The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สมุดบันทึกกิจกรรมเชื่อมโยงสหกรณ์นักเรียนสู่ชุมชน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สมุดบันทึกกิจกรรมเชื่อมโยงสหกรณ์นักเรียนสู่ชุมชน

สมุดบันทึกกิจกรรมเชื่อมโยงสหกรณ์นักเรียนสู่ชุมชน

สมดุ บันทกึ การทำ�กิจกรรม
โครงการส่งเสรมิ การเช่ือมโยงกิจกรรมสหกรณ์นักเรยี นส่ผู ้ปู กครองและชุมชน

3 สมดุ บันทึกการทำ�กจิ กรรม

โครงการสง่ เสริมการเชอื่ มโยงกจิ กรรมสหกรณน์ ักเรียนสู่ผ้ปู กครองและชุมชน

สมดุ บนั ทกึ การทำ�กจิ กรรม 4

สงิ่ ทฉี่ นั จะท�ำ กบั ผปู้ กครอง

ใหน้ กั เรียนเขียนกิจกรรมท่ีจะท�ำร่วมกันกบั ผ้ปู กครอง
เปปทลลล�ำย้ี ขกููกงอผไสงมกััตใผ้ชว้ลใเ์ชนเ่นเบชชน่้าน่ปนลเปลกูเ้ยีลชถ่นูกงั่วไกงกนลอ่ ำ้�ว้เกยลยาีย้ปลปงลา้ปลูกงลูกจคามาะนะนเลล้าไะี้ยมกปง้กอกลวบกูากดวางตงุ้
อื่นๆ เชน่ ขายของ ทำ� ขนม

โครงการส่งเสริมการเชือ่ มโยงกิจกรรมสหกรณ์นักเรยี นสูผ่ ูป้ กครองและชมุ ชน

5 สมุดบนั ทึกการท�ำ กิจกรรม

บนั ทึกการท�ำ กจิ กรรม

ใหน้ กั เรียนจดบันทกึ ข้ันตอนการท�ำกจิ กรรม ดังนี้
ข้นั ท่ี 1

ตกลงปลงใจ
เร่ืองที่พูดคุยกับผู้ปกครองว่าจะท�ำอะไร เพราะอะไรถึงท�ำ เช่น ปลูกถ่ัวงอก เล้ียงไก่
ท�ำแล้วเอาไปไหน เอาไปขายที่สหกรณ์ เอาไว้กินท่ีบ้าน แบง่ ให้เพือ่ น เปน็ ต้น

ข้นั ท่ี 2
การทำ�กิจกรรม
เตรียมการ เตรียมการทำ� กจิ กรรมอยา่ งไร เช่น ถา้ ทำ� กิจกรรมปลูกผกั จะปลกู ที่ไหน
ปลูกในกระถาง ปลกู ในแปลง ถ้าทำ� กิจกรรมเลี้ยงสัตว์ จะเลย้ี งที่ไหน
ลงมอื ทำ� ถา้ ท�ำกิจกรรมปลกู ผัก จะปลกู โดยวิธีใด เชน่ ปลูกโดยเพาะเมลด็ โดยต้นกลา้
โดยการหยอดเมล็ด ตอ้ งใช้ปยุ๋ เทา่ ไหร่ ผสมดินอยา่ งไร
การดูแล เชน่ รดน้�ำเวลาไหน กี่ครั้ง ต้องปลกู ที่มแี ดดหรืออยใู่ นร่ม การทำ� ความสะอาด
แปลง การเจริญเตบิ โตเป็นอย่างไร วิธกี ำ� จัดวัชพชื ปอ้ งกันแมลงอย่างไร เป็นต้น
การเก็บผลผลิต มีวิธีเก็บอย่างไร เก็บช่วงไหน ใช้เวลาเท่าไหร่ถึงจะเก็บไปใช้ได้ เก็บได้
เท่าไหร่ เกบ็ แลว้ นำ� ไปทำ� อะไร เช่น เก็บไว้กินเอง เก็บไปขาย แบ่งเพอ่ื นบา้ น เป็นตน้
การบันทึกบัญชีรับ-จ่าย บันทึกบัญชีทุกคร้ังเมื่อมีการรับ-จ่ายเงินที่เก่ียวข้องกับการ
ทำ� กจิ กรรม

ขั้นท่ี 3
สรุปผลการทำ�กิจกรรม
เขียนสิ่งที่ ได้จากการท�ำกิจกรรมในแต่ละขั้นตอน ประโยชน์จากการท�ำกิจกรรม
กับครอบครัว

