตอง, ธรณีสำร, ไพล, จันทน์ผำ, น้อยโหน่ง, หว่ำนชักมดลูก, พริกไทย, โด่ไม่รู้ล้ม, พญำไร้ใบ, ผักเชียงดำ, หญ้ำพญำงูเขียว, เพชรสังฆำต, ใบย่ำนำง, ไผ่ซำงนวล, กำแฟ, แคนำ, ทองอุไร, หญ้ำแฝก, ตะไคร้หอม, ส้มป่อย, จันผำ, ทุเรียนเทศ, หม่อน(ผล), นำงพญำเสือโคร่ง, พะยูง, ประดู่ป่ำ, ขี้เหล็กบ้ำน, นนทร, ี กันเกรำ, มะขำมเปรี้ยวยักษ, ์จันทร์ทองเทศ, มะลิ 13 นิคมสหกรณ์แม่แจ่ม แดง, กระถินณรงค์, มะสัง, ขี้เหล็ก, ไม้รัง, มะขำม, ตะโก, ตุ้มค ำ(กระทุ่มน้ ำ), ตะแบก, สะเดำ(สะเลียม), ตะคร้อ(มะโจ๊ก), หำงนกยูง, รำชพฤกษ์(คูน), ล ำไย, ตีนนก(สมอป่ำ), เต็ง, หว้ำ, ประดู่, พะยูง, มะค่ำโมง, ข่อย, มะพร้ำว, นนทร, ี แคป่ำ, พุทรำป่ำ, ยอป่ำ, มะกอกป่ำ, ก้ำมป(ูฉ ำฉำ), ประดู่, สัก, ยอป่ำ, ขนุน, มะนำว, มะม่วง, ฝรั่ง, กระบอกเพชร, โกสน, ต้นโศก, มะกรูด, ทองกวำว, ติ้ว, สร้อยสำย เพชร, ปำล์มหำงกระรอก, ขมิ้นชัน, หลิวดอก(แปรงล้ำงขวด), กล้วย, มะเกลือ, ว่ำนหำงจระเข, ้ ฟ้ำทะลำยโจร, ต้นรวงผึ้ง, ต้นโมก, ลีลำวดี, กำแฟ, เสลดพังพอนตัวผู้(ซองระอำ), มะละกอ, ดีปลำกั้ง, ดีปล, ีว่ำนงำช้ำง, กระเจำ, มะม่วงหำวมะนำวโห่, มะขำมป้อม, ไทร, อินทนิล 8 ตำก 14 นิคมสหกรณ์แม่สอด ประดู่, สัก, ยำงนำ, มะแงว, หม่อน, มะเฟือง, ชะพลู, มะนำวโห่, เพี้ยฟำน, มะแขว่น, มะตูมแขก, อ้อยด ำ, ว่ำงหำงจระเข, ้ใบเตย, ขนุนไพศำลทักษิณ, ฝิ่นต้น, ขี้เหล็ก, มะรุม, ส้มป่อย, สมอภิเภก, ตะลิงปลิง, รำงจืด, มะเม่ำ, เต่ำรั้ง, มะขำมป้อม, อะโวคำโด้, กำแฟ, เพกำ, พุดซ้อน, ว่ำนหำงจรเข, ้ ทองพันชั่ง, ปำล์ม, อ้อยด ำ, ดีปล, ีมะตูมแขก, ส้มป่อย, ยำงนำ, นำงแลว, มะม่วงหำวมะนำวโห่, ตะลิงปลิง, มะแขว่น, ตะขำบบิน, กำแฟอำรำบิก้ำ


~ 15 ~ หนว่ยงำน พันธุ์พืชที่ส ำรวจและปลูกในแปลงสำธิตฯ 9 นครรำชสีมำ 15 นิคมสหกรณ์ขำมทะเลสอ สะเดำ, เล็บเหยี่ยว, ระเวียง, พันชำด, มะขำมป้อม, แสมสำร, ไม้แด อ้อยช้ำง, กททรก, กร้อม, ตะขบป่ำ, กอกกั๋น, ประดู่, มะค่ำแต, ้มะม่วงหัวแมงวัน, ฉนวน, โมกมัน, มะกอก, มะเกลือป่ำ, น้ ำใจใคร่, ยอป่ำ, ตะแบก, ตะคร้ ำ, ตะโก, พฤกษ์, พญำยำ, ปีบระไหว, แหน, ข้ำวตำก, ไผ่รวก, เสลำ, ไผ่โจด, เอ็นอ่อน, เปำะป่ำ, ผักหวำนป่ำ, กระทุ่ม, กระหำด, เถำย่ำนำง, แปรเลียด, มะนำวป่ำ, ต้นคูณ, ใบเสมำ, ป่ำศรนำรำย, ต้นทับแกว, ต้นน้ ำทำย, กำซะลอง, ทรำยเด่น, ลัน, กระดูก, ตีโย, เกรียบ, ไม้โจ้ด, มะขำมไทย, ก้ำงปลำ, กระโปรงทอง, ว่ำนตูบหม, ูก้ำนตรง, กระถินไทย, ตับเต่ำต้น, กำแย, ก่อยคอม, จ้อยนำง, แจง, มะค่ำโมง, ปีบ, ขี้เหล็ก, แคนำ, จำน, หว้ำ, สัก, สำธร, กระทินณรงค์, ผักหวำนป่ำ, แคนำ, สะเดำ, แคบ้ำน, ฟ้ำทะลำยโจร, น้อยหน่ำ, ชะอม, กล้วย, ตะไคร้, ข่ำ, กระชำย, อ้อยคั้นน้ ำ, แค, มะขำมเทศ 10 นครศรีธรรมรำช 16 นิคมสหกรณ์ทุ่งสง จ ำปูลิ่ง(ก ำไร), กอ, ยำงพลวง, กฤษณำ, แชะ, แดง, ไหลเผือก, พญำสัตบรรณ, ทัง, พะยอม, ขนุนป่ำ, แดง, วำสนำ, ไม้ยำง, ตะเคียนทอง, เลือดนก, ต้นเนียง, ขนุนปำน, จ ำปำ, เหงือกปลำหมอ, กันเกรำ, ขมิ้นฤำษ, ีขลู่, ต้นสัก, ล ำแพน, ต้นเหรียง, ต้นแกระ, ต้นป, ูต้นพะยอม, ตะไคร้, พริก, พะยูง, มะนำว, ยำงนำ, มะฮอกกำนี, ล ำภู, ล ำภู/ล ำแพน, หลุมพอ 17 นิคมสหกรณ์ปำกพญำ ขลู่, เหงือกปลำหมอ 11 นรำธิวำส 18 นิคมสหกรณ์ปิเหล็ง เสม็ดขำว, ยำง, พืชสมุนไพร 19 นิคมสหกรณ์บำเจำะ กะพ้อเขียว, ปำล์มน้ ำมัน, หมำกแดง, กันเกรำ, ต ำเสำ, พะยูง, พญำสัตบรรณ, ตีนเป็ด, สำคูหมำกเขียว, กะบุย, ย่ำนลิเภำยุ่ง, ฝำดขำว, หว้ำ, เสม็ดขำว, กระจูด, แปง, ูสะเตียว, ฝำด 12 บุรีรัมย์ 20 นิคมสหกรณ์สตึก สักทอง, พยุง, ยำงนำ, ประดู่, แคนำ, ตะเคียน, มะค่ำโมง, มะม่วงอกร่อง, มะม่วงพันธุ์เขียวเสวย, มะม่วงน้ ำดอกไม้ 13 ประจวบคีรีขันธ์ 21 นิคมสหกรณ์บำงสะพำน ต้นเกด, จันทน์หอม, มะริด, มะค่ำโมง, หมำกเม่ำ, พยุง, ขี้เหล็กหวำน, ตะเคียน, ทองอุไร, มะค่ำโมง, รำชพฤกษ์, เกด, จันทร์หอม, มะริด, ตะเคียนทอง, สักทอง, มะฮอกกำนี, มะเม่ำ, พยุง, ขี้เหล็ก, ปีบ, ยำงนำ


~ 16 ~ หนว่ยงำน พันธุ์พืชที่ส ำรวจและปลูกในแปลงสำธิตฯ 14 ปรำจีนบุรี 22 นิคมสหกรณ์กบินทร์บุรีเสลดพังพอนตัวผู้, กำรบูร, ทองพันชั่ง, พิมเสน, ฟ้ำทะลำยโจร, ลิ้นกระบือ, ตรีชวำ, หนุมำนประสำนกำย, เหงือกปลำหมอ, ดีปลำกั่ง, ว่ำนกำบหอยแครง, ส ำมะเงำ, ก ำลังวังเถลิง, คนทีสอ, จันทนำ, จ ำปูน, พิลังกำสำ, เถำสะค้ำน, ประค ำไก่, ว่ำนสำวหลง, เสลดพังพอนตัวเมีย, คนทีเขมำ, อบเชยญวน, ทุเรียนพันธุ์หมอนทอง, ทุเรียนพันธุ์ก้ำนยำว, แป๊ะต ำปึง, รำงจืด, ล ำไย, เพชรสังฆำต, ว่ำนไพร, โปร่งฟ้ำ, หนุมำนประสำนกำย, ทองอุไร, สะเดำ, ฟ้ำทะลำยโจร, เตยหอม, เหงือกปลำหมอ, มะขำมป้อม, ปลำไหลเผือก, อินจัน, สมอไทย, ยำงนำ 15 พะเยำ 23 นิคมสหกรณ์เชียงค ำ ฝำง, มะตูม, สมอพิเภก, เสี้ยวดอกขำว, พริกไทย, มะเฟือง, บัวสวรรค์, ส้มโอ, ตะเคียนทอง, มะค่ำโมง, มันป, ูพยุง, มะขำมป้อม, ยำงนำ, หมำกสูง, มะกอก, ปรง, บุนนำค, งวิ้, อินทผำลัม, รำงจืด, ประดู่, สัก, ใบแมงดำ/ต้นท ำมัง, ดีปล, ีชะเอม เทศ, เนียมอ้น, พิมเสน, หงส์เหิน, วอเตอร์เครส, พลับพลึงด ำ, จิงจูฉ่ำย, สะค้ำน, เนระพูสีไทย/ว่ำนค้ำงคำวด ำ, เจียวกู่หลำน, รำงจืด, เก๊กฮวย,หญ้ำนำง, เปรำะหอม, เงือกปลำหมอ, เสลดพังพอนตัวเมีย, ตะไคร้หอม, ต้นยอ, ทองพันชั่ง, หญ้ำหวำน, ต้นมันป, ูเดื่อหว้ำ, เพชรสังฆำต, สันพร้ำหอม, ฟ้ำทะลำยโจร, กระเจียว, ผักปู่ย่ำ, มะแว้งขี้นก, บพลู, หนุมำนนั่งแท่น, หญ้ำหนวดแมว, ผักไชยำ, พริกไทย, ส้มโอมือ, บัวสวรรค์, โกฐจุฬำลัมพำ, คนทีสอด ำ, ไผ่จืด, ฮ่อสะพำยควำย, อังกำบหนู, ชะพลู, ผักเชียงดำ, เสน่ห์สำวหลง, ตะขำบบิน, หูเสือ, พลูคำว, ผักคำวตอง, กำรบูร, มะขำมป้อม, ต้นเล็บครุฑ, ขมิ้นขำว, ขมิ้นชัน, ข่ำ, ขิง, มะกรูด