โครงการส่งเสริมการเชอ่ื มโยงกจิ กรรมสหกรณ์นกั เรียนส่ผู ู้ปกครองและชุมชน

สมดุ บนั ทึกการท�ำ กิจกรรม 6

สงิ่ ทฉ่ี นั จะท�ำ กบั ผปู้ กครอง

กจิ กรรมทท่ี ำ� คอื

โครงการส่งเสริมการเชื่อมโยงกิจกรรมสหกรณ์นกั เรียนส่ผู ูป้ กครองและชุมชน

7 สมุดบันทึกการท�ำ กจิ กรรม

1ข้นั ที่ บนั ทกึ การท�ำ กิจกรรม

ตกลงปลงใจ

โครงการสง่ เสริมการเชื่อมโยงกจิ กรรมสหกรณ์นกั เรยี นส่ผู ูป้ กครองและชมุ ชน

สมดุ บันทึกการท�ำ กิจกรรม 8

บนั ทึกการทำ�กจิ กรรม 2ข้นั ท่ี

เตรยี มการ

โครงการส่งเสรมิ การเชื่อมโยงกจิ กรรมสหกรณน์ ักเรยี นสผู่ ้ปู กครองและชมุ ชน

9 สมดุ บันทึกการท�ำ กิจกรรม

2ขน้ั ที่ บนั ทกึ การทำ�กิจกรรม

ลงมอื ท�ำ

โครงการสง่ เสรมิ การเช่อื มโยงกจิ กรรมสหกรณน์ ักเรยี นสู่ผ้ปู กครองและชุมชน

สมดุ บันทกึ การทำ�กจิ กรรม 10

บันทกึ การทำ�กิจกรรม 2ขนั้ ที่

การดแู ล

โครงการสง่ เสรมิ การเชอื่ มโยงกจิ กรรมสหกรณ์นกั เรียนส่ผู ้ปู กครองและชุมชน

11 สมุดบนั ทึกการท�ำ กิจกรรม

2ข้นั ท่ี บันทกึ การทำ�กิจกรรม

การดูแล

โครงการส่งเสรมิ การเช่อื มโยงกจิ กรรมสหกรณ์นกั เรยี นสผู่ ปู้ กครองและชุมชน

สมดุ บันทกึ การทำ�กจิ กรรม 12

บันทึกการท�ำ กิจกรรม 2ขน้ั ท่ี

การเกบ็ ผลผลติ

โครงการสง่ เสรมิ การเชอ่ื มโยงกจิ กรรมสหกรณ์นกั เรยี นสู่ผู้ปกครองและชุมชน

13 สมุดบันทึกการท�ำ กจิ กรรม

3ขั้นท่ี บนั ทกึ การท�ำ กจิ กรรม

สรุปผล

โครงการสง่ เสรมิ การเชื่อมโยงกิจกรรมสหกรณน์ กั เรยี นสู่ผปู้ กครองและชุมชน

สมดุ บนั ทึกการท�ำ กจิ กรรม 14

วาดรูปการทำ�กิจกรรม

โครงการส่งเสริมการเช่ือมโยงกิจกรรมสหกรณน์ ักเรยี นสผู่ ปู้ กครองและชุมชน

15 สมุดบันทกึ การทำ�กิจกรรม

โครงการส่งเสริมการเชอื่ มโยงกจิ กรรมสหกรณน์ กั เรียนสู่ผู้ปกครองและชมุ ชน

สมุดบนั ทกึ การทำ�กิจกรรม 16

วาดรูปการท�ำ กิจกรรม

โครงการส่งเสริมการเชอ่ื มโยงกิจกรรมสหกรณ์นกั เรยี นสู่ผู้ปกครองและชมุ ชน

17 สมุดบันทกึ การทำ�กิจกรรม

โครงการส่งเสริมการเชอื่ มโยงกจิ กรรมสหกรณน์ กั เรียนสู่ผู้ปกครองและชมุ ชน

สมุดบนั ทกึ การทำ�กิจกรรม 18

จะออมเงนิ ไดอ้ ย่างไร?

ส่ิงส�ำคัญเริ่มแรก คือ จะต้องลงมือเก็บออมทันที ไม่ต้องรอวันหน้าและต้องวางแผน
การใช้จ่ายเงินอย่างสม่�ำเสมอ โดยการจดบันทึก หรือ ท�ำบัญชีรายรับรายจ่ายเพ่ือตรวจสอบการ
ใช้จา่ ยเงินของตนเอง

เงนิ ออม รายรบั รายจา่ ย

การจดบันทึกรายรับรายจ่าย เป็นอีกหนึ่งวิธีส�ำคัญที่ช่วยให้เราเก็บเงินได้มากขึ้น ใครอยาก
เกบ็ เงนิ ใหง้ อกเงย ต้องร้จู ักเร่ิมตน้ จดบนั ทึกรายรับรายจา่ ยทุกวนั เพราะรายรับรายจ่ายในแตล่ ะวนั
นน้ั มากมาย เราไม่มที างที่จะจ�ำได้ท้ังหมด
ประโยชน์ของการจดบันทึกรายรับรายจ่ายน้นั นอกจากจะทำ� ให้รู้พฤตกิ รรมการใชจ้ า่ ยรายเดือน
ของเราเองแล้ว ยังสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายท่ี ไม่จ�ำเป็น หรือค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยของเราได้อีกด้วย
หากเราจดบนั ทกึ รายรับ-รายจา่ ย กจ็ ะทำ� ใหเ้ รามองเหน็ คา่ ใชจ้ า่ ยตา่ งๆ เหลา่ น้ี และสามารถลดคา่ ใชจ้ า่ ย
ในสว่ นนล้ี งไดเ้ พือ่ ให้มีเงนิ เหลือเก็บมากขนึ้