~ 17 ~ หนว่ยงำน พันธุ์พืชที่ส ำรวจและปลูกในแปลงสำธิตฯ 16 พิษณุโลก 24 นิคมสหกรณ์วังทอง มหำกำฬ, มะม่วงหำวมะนำวโห่, มะตูม, หนุมำน, เพชรสังฆำต, มะดัน, ดีปล, ี ขมิ้นชัน, ฟ้ำทะลำยโจร, โด่ไม่รู้ล้ม, ว่ำงหำงจระเข, ้ไข่เน่ำ, ชำใบขล, ู่พริกไทย, ผักหวำนป่ำ, หมำมุ่ยอินเดีย, ว่ำงรำงจืด, ใบย่ำงนำง, ทองพันช่ำง, ดีปลำช่อน, เหลือก ปำกหมอ, แก่นฝำง, หอมแดง, แคนำ, ต้นสัก, ต้นประด, ู่ต้นหว้ำ, ขนุน, พะยอม, ต้นกำสะลอง, อินทนิล, จันทร์โอ, ตะเคียน, มะพลับ, บุนนำค, มะเกลือ, มะเม่ำ, มะสัง, สมอไทย, มะยม, ตะลิงปลิง, หนอนตำยยำก, ไหลแดง, หนำนเฉำเหว่ย, ว่ำนหอมแดง, พริกไทย, สัก, ประดู่, หว้ำ, กำสะลอง, พะยอม, อินทนิล, สน, รำชพฤกษ์/คูณ, จำมจุร, ีไทร, ตะแบก, กระถินณรงค์, ลีลำวดี, จันผำ, หูกวำง, กระท้อน, ขี้เหล็ก, พะยูง, ยำงนำ, พิกุล, ดอกแก้ว, มะหำด,มะพร้ำว, มะขำม, มะม่วง, มะกรูด, มะนำวแป้นพิจิตร, มะเฟือง, ส้มโอ, ตะขบหนำม, มะขวิด, กล้วยน้ ำว้ำมะลิอ่อง, ไผ่เหลือง/ไผ่เลี้ยง, สะเดำ, เหลืองปรีดียำทร, โมกเครือ, แคฝรั่ง, กัลปพฤกษ์, ตะเคียน, มะเกลือ, มะสัง, สมอไทย, มะยม, ขนุน, โกโก้, ตะไคร้หอม, มะขำมป้อม, กระเช้ำสีดำ 17 เพชรบุรี 25 นิคมสหกรณ์ท่ำยำง มะม่วงหำวมะนำวโห่, ทุเรียนน้ ำ, ชำยำ(คะน้ำเม็กซิโก), ผักหวำน, มะรุม, ชะอม,ทับทิม, มะขำมเทศ, เสลดพังพอน, เล็บครุฑ, ดีปล, ีแสยก, ฟ้ำทะลำยโจร, หนำนเฉำเหว่ย(ป่ำช้ำเหงำ), หมำกเม่ำ, กระชำยขำว, เสลดพังพอน, ไผ่กิมซุง, ไผ่ตง, กระชำยขำว, กล้วยนำก, คะน้ำเม็กซิโก, ต้นแสยก, ต้นก้ำมป, ู ต้นขี้เหล็ก, ต้นชะพล, ูต้นตะแบก, ต้นตะลิงปลิง, ต้นมะฮอกกำนี, ต้นยอ, ทับทิม, ต้นรำชพฤกษ, ต้นสะเดำ, ต้นสัก, ต้นหูกวำง, ทัมทิม, ทุเรียนน้ ำ, ผักหวำน, ฟ้ำทะลำยโจร, มะกรูด, มะขวิด, มะขำมเทศ, มะขำมป้อม, มะม่วงหำวมะนำวโห่, มัมเบอร์รี่, ว่ำนงำนช้ำง, ว่ำนรำงจืด, หญ้ำหนวดแมว, หนำนเฉำ เหว่ย, ต้นกัญชำ, ต้นดอกเข็ม, ต้นดำวเรือง, ต้นพริก, ต้นมะเขือ 26 นิคมสหกรณ์ชะอ ำ สะเดำ, สักทอง, เหลืองปรีดียำธร, ตะคร้อ, รวงผึ้ง, โพธิ์, ลิ้นฟ้ำ, ชมพูพันธ์ทิพย์, อินจัน, มะขำม, มะยม, แก้วมังกร, มะม่วงแก้ว, พะยูง, หว้ำ, สำละ, มะค่ำลิง, ฝรั่งขี้นก, ชวนชม, ตะแบก, รำงจืด, กระชำย, ตะไคร้บ้ำน, ตะไครหอม, ไพล, ข่ำ, เสลดพังพอนตัวผู้, ขมิ้น, ทองพันชั่ง, ขิง, กระทือ, เตยหอม, ว่ำนกำบหอย, มะรุม, ย่ำนำง, มะขำมป้อม, บอระเพ็ด, ว่ำนหำงจระเข, ้ ฟ้ำทะลำยโจร, พริกไทย, ว่ำนมหำกำฬ, หญ้ำหนวดแมว, ดีปล, ีเหงือกปลำหมอ, กระชำยด ำ, ว่ำนชักมดลุก, เสลดพังพอนตัวเมีย, กำนพลู, หญ้ำหวำน, ขลู่, กระเพรำ, พริก, โหระพำ, สำระแหน่, มะกรูด, กระชำยขำว, คะน้ำแม็กซิกัน


~ 18 ~ หนว่ยงำน พันธุ์พืชที่ส ำรวจและปลูกในแปลงสำธิตฯ 27 กวักจักรพรรดิ, กวักมรกต, กะเพรำ, ขนุน,กะเม็ง, กันเกรำ, กำแฟ, กำรเวก, ก ำลังช้ำงสำร, ก ำลังวัวเถลิง, กุยช่ำย, กุหลำบมอญ, เกำลัดน่ำน, แก่นตะวัน, แก้วขี้ไก, ่แก้วมังกร, แก้วมังกรเนื้อแดง, โกศจุฬำ, โกสน, ไก่ฟ้ำพญำลอ, ข่ำ, ขมิ้นขำว, ขมิ้นชัน, ขมิ้นด ำ, ขมิ้นอ้อย, ขลู่, ข่อย, ขัดมอน, ข่ำแดง, ขิงแกลง, ขิงแดง, ขี้เหล็ก, เข็มขำว, เขยตำย, เข้ำพรรษำ, ขี้เห็น, ครอบสีฟัน, คอแลน, คุณนำยตื่นสำย, แค, แคเก็ตถวำ, แคขำว, ว่ำนงำช้ำงเดียว, จักรนำรำยณ์, จันทน์กะพ้อ, ก้ำมกรำม, จ ำปำ, จ ำปี, จ ำปูน, เฉำก๊วย, ชงโค, ชบำ, ชมพู่, ชมพู่ทับทิมจันทร์, ชมพู่เพชรสำยรุ้ง, ช้องแมว, ชมพู่ม่ำเหมี่ยว, ชะพลู, ชะมัดต้น, ชะมวง , ชะอม, ชะเอมเถำ, ชะเอมเทศ, ชะเอมไทย, ชัยพฤกษ์, ช ำมะเลียง, ชุมเห็ดเทศ, เชอรี่, ดอกรัก, ดำวกระจำย, ดำวเรือง, ดีปล, ีถั่วครก, ตะแบก, ตดหมูตดหมำ, ต้อยติ่ง, ครบฝรั่ง, ตะป่ำ, ตะไคร้, ตะไคร้หอม, ตะลิงปลิง, ตำลโตนด, ต ำแยตัวผ, ู้ต ำลึง, ผักหวำนป่ำ, เฉำก๊วย, ทุเรียน, รำกสำมสิบ, หมำมุ่ยอินเดีย, ต้นเบญจรงค, ์ต้นเพกำ, ต้นเพชรสังฆำต, ต้นเล็บเหยี่ยว, ต้นแมงลักคำ, ต้นโมก, ต้นไข่เต่ำ, ต้นกระสัง, ต้นกะเม็ง, ต้นข่อย, ต้นขัดมอญ, ต้นขี้เหล็ก, ต้นตะแบก, ต้นตะขบป่ำ, ต้นนนทร, ีต้นน้ ำนมรำชสีห์, ต้นปีบ, ต้นผักกำดนกเขำ, ต้นพริกพำน, ต้นพิกุล, ต้นฟักข้ำว, ต้นมะเกลือ, ต้นมะแพร้ว, ต้นมะค่ำโมง, ต้นมะม่วงหัวแมงวัน, ต้นมะม่วงหิมพำนต์, ต้นมะยมแดง, ต้นมะฮอกกำนี, ต้นม้ำลำย, ต้นยอป่ำ, ต้นยอป่ำ, ต้นย่ำนำง, ต้นลูกใต้ใบ, ต้นสบู่แดง, ต้นสบู่ด ำ, ต้นส้มซ่ำ, ต้นสำบแร้งสำบกำ, ต้นสะเดำ, ต้นสำปเสือ, ต้นหญ้ำพันงูเขียว, ต้นหำงไหล, ต้นอบเชยเถำ, ต้นอบเชยเทศ, ต้นอ้อยช้ำง 18 มุกดำหำร 28 นิคมสหกรณ์ดงเย็น ต้นประดู่ต้นแดง ต้นพะยุง ต้นสัก ต้นยำงนำ ต้นโพธิ์ต้นจิก ต้นชำด ต้นกุง ต้นรัง ต้นเต็ง ต้นอะรำง ต้นคูณ ต้นกระบก ต้นมะค่ำ ต้นหำงนกยุง ต้นพอก ต้นกระถินณรงค์ต้นกระถินเทพำ ต้นจำมจุรีต้นเป้ำ ต้นมะม่วงไข่ ต้นมะม่วงอกร่อง ต้นมะม่วงแก้ว ต้นมะขำม ต้นหวด ต้นตะคร้อ ต้นกระท้อน ต้นมะม่วงหิมพำนต์ต้นหำด ต้นเปลือย ต้นหว้ำ ต้นชงโค ต้นติ้ว ต้นตำล หญ้ำนำง ส้มลม ตดหมูตดหมำ ไผ่ลวก ไผ่ตง ไผ่เปรำะ ไผ่บ้ำน ไผ่ไร่ต้นพยอม ต้น มะเดื่อ ต้นยูคำ ต้นพิกุลทอง ต้นทองกวำว ต้นพุทธำ ต้นส้มผ่อ ต้นมะดัน ต้นมะขำมป้อม ต้นหม่อน ข่ำ หว้ำนไพร ตะไคร้หอม ตะไคร้บ้ำน ต้นมะรุมป่ำ มะรุมบ้ำน สับประรด มะละกอ คอแลน มะนำว มะกรูด ต้นลีลำวดีต้นไส้ตัน ต้นกำสะลอง ต้นพญำสัตบรรณ ต้นดอกเข็มป่ำ ต้นขี้เหล็ก ต้นสะเดำป่ำ ต้นล ำไย กล้วยน้ ำหว้ำ ต้นหวำย ต้นแต้ต้นสน ต้นขนุน ต้นกระโดน ต้นรำงจืด ต้นถั่ว ดำวอินคำ ต้นมะระขี้นก ต ำลึง บวบ ถั่วพูเพี้ยพำน พริก ผักแพรว แมงลัก ลิ้นฟ้ำ มะพร้ำว ขมิ้นชัน มะยม ต้นเรียง สำบเสือ ต้นมะขำมเทศ หญ้ำนำงแดง ต้นยอ หนำนเฉำเหว่ย คูณ ต้นเมก ศูนย์สำธิตสหกรณ์ โครงกำรหุบกะพง