โครงการส่งเสรมิ การเชอ่ื มโยงกจิ กรรมสหกรณน์ กั เรยี นส่ผู ปู้ กครองและชุมชน

19 สมดุ บันทึกการท�ำ กจิ กรรม

ตวั อย่าง

การบนั ทกึ รายรบั -รายจ่ายสำ�หรบั การทำ�กจิ กรรม

วนั ที่ รายการ รายรบั รายจ่าย คงเหลอื
(จำ�นวนเงิน) (จ�ำ นวนเงนิ ) (จ�ำ นวนเงนิ )
1 ก.ค.64 รับคา่ วัสดฝุ กึ กจิ กรรม 300 บาท
2 ก.ค.64 ซอ้ื เมล็ดผกั 40 บาท 300 40 300
ซอ้ื ตะกรา้ ปลกู ผัก 80 บาท 80 260
15 ก.ค.64 ซอ้ื ปุย๋ 50 บาท 50 50 180
30 ก.ค.64 ขายผักได้ 50 บาท 130
ซ้อื เมล็ดผกั เพ่ิม 40 บาท 40 180
140

รวมเป็นเงนิ 350 210 140

โครงการส่งเสรมิ การเชอ่ื มโยงกิจกรรมสหกรณ์นกั เรยี นสูผ่ ูป้ กครองและชุมชน

สมดุ บันทกึ การทำ�กิจกรรม 20

บนั ทึกรายรบั -รายจา่ ยส�ำ หรับการทำ�กิจกรรม

วนั ที่ รายการ

โครงการส่งเสริมการเชือ่ มโยงกิจกรรมสหกรณน์ กั เรียนสู่ผ้ปู กครองและชมุ ชน

21 สมดุ บันทกึ การท�ำ กจิ กรรม

บันทกึ รายรบั -รายจ่ายส�ำ หรับการท�ำ กจิ กรรม

รายรบั รายจา่ ย คงเหลือ
(จ�ำ นวนเงนิ ) (จำ�นวนเงนิ ) (จำ�นวนเงิน)

โครงการสง่ เสรมิ การเชอื่ มโยงกิจกรรมสหกรณ์นักเรยี นสูผ่ ้ปู กครองและชมุ ชน

สมดุ บนั ทกึ การทำ�กจิ กรรม 22

บนั ทกึ รายรบั -รายจา่ ยสำ�หรับการท�ำ กจิ กรรม

วนั ที่ รายการ

โครงการส่งเสรมิ การเชื่อมโยงกจิ กรรมสหกรณน์ กั เรียนสู่ผปู้ กครองและชุมชน

23 สมุดบันทึกการทำ�กิจกรรม

บันทกึ รายรับ-รายจา่ ยสำ�หรบั การทำ�กจิ กรรม

รายรบั รายจา่ ย คงเหลอื
(จำ�นวนเงนิ ) (จำ�นวนเงิน) (จำ�นวนเงิน)

โครงการส่งเสรมิ การเชื่อมโยงกิจกรรมสหกรณน์ กั เรียนสู่ผ้ปู กครองและชมุ ชน

สมุดบนั ทึกการทำ�กจิ กรรม 24

ตวั อยา่ งการปลูกผักสวนครวั

“ผักสวนครัว” พืชผักท่ีสามารถปลูกไว้กินเองท่ีบ้านได้ หรือขายก็ได้ ข้อดีของ
การปลูกผักสวนครัวไว้รับประทานเองก็คือ ได้รับประทานผักสวนครัวที่สะอาดไร้สารพิษ
ซึ่งไม่จ�ำเป็นจะต้องปลูกในพื้นท่ีกว้างๆ เท่านั้น ผักสวนครัวสามารถปลูกในพ้ืนที่ที่จ�ำกัดได้
ปลูกในกระถางได้ นอกจากพื้นท่ีกว้างๆ ของดินที่เราสามารถขุดดิน พรวนดิน และปลูกได้แล้ว
เรายังสามารถที่จะปลูกผักสวนครัวบนวัสดุอื่นๆ ได้เช่นเดียวกัน อย่างเช่น การปลูกต้นหอมผักชี
ในขวดพลาสติก หรือการปลูกในกระถาง หรือแม้กระทั่งยางรถยนต์ ที่ ไม่ได้ใช้แล้ว น�ำดินใส่
กส็ ามารถเปน็ วสั ดุรองปลูกผกั ไดห้ ลายชนดิ เลยทีเดียว