~ 19 ~ หนว่ยงำน พันธุ์พืชที่ส ำรวจและปลูกในแปลงสำธิตฯ 29 นิคมสหกรณ์ดอนตำล ประดู่, แดง, พยุง, สัก, ยำงนำ, โพธิ์, จิก, ชำด, กุง, รัง, เต็ง, อะรำง, กระบก, มะค่ำ, หำงนกยูง, พอก, กระถินณรงค์, กระถินเทพำ, จำมจุร, ีเป้ำ, มะม่วงไข่, มะม่วงอกร่อง, มะม่วงแก้ว, มะขำม, หวด, ตะคร้อ, กระท้อน, มะม่วงหิมพำนต์, หำด, เปลือย, หว้ำ, ชงโค, ติ้ว, ตำล, หญ้ำนำง, ส้มลม, ตดหมู, ตดหมำ, ไผ่ลวก, ไผ่ตง, ไผ่เปรำะ, ไผ่บ้ำน, ไผ่ ไร่, ข่ำ, พะยอม, มะเดื่อ, ยูคำ, พิกุลทอง, คูณ, ทองกวำว, พุทธำ, ส้มผ่อ, มะดัน, มะขำมป้อม, หม่อน, หว้ำนไพร, ตะไคร้หอม, ตะไคร้ บ้ำน, มะรุมป่ำ, มะรุมบ้ำน, สับปะรด, มะละกอ, คอแลน, มะนำว, ขนุน, มะกรูด, ลีลำวดี, ไส้ตัน, กำสะลอง, พญำสัตบรรณ, ดอกเข็มป่ำ, ขี้เหล็ก, สะเดำป่ำ, ล ำไย, กล้วยน้ ำหว้ำ, หวำย, แต, ้สน, รำงจืด, ถั่วดำวอินคำ, ต ำลึง, บวบ, มะระขี้นก, ถั่วพู, เพี้ยพำน, พริก, ผักแพรว, แมงลัก, ลิ้นฟ้ำ, มะพร้ำว, ขมิ้นชัน, มะยม, เรียง, สำบเสือ, มะขำมเทศ, หญ้ำนำงแดง, ยอ 19 ร้อยเอ็ด 30 สนง.สหกรณ์จังหวัดร้อยเอ็ด ยำงนำ, พยุง, สัก, ประดู่, จำน, ล ำดวน, บก, ทองกรำว, เหลี่ยม, ไข่เน่ำ, ก่อ, ชำด, ต้น จำน, ต้นทำง, ตำแหลว, ติ้ว, ตูมจัง, ทม, น้ ำเกลี้ยง, บก, ประดู่, ผอุง, ผีผ่วน, พะยุง, มะค่ำ, ยำงนำ, รมรั่ว, ละมัง, ล ำดวน, สะแบง, สัก, หวดข่ำ, อำรำง 20 ระยอง 31 นิคมสหกรณ์ชะแวะ ข่อย, ทุเรียน, ลองกอง, มังคุค, อินจัน, หน ำเลี๊ยบ, เสลดพังพอน, มะนำว, มะม่วงหำวมะนำวโห่, มะขำมป้อม, มะกรูด, เสม็ดแดง, แต้ว, หำงนกยูงไทย, พวงครำม, รวงผึ้ง, ข่ำ, โปร่งฟ้ำ, ตระไคร้, พริกไทย, กล้วยไม้, พยุง, มเหสักข, ์ สักสยำมมินทร, ์มะค่ำ, รำชพฤกษ์, กระถินณรงค์, มะฮอกกำนี, มะค่ำ, ประดู่, มะกอกป่ำ, พญำสัตบรรณ, ไพล, กระชำย, กำลำเวก, เครือขยัน, เงำะ, เตยหอม, เต๋ำรำง, เถำวัลย์หลง, เล็บมือนำง, เอี่ยงหมำย, แปะต ำปิง, กระชำย, กระถิน, กะเทียมเถำ, กำแฟ, ขนุน, คำวตอง, ชะพลู, ชะอม, ดีปล, ีต้นแค, ตะเคียน, ตะไคร้หอม, ตะลิงปลิง, ทุเรียนหมอนทอง, นมแมว, นมวัว, นำงกำสำ, บัวบก, ปลำไหลเผือก, ปีบทอง,พญำไร้ใบ, พญำสัตบรรณ, พยูง, พริก, มงกุฎทะเล, มะเขือเปำะ, มะเดือ, มะเดือชุมพร, มะขำมป้อม, มะตูมแขก, มังคุด, มันป, ูยอ, ยำงนำ, รวงผึ้ง, รำงจืด, ว่ำนตะขำบ, สละ,สะเดำ, สัก, ส ำรอง, หญ้ำปักกิ่ง, หวำย, หูปลำช้อน 21 ลพบุรี 32 นิคมสหกรณ์ชัยบำดำล จ ำปีสิรินธร, สมอพิเภก, สมอไทย, สะเดำ, มะนำว, สัก, กระท้อน, มะขำม, มะม่วง, กำแย, อินทนิลน้ ำ, ประดู่


~ 20 ~ หนว่ยงำน พันธุ์พืชที่ส ำรวจและปลูกในแปลงสำธิตฯ 22 ล ำปำง 33 นิคมสหกรณ์ห้ำงฉัตร โกสน, กำรเวก, ตะขบ, นนทร, ีหมำกเขียว, หมำกเหลือง, อินทนิลบก, พะยูง, มะขำมป้อม, มะม่วง, สักสยำมมินทร(์มเหสักข)์, มะกอกป่ำ, ตีนเป็ด, สะเดำ, หว้ำ, หวำย, ไผ่, ต้นประด, ู่ต้นน้อยหน่ำ, ต้นมะม่วง, ต้นล ำไย, ต้นมะค่ำ, ต้นมะฮอกกำนี , ต้นคูน 23 สมุทรสำคร 34 นิคมสหกรณ์โคกขำม มะนำว, มะยม, มะขำม, เตยหอม, พญำสักตะบัน, ยำงนำ, ทับทิม, สะเดำ, เหลืองปรีดียำกธร, มะม่วง, ส้มโอน, แค(ดอกขำว), แค(ดอกแดง), ขนุน, มะขำมเทศ, ปีบ, สำรภี, ยำงนำ 35 นิคมสหกรณ์บ้ำนไร่มะขำมพันธุ์พื้นเมือง, สะเดำมัน, ตีนเป็ดทะเล, ร ำแพน, ล ำเจียก, โกงกำง, มะขำมเทศ, จำก, ยำงนำ, สำรภี 24 สระแก้ว 36 นิคมสหกรณ์สระแก้ว ไผ่กิมซุง, กระวำนไทย, เร่วหอม, ขมิ้นชัน, หญ้ำหนวดแมว, หน่อกะลำ, หญ้ำหนวดแมว, สะเดำ, ลิ้นฟ้ำ, มะดัน, ดีปรีด, ์มะค่ำโมง, ฟ้ำทะลำยโจร, พริกไทย, นิคมวังน้ ำเย็น, ตระไคร้, ต้นฝำง, ต้นเพกำ, ชะอม, ข่ำ, ขมิ้นชัน, ขมิ้น, กระวำนไทย, ไผ่รวก, ไพล, ไผ่กิมซุง, ไผ่เลี้ยง, เร่วหอม, กระวำนไทย, เร่วหอม, ขมิ้นชัน, หญ้ำหนวดแมว 37 นิคมสหกรณ์วังน้ ำเย็น มะขำมป้อม, มะไฟ, มะตูมบ้ำน, มะเฟือง, น้อยหน่ำ, หวำย, มะรุม, มะเขือ, ตะลิงปิง, มะดัน, หน่อกะลำ, สะเดำ, ลิ้นฟ้ำ, มะดัน, มะค่ำโมง, ฟ้ำทะลำยโจร, พริกไทย, ตระไคร้, ต้นฝำง, ต้นเพกำ, ดีปรีด, ์ชะอม, ข่ำ, ขมิ้น, ไพล, ไผ่รวก, ไผ่กิมซุง, ไผ่เลี้ยง 25 สิงห์บุรี 38 วัดไผ่ด ำ ต้นโพธิ์ใหญ่, ต้นไทร, ต้นไผ, ่ต้นโพธ, ิ์สัก, ประดู่, มะค่ำโมง, ตะแบก, เสลำ, ต้นไผ่ด ำ, มะเขือ, มะละกอ, พริก, ผักชี, โหระพำ, สะระแหน่, มะม่วง, กล้วย, มะเขือ, กระเพรำ, ฟ้ำทะลำยโจร, ตะไคร้ 26 สุโขทัย 39 นิคมสหกรณ์คีรีมำศ ตะลิงปิง, มะพลับ, สมอไทย, มะเม่ำ, ขนุนทวำยปีเดียว, เงำะโรงเรียน, พยูง, สำละ, มะม่วงแดงจักพรรดิ์, มะดัน, ไข่เน่ำ, มะขำมเปี้ยวยักษ, ์ฝรั่งไส้แดง, มะขำมป้อม, ยำงนำ, สักทอง, รำชพฤกษ์, จันผำ, มะหว้ำ, ขี้เหล็ก, มะค่ำ, ไม้แดง, ประดู่, แคฝอย, ลัน, ตะเคียน, ฝักดำบ, เซป่ำ, หำงนกยูงไทย 40 นิคมสหกรณ์นครเดิฐ หมอกค ำหลวง, เหงือกปลำหมอ, เสลดพังพอน, พญำวำนร, แคทรำย, จัน, ล ำดวน, จ ำปี ,ตะเคียน, ปีบ, ว่ำนธรณีสำร, ไพล, โกรยชะม้ำ, ตะลูบ, ว่ำนชัดมดลูก, ขี้คำก, ขมิ้น, ก๊อง, จะเงำะ, แก้มอ้น, ขั่นข้อ, มะฮอกกำนีใบใหญ่