การเตรียมดิน ไม่ว่าจะเป็นการปลูกด้วยวิธีการใดก็แล้วแต่ ต้องเตรียมดินให้พร้อม
ส�ำหรับการปลูก ต้องเป็นดินร่วน ผสมเศษใบไม้ ปุ๋ยคอก ผสมด้วยแกลบ หรือดินด�ำ
เพ่ือให้ดินมีคุณภาพดีที่สุดควรพรวนดินท้ิงไว้แล้วตาก เพ่ือก�ำจัดวัชพืชในดินให้หมดไป
น�ำดินใส่ภาชนะที่ต้องการปลูก หลังจากน้ันก็น�ำเมล็ดพันธุ์ผักสวนครัว หรือต้นกล้าผักสวนครัว
ปลกู ลงไปในที่เตรียมเอาไว้
การปลูกผักสวนครัวหลากหลายรูปแบบ อย่าลืมว่าต้องเลือกวิธีการท่ีเหมาะสมส�ำหรับพืชผัก
ชนดิ น้นั ๆ ดว้ ย อยา่ งเช่น พชื ผกั บางชนดิ นน้ั สามารถที่จะปลูกในขวดไดข้ น้ึ อยกู่ บั จ�ำนวน และสถานท่ี
ในการปลูกด้วยว่าสามารถปลูกได้เยอะมากแค่ไหน ในปัจจุบันนี้มีผักสวนครัวหลายชนิดให้เรา
ไดเ้ ลอื กปลกู สามารถที่จะปลกู ไวร้ ับประทานไดเ้ รอ่ื ยๆ ทำ� อาหารแตล่ ะครั้ง กแ็ ทบไมต่ อ้ งเดนิ ออกไปซอ้ื
ท่ีตลาดเลย ใครท่ีชื่นชอบการกินผัก ชอบกินผักอะไรก็เลือกปลูกชนดิ นั้น มีความสุขกับการได้ดูแล
ตน้ ผกั แถมยังอิม่ ท้องแบบมปี ระโยชน์ด้วยเช่นกัน

โครงการสง่ เสริมการเชือ่ มโยงกิจกรรมสหกรณ์นกั เรียนสผู่ ปู้ กครองและชุมชน

25 สมดุ บนั ทึกการทำ�กิจกรรม

เทคนิคการปลูกผกั สวนครัว

ในท่ีน้ีจะกล่าวถึงการปลูกผักบนพื้นดินหรือแปลงปลูก ซ่ึงสามารถน�ำมาดัดแปลง
เพอื่ ปลกู ลงในภาชนะปลูกได้ในกรณีไมม่ ีพื้นที่ หรือมพี นื้ ท่ีจ�ำกัดในการเพาะปลูก
1. กลุ่มแตงและกลุ่มถวั่ บางชนิด
(บวบหอม ฟกั เขียว แตงกวา แตงรา้ น แตงไทย ฟกั ทอง นำ�้ เตา้ มะระ ตำ� ลงึ ถว่ั ฝกั ยาว ถว่ั แขก ถวั่ พ)ู

ขุดพลกิ ดินให้ลกึ 20-30 เซนติเมตร ตากแดดท้ิงไว้ 7-15 วนั ย่อยดนิ
หยอดเมลด็ จำ� นวน 5 เมล็ดในหลมุ ท่ีลึกประมาณ 2-4 เซนตเิ มตร แลว้ กลบดนิ
คลุมด้วยฟางแล้วรดน้�ำ ให้ท�ำการปักค้างทันทีเน่ืองจากการปักค้างเมื่อต้นพืชงอกแล้วอาจโดน
รากพชื ขาดเสียหายได้
ต้นกลา้ มีใบจริง 6-7 ใบ ให้ทำ� การถอนแยก เหลือเฉพาะตน้ ท่ีแขง็ แรงหลมุ ละประมาณ 3 ตน้
ดงึ ฟางออกใส่ป๋ยุ คอก ปุ๋ยหมัก แลว้ ท�ำการพรวนดินรอบๆ ตน้ ระวงั รากขาด จากน้นั คลุมฟาง
เหมอื นเดิม
ทำ� การรดนำ้� และกำ� จัดวัชพชื อย่างสม่ำ� เสมอ จนเก็บเก่ียว

ความตอ้ งการแสง : เตม็ วันหรอื ครึง่ วนั
ความตอ้ งการน้ำ� : วันละ 1 คร้งั

โครงการส่งเสรมิ การเชือ่ มโยงกจิ กรรมสหกรณ์นักเรยี นสูผ่ ้ปู กครองและชุมชน

สมดุ บนั ทกึ การท�ำ กิจกรรม 26

2. กลุม่ กะหล�ำ  และกลุ่มสลัด
(ผกั คะนา้ ผกั กาดขาวปลผี กั กวางตงุ้ ผกั กาดเขียว ผกั กาดหวั กะหลำ�่ ปลี กะหลำ่� ดอก กะหลำ่� ปม สลดั )

ขุดพลิกดินให้ลึก 20 เซนติเมตร ตากแดดท้ิงไว้ 7-15 วัน ท�ำการย่อยดิน ให้น้�ำทุกวัน
ก่อนปลกู 3 วัน
ขุดหลมุ ลกึ 0.5 เซนตเิ มตร หยอด เมลด็ ลงหลมุ ๆ ละ 5-7 เมล็ด กลบดินบางๆ
นำ� ฟางคลุมหน้าดินหนาประมาณ 1 เซนติเมตร รดน�้ำด้วยบัวตาถ่ี
เมือ่ เมลด็ ชูใบจริง 4 ใบใหถ้ อนแยกเหลือหลุมละ 4 ตน้ เมื่อมีใบจริง 5 ใบ ใหถ้ อนแยกอีกคร้ัง
เหลือ 1 ต้นต่อหลุม
ดงึ ฟางออก ใส่ปุ๋ยคอกหรือปยุ๋ หมกั แลว้ ท�ำการพรวนดิน ปดิ ฟางดงั เดมิ ให้น้ำ� อยา่ งสมำ�่ เสมอ
จนเกบ็ เกยี่ ว
ระยะปลกู และอายุเก็บเกีย่ ว

พืช ระหวา่ งหลมุ ระหวา่ งแถว จ�ำ นวนวนั

ผกั คะนา้ (ซม.) (ซม.) 45
ผกั กาดขาวปลี 20 20 75-90
ผักกวางตุ้ง 25 30
ผกั กาดเขียว 15 20 30
ผกั กาดหัว 25 30 55-69
กะหล�ำ่ ปลี 15 20
กะหล�่ำดอก 25 50 45
กะหล�ำ่ ปม 25 50 90-100
สลดั 20 20 75-90
30 30 65-75
40-60

ความตอ้ งการแสง : เต็มวนั หรือครง่ึ วนั
ความต้องการน้ำ� : วนั ละ 2 ครง้ั เช้าเยน็ (ตอ้ งการความชืน้ ต่อเนื่อง)

โครงการส่งเสริมการเช่อื มโยงกจิ กรรมสหกรณ์นกั เรียนสู่ผ้ปู กครองและชมุ ชน

27 สมดุ บนั ทกึ การท�ำ กจิ กรรม

3. กลุ่มพรกิ มะเขือ
(พริกข้ีหนู พริกช้ีฟา้ มะเขือเปราะ มะเขอื ยาว มะเขอื พวง มะเขอื เทศ)

เตรียมดินผสมใส่ กระบะเพาะเมล็ด ท�ำการโรยเมล็ดหรือหยอดเมล็ดลงหลุม กระบะเพาะ
หลมุ ละ 1 เมลด็ กลบดินบางๆ รดน�ำ้ ด้วยบวั ตาถ่ี
เมอ่ื ต้นกลา้ มีใบจริง 5-6 ใบจึงท�ำการ ย้ายปลกู ในแปลงตามระยะปลูก โดยใสป่ ุ๋ยคอกปุ๋ยหมกั
รองพน้ื ก้นหลมุ
ระยะปลูกและอายเุ กบ็ เกย่ี ว

พชื ระหว่างหลุม ระหว่างแถว จำ�นวนวนั

พริกข้หี นู (ซม.) (ซม.) 120-160
พริกช้ฟี ้า 60 100 120-160
มะเขอื เปราะ 60 100
มะเขอื ยาว 75 100 85
มะเขอื ยาว 75 100 85
มะเขือเทศ 75 100-120 120
30 75 85

มะเขือเปราะ มะเขือยาว มะเขือพวง เม่ือเก็บผลผลิตจนหมดต้นแล้ว
สามารถทำ� การ ตดั แตง่ กงิ่ พรวนดนิ ใสป่ ยุ๋ กส็ ามารถแตกกง่ิ กา้ นออกดอก
ใหผ้ ลผลติ อีกครั้งได้

ความต้องการแสง : เต็มวัน
ความต้องการน้ำ� : วันละ 2 ครั้ง เช้าเยน็

โครงการส่งเสรมิ การเชอื่ มโยงกิจกรรมสหกรณน์ ักเรยี นสู่ผปู้ กครองและชมุ ชน

สมุดบันทึกการท�ำ กิจกรรม 28

4. กลมุ่ หอมและกลมุ่ สะระแหน่
(ต้นหอมหรือหอมแบ่ง หอมแดง กุยชา่ ย กระเทียม สะระแหน่)

เตรียมดินที่ระดับความลึก 20 เซนติเมตร ตากแดดท้ิงไว้ 7-15 วัน ย่อยดินให้น�้ำทุกวัน
กอ่ นปลกู 3 วัน ใสป่ ๋ยุ คอกหรือป๋ยุ หมักคลกุ ในดิน
ตระกูลหอม ใช้หัวท่ีพักตัวมาแลว้ 4 เดือน ตดั รากแห้งออก แยกเป็น หัวเด่ียว ฝังหวั ลงในดิน
โดยปลายหวั อยเู่ สมอผิวดนิ ระยะหา่ ง 5 x 10 เซนตเิ มตร คลมุ ฟางหนาประมาณ 1 เซนตเิ มตร
แล้วให้นำ้� ตน้ หอม เกบ็ เก่ียวไดเ้ มอ่ื อายุ 45 วัน หอมแดง 60 วัน กระเทียม 90 วัน
กุย่ ชา่ ย ที่ปลกู ด้วยเมลด็ ต้องเพาะกล้าเป็นเวลา 45-60 วนั ย้ายปลูก ลงแปลงอีก 60 วัน
จงึ เกบ็ เกย่ี วได้
สะระแหน่ ใช้ยอดปักช�ำ โดยใช้มีดคมตัดยอดยาวประมาณ 3 เซนติเมตร แล้วปักช�ำ โดยใช้
ระยะหา่ ง 10x10 เซนตเิ มตร เก็บไว้ในที่รม่ 15-20 วนั จงึ นำ� ออกกลางแจ้งได้