~ 21 ~ หนว่ยงำน พันธุ์พืชที่ส ำรวจและปลูกในแปลงสำธิตฯ 41 นิคมสหกรณ์หนองบัว รวงผึ้ง, มะข้ำมป้อม, มำแน่, มะตำด, พยุง, มะปืน, ปำค้อนก้อม, มะม่วงหิมพำนต์, มะม่วงหำวมะนำวโห่, ยำงนำ, มะเกว๋นควำย, ผีเผำ, มะปริง, เชอร์รี่, อินทผลัม, กะมวง, หว้ำ, เฟือง, บุนนำค, ไม้แดง, มะไฟบ้ำน, แคฝอย, ทรพี, ลัน, รำชพฤกษ์, ฝักดำบ, มะลิดไม้, ประดู่, มะรุม, ต้นมะเกลือ, ชะมวง, หว้ำ, สำรภี, ศรีตรัง, มะค่ำโมง, สมอไทย, มะตูม, ตะขบควำย, บุนนำค, สมอพิเภก, เพกำ, จันทน์, มะคึก, มะยมหิน, มะดัน, สะเดำ, ส้มซ่ำ, ตะค้อ, ต้นยอ, ต้นตะเคียน 42 นิคมสหกรณ์ศรีส ำโรง ส ำโรง, ลำน, สัก, มะเกลือ, มะขำมป้อม, กฤษณำ, ประดู่ดอกแดง, มะแขว่น, โปร่งฟ้ำ, มะเฟือง, มะขำม, ล ำดวน, ยำงนำ, อินทนิล, ปีบ, กันเกรำ, มะดัน, มะม่วง อกร่อง, ตะเคียนทอง, จัน, มะปรำง, ตะลิงปิง, อะโวคำโด, เชอรี่, มะกอก, ตะขบ, ฝรั่ง, มะกอกป่ำ, หูกวำง, มะพร้ำว, สมอเทศ, สมอไทย, หว้ำ, มะขำมเทศ, โมกมัน, ไม้แดง, สำระ, กระทุ่ม, ไผ่กิมซุง, มะตูมมำเล, มะม่วงหิมพำนต์, มะกรูด, มะนำวโห่, ตะแบก, ชุมเห็ดเทศ,ข่อย, แคญี่ปุ่น, นมแมว, เหลียง, ทุเรียนเทศ, ยอ, ประดู่, ไทร, พิกุล, นนทรี, หวำย, จำมจุร, ีจิก, ลีลำวดี, ฝักขี้กำ, พยุง, ล ำไย, มะขวิด, มะค่ำ, สมอพิเภก, ชิงชัน, ส ำโรง, หูกวำง, มะพร้ำว, สมอเทศ, สมอไทย, หว้ำ, มะขำม เทศ, โมกมัน, ไม้แดง, สำระ, กระทุ่ม, 26 สุโขทัย 43 นิคมสหกรณ์พระร่วง เสลดพังพอนตัวผู้, เสลดพังพอนตัวเมีย, หนุมำนประสำนกำย, ลูกใต้ใบ, ดีปล, ีพะยูง, สัก , ยำงนำ, มะค่ำโมง, ตะแบก, ขี้เหล็ก, อินทนิล, มะฮอกกำนี, แคนำ, ตะเคียนทอง, ประดู่, มะนำว, ขมิ้นอ้อย, เสลดพังพอนตัวเมีย, เสลดพังพอนตัวผู้, ตะไคร้ , ตะไคร้หอม, ไพร, กะทือ, ขมิ้นขำว, ใบเตย, ว่ำนหำงจระเข, ้บอระเพ็ด, กระวำน, ใบ ชะพลู, ลูกใต้ใบ, พริกไทย, หนุมำนประสำนกำย, ฟ้ำทะลำยโจร, หญ้ำปักกิ่ง, จิงจูฉ่ำย, พะยูง, นนทร, ีกันเกรำ, มะค่ำโมง, มะฮอกกำนี, สมอ, ยำงนำ, ตะแบก, ประดู่, อินทนิล, รำชพฤกษ์, ตะเคียนทอง, พระเจ้ำห้ำพระองค์ 44 นิคมสหกรณ์สวรรคโลก มะกอก, มะขำมป้อม, พิกุล, ตะเคียน, อบเชย, สัก, บัวเผื่อน, ผักชีน้ ำ, ขมิ้นชัน, มันบก, มะตูมมะปิน, มะดัน, ปริง, ชะมวง, สลอด, มะรุมกำเน้งเดิง, ผักอีฮุม, มะขำมป้อม, กำนพลู, ไข่เน่ำ, กำรบูร, จันอิน, มะหำด, ตะขบ, สมอนั่ง, สะเดำ, หว้ำ, มะเม่ำ, มะขวิด, พะยูง, ประดู่, ปีฮือ, มะพลับ, มะตูม, จันทน์ 27 สุพรรณบุรี 45 นิคมสหกรณ์ห้วยขมิ้น ไพล, โกรยชะม้ำ, ตะลูบ, ว่ำนชัดมดลูก, ขี้คำก, ขมิ้นขึ้น, ขมิ้น, ก๊อง, จะเงำะ, แก้มอ้น, ขั่นข้อ, มะฮอกกำนีใบใหญ่, มะม่วง, สะเดำ, คูณ, มะพร้ำว, มอกคำนี, มะคึก, มะค่ำโมง, ไม้แดง, ชงโค, มะขำมเทศ, หำงนกยูง, มะขำม, จำมจุร, ี ตะโก, สักทอง, หว้ำ, มะกอกป่ำ, มะขำมป้อม, ตีนเป็ด, ปีบ, ข่อย, พิกุล, ลั่นทม 28 สุรำษฎร์ธำนี 46 นิคมสหกรณ์กำญจนดิษฐ์มะพร้ำวน้ ำหอม, โกงกำง, แสม, ล ำพู, กล้วยน้ ำหว้ำ, มะขำม, ไม้เคี่ยม, ยำงนำ, มะค่ำ, สักทอง, ข้ำวไร, ่ข้ำวหอมไชยำ, มะฮอกกำนี, ประดู่, กล้วยไม้, ดำหลำ, ขิง, ข่ำ, ขมิ้นชัน, มะม่วง, ตะแบก, ตะเคียน


~ 22 ~ หนว่ยงำน พันธุ์พืชที่ส ำรวจและปลูกในแปลงสำธิตฯ 47 นิคมสหกรณ์พนม ขิง, รำงจืด, ดีปล, ีเพชรสังฆำต, บอระเพ็ด, อัญชัน, อ้อยแดง, เหงือกปำกหมอ, ชุมเห็ด, ดอกแค, มะรุม, ลังกำสำ, อบเชย, ทองพันชั่ง, หนวดแมว, ขมิ้นอ้อย, ฟ้ำทะลำยโจร, กระชำยขำว, ว่ำนชักมดลูก, ตะไคร้, เปรำะหอม, ขมิ้นขำว, ส้มป่อย, ขี้เหล็ก, ว่ำนมหำกำฬขำว, มะแว้งขม, น้ ำเต้ำต้น, ต้นหมุย, พญำไร้ใบ, เสลดพังพอน, ค้ำงคำวด ำ, พญำว่ำน, ข่ำใหญ่, กระชำย, ว่ำนงำช้ำง, ขมิ้นชัน, มะขำมป้อม, หนุมำนนั่ง แท่น, ว่ำนหำงจระเข, ้กระชำยด ำ, มะพร้ำวนกคุ่ม, กระทือ, มะกรูด, ชะมวง, สบู่ด ำ, นมควำย, ข่อย, จิกนำ, เตยหอม, พลูป่ำ, หวำยก ำพวน, ชุมเห็ดหอม, ทุเรียนน้ ำ, หวำยขี้ไก่ 48 นิคมสหกรณ์ท่ำฉำง ครุฑเท้ำเต่ำ, ขี้เหล็ก, พอทู, กรีกระสม, ตะลุมนก, กระดังงำ, กระชำยด ำ, เครือเขำขำว, มะตำเสือ, มันแกว, มะแว้งต้น, ผักอีฮื่ม, มะระขี้นก, เตยหอม, ตะไคร้, ชุมเห็ด, แคบ้ำน, กระทือป่ำ, หูกวำง, ว่ำนอำทิตย์, กระเจี้ยวเปี้ยว, ขมิ้นชัน, ขิงแกลง, ข่ำตำแดง, ดำหลำ, ดีปล, ีบัวบก, ตะลิงปลิง, โด่ไม่รู้ล้ม, ส้มแป้นขี้ม้ำพันธุ์พื้นบ้ำน, มะเขือพวง, ชะแอมเทศ, พญำเสือโคร่ง, หญ้ำใต้ใบ, ข่ำเหลือง, กล้วยมุดสัง, สำบเสือ, ตะไคร้หอม, แห้วหมู, เปรำะป่ำ, ต้นยอ, ลูกฉิ่ง, จิกโดน, ขี้เหล็กพื้นบ้ำน, ต้นแคพื้นเมือง, ขมิ้นช้ำง 29 อ ำนำจเจริญ 49 นิคมสหกรณ์พนำ คูณ, เพกำ, มะขำมป้อม, มะเฟือง, มะม่วง, มะขำม, ดอกอันชัน, ว่ำนหำงจระเข, ้สัก, ดำวอินคำ, รำงจืด, ฟ้ำทะลำยโจร, เหงือกปลำหมอ, ดีปลำกั้ง, ข้ำวตอง, โปร่งฟ้ำ, แคนำ, ตะไคร้หอม, ไม้พยุง, ยำงนำ, ล ำดวน, ทองกวำว, ขี้เหล็ก, สะเดำ, รำชพฤกษ์ 30 อุตรดิตถ์ 50 นิคมสหกรณ์พิชัย ต้นสัก, ต้นประด, ู่ต้นสะเดำ, ต้นยำงนำ, ต้นขี้เหล็ก, ต้นหว้ำ, ต้นมะขำมป้อม, ต้นฝรั่งกิมจู, ต้นกระท้อน, ต้นพญำเสือโคร่ง, ต้นน้อยหน่ำ, ต้นล ำไยอีดอ, ต้นมะม่วงแก้วขมิ้น, ต้นมะพร้ำว, ต้นชมพ, ู่ต้นตลิงปิง, ต้นขนุนทวำย 51 นิคมสหกรณ์ฟำกท่ำ เสี้ยว, สักทอง, ดำวประดับ, พยุง, ขี้เหล็ก, หำงนกยูง, ปำล์ม, รำชพฤกษ์, ทองกวำว, กฤษณำ, มเหสักข์ 31 อุทัยธำนี 52 นิคมสหกรณ์ทับเสลำ ต้นมะเกลือ,ต้นสะเดำปัก,ต้นมะขวิด,ต้นไข่เน่ำ,ต้นแคทรำย, ต้นแคนำ,ต้นบรเพ็ด,ต้น มะหำด,ต้นมะพลับ,ต้นมะหมก กะบก, ต้นมะตูม,ต้นตะคล้อ,ต้นมะค่ำ แต,้ ต้นกันเกรำ,ต้นตะโก,ต้นสมอไทย,ต้นตะเคียนทอง,ต้นไม้แดง,ต้นกะบำด, ต้นมะสัง,ต้นพะยอม,ต้นมะหวด,ต้นมะพอก,ต้นแหว,้ต้นโมกมัน,ต้นสังโค,ต้นเสลำ ตีนนก ,ต้นพรวง,ต้นเสี้ยว,ต้นตะขบป่ำ,ต้นจันทน,์ต้นมะกอกป่ำ,ต้นมะยมหิน,ต้นพระเจ้ำห้ำ พระองค์พระยำเสือโคร่ง,ต้นข่อย,ต้นฝำง,ต้นนุ่น,ต้นฉนวน,ต้นเนียม, ไม้รกฟ้ำ,ไม้กำนเหลือง,ต้นทองหลำง,ต้นสมอเทศ,ต้นตะค่ ำ,ต้นมะม่วงป่ำ, ต้นปีบ กำสลอง,เครืออีนูน,ต้นชิงชัน,ต้นหว้ำ,ต้นผักหวำนป่ำ,ต้นสีเสียด, ต้นตะแบก,ไม้เต็ง