แปลงปลูกต้นหอมหรือหอมแบ่งไม่ควรมีวัชพืช
และดนิ แปลงปลกู ตอ้ งมคี วามชุม่ ชื้นอยเู่ สมอ เพราะถา้
ดินแห้งจะท�ำให้ต้นหอมมีปลายใบเหลืองและชะงัก
การเจริญเติบโต สะระแหน่สามารถปลูกในภาชนะ
หอ้ ยแขวนเพอ่ื ใชป้ ระดับตกแตง่ ได้

ความตอ้ งการแสง : ตระกลู หอม เตม็ วัน สะระแหน่ เต็มวนั หรือครง่ึ วนั
ความต้องการน้ำ� : วันละ 2 ครั้ง เชา้ เยน็

โครงการส่งเสรมิ การเช่อื มโยงกจิ กรรมสหกรณน์ กั เรยี นสูผ่ ปู้ กครองและชมุ ชน

29 สมดุ บนั ทึกการท�ำ กจิ กรรม

5. กล่มุ ขงิ
(ขิง ขา่ กระชาย ขมนิ้ ขาว ขมิน้ ชัน)

เตรียมดินท่ีความลึก 25-30 เซนติเมตร ตากแดดท้ิงไว้ 7-15 วัน ย่อยดิน ให้น้�ำทุกวัน
กอ่ นปลูกเปน็ เวลา 3 วนั
การปลูก จะปลูกที่ความลึก 1-1.5 เซนติเมตร คลุมฟางแล้วให้น�้ำ แง่งขิงหรือขมิ้นแก่
ตดั เปน็ ทอ่ นๆ ยาวประมาณ 1 นว้ิ ใช้ปนู แดง ทารอยแผลท่ีตดั ท้ิงไว้ใหแ้ หง้
ข่า ใชส้ ่วนท่ีมสี ่วนของตน้ ที่อยู่เหนอื ดินตดิ มาด้วย
กระชาย ใหต้ ัดรากออกกอ่ นท่ีจะใชป้ ูนทารอยแผล
ระยะปลูกและอายเุ ก็บเกยี่ ว

พืช ระหว่างหลุม ระหวา่ งแถว จ�ำ นวนวัน หมายเหตุ

ขงิ (ซม.) (ซม.) 120-150 ขงิ หรอื ข่าอ่อน
ข่า 50 60 มากกว่า 240 สามารถ
ขม้ิน 50 75 มากกว่า 240
กระชาย 50 60 มากกว่า 240 เก็บเกยี่ วระยะ
50 60 30 วนั

ขิง กระชาย ขม้ินขาว ขมิ้นชัน มีระยะพักตัว
ช่วงเดือนพฤศจิกายน-เมษายน โดยทิ้งต้นเหลือ
แต่เหง้าแก่อยู่ใต้ดินเม่ือถึงเดือนพฤษภาคม
ต้นก็จะงอกข้นึ มาใหม่

ความตอ้ งการแสง : เต็มวนั หรือครงึ่ วันหรอื ก่ึงร่มกงึ่ แดด
ความตอ้ งการน้ำ� : วันละ 1 ครัง้

โครงการส่งเสริมการเช่ือมโยงกจิ กรรมสหกรณ์นกั เรียนสูผ่ ปู้ กครองและชุมชน

สมุดบนั ทกึ การทำ�กจิ กรรม 30

6. กลุ่มผกั ชแี ละกลุม่ ผกั บงุ้
(ผักชีขนึ้ ฉ่าย ผกั บุง้ จนี )

เตรียมดินท่ีความลึก 20-25 เซนติเมตร ยอ่ ยดนิ รดนำ้� ใหม้ ีความชุ่มช้ืน มากเป็นพเิ ศษ
หว่านเมล็ดผักชี หรือ ข้ึนฉ่าย หรือ ผักบุ้งจีน เป็นแถวให้ระยะห่างกัน 15-20 เซนติเมตร

กลบดนิ ทับบางๆ ยกเวน้ ข้ึนฉา่ ยไมต่ อ้ งกลบดิน
คลุมฟางหนา 1-2 เซนตเิ มตร รดน้�ำด้วยบวั ตาถ่ี
การงอก ผักบุ้งจีนภายใน 3 วัน ผักชี 4-8 วัน ขึ้นฉ่าย 4-7 วัน ให้ถอนแยกกรณีต้นข้ึน
หนาแนน่ รดนำ้� ให้สม�ำ่ เสมอ จนเก็บเกยี่ ว
อายุการเกบ็ เก่ยี ว ผกั บงุ้ จีน 22-30 วนั ผกั ชี 45-60 วนั ข้นึ ฉา่ ย 60-90 วัน

ความตอ้ งการแสง : ตระกูลผกั ชี กึ่งร่มกงึ่ แดด ตระกลู ผกั บงุ้ จีนเตม็ วัน
ความต้องการนำ้ � : วันละ 2 ครง้ั เชา้ เยน็ (ต้องการความชนื้ ต่อเนื่อง)

7. กลมุ่ แมงลักและกลมุ่ ผกั ชีฝรง่ั
(แมงลกั โหระพา กะเพรา ผักชีฝร่ัง)

เตรียมดินท่ีความลึก 20 เซนติเมตร ตากแดดทิ้งไว้ 7-15 วัน ย่อยดิน รดน้�ำก่อนปลูก
เป็นเวลา 3 วัน
ตระกลู ผกั ชีฝรั่ง ใช้วิธหี ว่านเมลด็ ลงแปลง โดยไม่ตอ้ งกลบ รดนำ้� ด้วย บวั ตาถี่อย่างสม�่ำเสมอ
เมล็ดจะงอกภายใน 7 วนั
ตระกลู แมงลกั ทำ� การเพาะกลา้ ยา้ ยตน้ กลา้ เมอื่ อายุ 1 เดอื น โดยใช้ ระยะปลกู 20 x 30 เซนตเิ มตร
อายุเก็บเกี่ยว ตระกูลแมงลัก 45 วัน ตระกูลผักชีฝรั่ง 60 วันนับจากวันที่งอก
ตระกลู แมงลกั อาจใชก้ งิ่ ปกั ชำ� ไดแ้ ละตอ้ งหม่ันเดด็ ดอกทงิ้ เพอ่ื ใหล้ ำ� ตน้ กบั ใบเจริญเตบิ โตเตม็ ท่ี
ตระกูลผักชีฝรั่ง สามารถตัดใบไปรับประทานแล้วให้โคนกับรากเจริญเติบโตต่อได้แต่ไม่ควร
ใหเ้ กิดดอก

ความตอ้ งการแสง : เต็มวนั หรือครึ่งวัน
ความตอ้ งการน้ำ� : ตระกูลแมงลัก วนั ละ 1 ครงั้ ตระกลู ผักชีฝร่งั วันละ
2 ครงั้ เชา้ เย็น (ต้องการความช้นื ตอ่ เนือ่ ง)

โครงการสง่ เสรมิ การเช่อื มโยงกิจกรรมสหกรณน์ กั เรียนสผู่ ูป้ กครองและชุมชน

31 สมดุ บันทึกการท�ำ กิจกรรม

การเพาะเห็ดฟางในตะกรา้

อุปกรณท์ ่ีตอ้ งเตรียม
1. ตะกร้าไม้ไผ่ หรือพลาสติก 4. รำ�ข้าว
ท่มี ตี าห่างกนั ประมาณ 1 น้วิ 5. ฟาง
2. ก้อนเชื้อเหด็ ฟาง 6. พลาสติกใส สำ�หรบั คลมุ
3. หยวกกล้วย หรอื ผักตบชวา สบั ละเอยี ด

ข้นั ตอนการทำ�
1. เริ่มจากแชฟ่ างในน้ำ�ทิ้งไว้ 1 คืน
2. บ้ีกอ้ นเชื้อเหด็ ฟาง แลว้ นำ� มาผสมกบั หยวกกลว้ ยสบั และรำ� ขา้ ว กะปริมาณ
ให้พอดีกัน
3. นำ� ฟางที่แช่น�้ำท้ิงไว้ 1 คืน มาใส่รองกน้ ตะกร้า เป็นช้ันที่ 1 ท่ีสำ� คัญคอื ต้อง
กดใหแ้ นน่ และเกบ็ ฟางใหเ้ รียบรอ้ ยอยา่ ใหอ้ อกมาชอ่ งตะกรา้ อาจใชก้ รรไกรชว่ ยเลม็
ออกก็ได้
4. โรยเชื้อเหด็ ฟางท่ีผสมแลว้ โดยโรยบริเวณริมขอบตะกรา้ เวน้ ตรงกลางไว้
หากใครมปี ยุ๋ คอก อาจใส่ปยุ๋ คอกลงตรงกลาง เพื่อบำ� รุงเห็ดให้เติบโตดีข้ึนก็ได้
5. นำ� ฟางมาคลมุ ปิด และทำ� สลับชัน้ กนั กบั เช้ือเหด็ ฟาง โดยใชฟ้ างทั้งหมด 4
ชั้น และเชื้อเหด็ 3 ชัน้ มเี คลด็ ลับอยู่ว่า พอถงึ เช้ือเห็ดช้นั ที่ 3 ให้โรยไปใหท้ ่ัว ไม่ตอ้ ง
เวน้ ตรงกลางไวแ้ ลว้ ใชฟ้ างคลุมปดิ เป็นช้ันสดุ ทา้ ย
6. จากนน้ั รดนำ้� ใหช้ ุม่ แลว้ ใชพ้ ลาสตกิ ใสคลมุ ทง้ิ ไว้ หากเพาะหลายตะกรา้ อาจ
ท�ำเป็นกระโจมพลาสติกคลมุ ก็ได้