ภาคผนวก


การสำรวจพันธุ์พืชร่วมกับองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น / โรงเรียนในท้องถิ่น / หน่วยงานอื่นๆ ประมวลภาพการดำเนินงาน


การดูแล ปลูก รักษา แปลงสาธิตพันธุกรรมพืช


แปลงสาธิตพันธุกรรมพืช


การเข้าศึกษา เรียนรู้ แปลงสาธิตพันธุกรรมพืช


การประชาสัมพันธ์โครงการ ข่าวประชาสัมพันธ์ออนไลน์ วีดีทัศน์ออนไลน์


ประชาสัมพันธ์การดำเนินการของ อพ.สธ. - กสส. และฐานข้อมูลพันธุ์พืช เว็บไซต์ https://office.cpd.go.th/rspg


นิทรรศการทรัพยากรไทย : 30 ปี อพ.สธ. ประโยชน์แท้แก่มหาชน โดยกรมส่งเสริมสหกรณ์


สรุปผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สนองพระราชดำริโดย กรมส่งเสริมสหกรณ์ ตารางสรุปผลการดำเนินงาน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ส สนองพระราชดำริโดย กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสำรวจเก็บรวบรวมทรัพยากร ลำดับ หน่วยงาน ชื่อโครงการ การดำเนินงาน ตามแผนแม่บท งบประมาณ (บาท) แหล งบป มี ไม่มี เสนอขอ ใช้จริง 1 กรมส่งเสริม สหกรณ์ สำรวจเก็บรวบรวม ทรัพยากร ✓ 100,700 100,700 งบ ขอ รวม 1 โครงการ 100,700 100,700


หน้า 1 นปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) ย กรมส่งเสริมสหกรณ์ ล่งที่มาของ ประมาณ* เป้าหมายตามแผน แม่บท/วัตถุประสงค์ ผลการดำเนินงาน บุคคล/หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ หมายเหตุ บประมาณ องหน่วยงาน 1. เพื่อสนองพระราชดำริ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรม พืชอันเนื่องมาจาก พระราชดำริฯ (อพ.สธ.) 2. เพื่อสำรวจและเก็บ รวบรวมทรัพยากรในพื้นที่ใน รัศมีโดยรอบของหน่วยงานที่ ร่วมสนองพระราชดำริ 3.เพื่อเก็บรวบรวมพันธุ์พืช ท้องถิ่น และพันธุ์พืชหายาก เพื่อใช้ในการปลูกรักษา และ รวบรวมพันธุ์ไม้ต่อไป สำรวจเก็บรวบรวมทรัพยากรใน เขตพื้นที่จัดนิคมสหกรณ์ ศูนย์ สาธิตสหกรณ์ฯ และจังหวัดที่ร่วม ดำเนินการ โดยมีการสำรวจ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มีพันธุ์พืชที่ได้รับการสำรวจ 1,591 ชนิด จำนวน 10,271 ต้น นิคมสหกรณ์ 49 แห่ง ศูนย์สาธิตสหกรณ์ โครงการหุบกะพง (จ.เพชรบุรี) จ.สิงห์บุรี, จ.ร้อยเอ็ด รวม 52 แห่ง


สรุปผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สนองพระราชดำริโดย กรมส่งเสริมสหกรณ์ กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมปลูกรักษาทรัพยากร ลำดับ หน่วยงาน ชื่อโครงการ การดำเนินงาน ตามแผนแม่บท งบประมาณ (บาท) แหล งบป มี ไม่มี เสนอขอ ใช้จริง 1 กรมส่งเสริม สหกรณ์ ปลูกรักษาทรัพยากร ในพื้นที่นิคมสหกรณ์ ศูนย์สาธิตฯ และจังหวัดที่ร่วมโครงการ ✓ 228,800 228,800 งบ ขอ รวม 1 โครงการ 228,800 228,800


หน้า 2 ล่งที่มาของ ประมาณ* เป้าหมายตามแผน แม่บท/วัตถุประสงค์ ผลการดำเนินงาน บุคคล/หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ หมายเหตุ บประมาณ องหน่วยงาน 1. เพื่อสนองพระราชดำริ โครงการอนุรักษ์ พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจาก พระราชดำริฯ (อพ.สธ.) 2. เพื่อนำพันธุ์พืชใน ท้องถิ่น และพันธุ์พืช หายากมาขยายพันธุ์เพิ่ม ในแปลงสาธิตฯ 3. เพื่อดูแล รักษา พัฒนา แปลงสาธิตให้สามารถเป็น แหล่งเรียนรู้ของสมาชิก นิคมสหกรณ์ นักเรียน ประชาชนและผู้ที่สนใจ มีการบำรุงรักษาพันธุ์ไม้ในแปลง สาธิตฯ ปลูกทดแทนต้นที่ได้รับ ความเสียหายจากการขาดน้ำ ปรับปรุงดิน ปรับปรุงทางเดินให้ พร้อมใช้งาน และซ่อมแซมป้าย แสดงพันธุ์พืชที่ชำรุดเพื่อพัฒนาให้ แปลงสาธิตฯเป็นศูนย์การเรียนรู้ ของชุมชน โดยมีผู้เข้าเยี่ยมชม ทั้งสิ้น 3,645 ราย เพิ่มขึ้นจากปี ก่อนร้อยละ 1.42 (ปี 2564 มีจำนวน 3,594 ราย) นิคมสหกรณ์ 49 แห่ง ศูนย์สาธิตสหกรณ์ โครงการหุบกะพง (จ.เพชรบุรี) จ.สิงห์บุรี, จ.ร้อยเอ็ด รวม 52 แห่ง


สรุปผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สนองพระราชดำริโดย กรมส่งเสริมสหกรณ์ กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมศูนย์ข้อมูลทรัพยากร ลำดับ หน่วยงาน ชื่อโครงการ การดำเนินงาน ตามแผนแม่บท งบประมาณ (บาท) แหล งบป มี ไม่มี เสนอขอ ใช้จริง 1 กรมส่งเสริม สหกรณ์ รวบรวมจัดเก็บข้อมูล ด้านพรรณไม้ ✓ - - ไม่ใช้ รวม 1 โครงการ - -


หน้า 3 ล่งที่มาของ ประมาณ* เป้าหมายตามแผน แม่บท/วัตถุประสงค์ ผลการดำเนินงาน บุคคล/หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ หมายเหตุ ช้งบประมาณ 1. เพื่อสนองพระราชดำริ โครงการอนุรักษ์ พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจาก พระราชดำริฯ (อพ.สธ.) 2. เพื่อให้เกิดฐานข้อมูล ทรัพยากร พันธุกรรมพืช ในท้องถิ่นของหน่วยงานที่ ร่วมสนองพระราชดำริ 3. สามารถเชื่อมโยง แลกเปลี่ยนพันธุกรรมพืช ข้อมูลพันธุ์พืช และวิธีการ ดูแล หน่วยงานส่วนภูมิภาคสำรวจข้อมูล พันธุ์พืชและเก็บไว้ที่สำนักงาน พร้อมส่งข้อมูลให้กองประสานงาน โครงการพระราชดำริเพื่อรวบรวม ข้อมูลในภาพรวม โดย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มีพันธุ์ พืชที่ได้รับการสำรวจ 1,591 ชนิด จำนวน 10,271 ต้น และพันธุ์พืช ในแปลงสาธิต จำนวน 1,149 ชนิด จำนวน 8,853 ต้น นิคมสหกรณ์ 49 แห่ง ศูนย์สาธิตสหกรณ์ โครงการหุบกะพง (จ.เพชรบุรี) สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดสิงห์บุรีและ จังหวัดร้อยเอ็ด รวม 52 แห่ง


สรุปผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สนองพระราชดำริโดย กรมส่งเสริมสหกรณ์ กิจกรรมที่8 กิจกรรมพิเศษการสนับสนุนการอนุรักษ์ทรัพยากร ลำดับ หน่วยงาน ชื่อโครงการ การดำเนินงาน ตามแผนแม่บท งบประมาณ (บาท) แหล งบป มี ไม่มี เสนอขอ ใช้จริง 1 กรมส่งเสริม สหกรณ์ กิจกรรมการจัดทำ/ดูแล เว็บไซต์อพ.สธ. - กรม ส่งเสริมสหกรณ์ ✓ - - ไม่ใช้ 2 กรมส่งเสริม สหกรณ์ การร่วมจัดนิทรรศการ ภายในงานการประชุม วิชาการและนิทรรศการ ทรัพยากรไทย : ๓๐ ปี อพ.สธ. ประโยชน์แท้แก่ มหาชน ครั้งที่ ๑/๒๕๖๕ ณ มหาวิทยาลัยวลัย ลักษณ์ อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช ✓ - 116,900 งบ ขอ รวม 2 โครงการ - 116,900


หน้า 4 ล่งที่มาของ ประมาณ* เป้าหมายตามแผน แม่บท/วัตถุประสงค์ ผลการดำเนินงาน บุคคล/หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ หมายเหตุ ช้งบประมาณ ๑. เพื่อสนองพระราชดำริ โครงการอนุรักษ์ พันธุกรรมพืชอัน เนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ.) ๒. เพื่อเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์การ ดำเนินงานโครงการ อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอัน เนื่องมาจากพระราชดำริฯ สนองพระราชดำริโดยกรม ส่งเสริมสหกรณ์ ๓. เพื่อสร้างแหล่ง เชื่อมโยงข้อมูลให้ผู้ร่วม ดำเนินงาน กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้จัดทำ เว็บไซต์และพัฒนาระบบเว็บไซต์ เพื่อประชาสัมพันธ์การดำเนินการ ของ อพ.สธ.-กสส. และเพื่อให้ สามารถนำเข้าข้อมูลพันธุ์พืชและ เรียกดูรายงานได้ โดยจำกัด ผู้สามารถเข้าดูและเพิ่มข้อมูลได้ จะต้องมีชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่าน เท่านั้น ที่เว็บไซต์ https://office.cpd.go.th/rspg/ กองประสานงาน โครงการพระราชดำริ และ ศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศและการ สื่อสาร กรมส่งเสริมสหกรณ์ บประมาณ องหน่วยงาน ๑. เพื่อสนองพระราชดำริ โครงการอนุรักษ์ พันธุกรรมพืชอัน เนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ.) ๒. เพื่อเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์การ ดำเนินงานโครงการ อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอัน เนื่องมาจากพระราชดำริฯ สนองพระราชดำริโดยกรม ส่งเสริมสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ร่วมจัด นิทรรศการภายในงานการประชุม วิชาการและนิทรรศการ ทรัพยากร ไทย : ๓๐ ปี อพ.สธ. ประโยชน์แท้ แก่มหาชน ครั้งที่ ๑/๒๕๖๕ ณ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ อ.ท่า ศาลา จ.นครศรีธรรมราช ในโซน หน่วยงานสนองพระราชดำริ กองประสานงาน โครงการพระราชดำริ และสำนักพัฒนาและ ถ่ายทอดเทคโนโลยี การสหกรณ์


Click to View FlipBook Version