โครงการสง่ เสริมการเช่อื มโยงกิจกรรมสหกรณ์นกั เรยี นสผู่ ูป้ กครองและชุมชน

สมดุ บันทกึ การท�ำ กจิ กรรม 32

วิธีการดแู ล
ตั้งไว้ในที่ร�ำไร คือได้แดดกับร่ม ประมาณ 50/50 เรียกว่าต้องไม่ร้อนและ
ไม่เย็นเกินไป จากน้ันดูแลความช้ืนให้ดี โดยสังเกตที่พลาสติกใส หากมี
ไอสีขาวๆ แสดงวา่ ความช้ืนพอดี แตถ่ ้าแหง้ ควรรดนำ้� บริเวณรอบๆ ตะกร้า
เพ่อื เพ่มิ ความชื้นใหต้ ะกร้าเพาะ โดยไมต่ ้องเปดิ พลาสตกิ ออกมารด
ข้อควรรู้อีกประการคือ หากจะวางตะกร้าบนดิน ควรหาก้อนหินหรือก้อนอิฐ
ส�ำหรับวางตะกร้า เพื่อป้องกนั แมลงอยา่ งมดหรือปลวกรบกวน
รอประมาณ 5-10 วัน เห็ดรอบแรกก็จะออกมาให้ช่ืนใจ เมื่อเก็บเห็ดแล้ว
ใหร้ ดนำ้� ใหช้ ุม่ คลมุ พลาสตกิ อกี คร้ัง อกี ประมาณ 7 วนั จะมเี หด็ ออกมาใหเ้ กบ็
อกี รอบรวมแลว้ ถา้ ดแู ลดีๆเช้ือเหด็ 1กอ้ นเพาะใหต้ ะกรา้ 1ใบนา่ จะไดเ้ หด็ ประมาณ
1 กโิ ลกรัม

โครงการส่งเสริมการเช่ือมโยงกจิ กรรมสหกรณ์นกั เรียนสู่ผปู้ กครองและชุมชน

33 สมุดบันทกึ การท�ำ กจิ กรรม

การเลี้ยงไกพ่ ืน้ เมือง

อาหารท่ีใชเ้ ล้ียงไก่พน้ื เมือง คอื ปลายข้าว ข้าวสาร ข้าวเปลอื ก และการปล่อยให้ไก่หาอาหารกนิ
เองตามธรรมชาติ
วตั ถดุ บิ อาหารที่ใชเ้ ลยี้ งและสตู รอาหารไกพ่ น้ื เมอื ง คอื ขา้ วเปลอื ก ปลายขา้ วและรำ� อาจใชข้ า้ วโพด
ใบกระถนิ บดให้ละเอยี ด กากถั่วเหลือง และปลาป่น ฯลฯ จะมีการให้อาหารเสริมบา้ ง เชน่ ปลายข้าว
หรือขา้ วเปลอื กโปรย ใหก้ นิ กอ่ นไกพ่ น้ื เมอื งเขา้ โรงเรือน ถา้ ตอ้ งการใหเ้ จริญเตบิ โตเรว็ อาจใชห้ วั อาหาร
ผสมกับปลายข้าวและรำ� ในอัตราส่วน 1 : 2 : 2 (หวั อาหาร 1 สว่ น ปลายข้าว 2 ส่วน ร�ำ 2 ส่วน)

การเลยี้ งและการดแู ลลกู ไกพ่ นื้ เมอื ง เมอ่ื ลกู ไกพ่ นื้ เมอื งออกจากไขห่ มดแลว้ ควรใหแ้ มไ่ กพ่ น้ื เมอื ง
เล้ียงลกู เอง โดยยา้ ยแม่ไก่พื้นเมอื งและ ลกู ไกพ่ ้นื เมอื งลงมาขงั ในสมุ่ หรือในกรง

ควรมีถาดอาหารส�ำหรับใส่ร�ำ ปลายข้าวหรือเศษข้าวสุก ให้ลูกไก่พ้ืนเมืองกินและมีถ้วยหรือ
อ่างน้ำ� ตน้ื ๆ ใสน่ �ำ้ สะอาดให้กนิ ตลอดเวลา
เม่ือลูกไก่พ้ืนเมืองอายุประมาณ 2 สัปดาห์ ลูกไก่พื้นเมืองแข็งแรงดีแล้ว จึงเปิดสุ่มหรือกรง
ให้ลูกไก่พื้นเมืองไปหากินกับแม่ไก่พ้ืนเมือง หลังจากนั้นให้แยกลูกไก่พื้นเมืองออกจากแม่ไก่
โดยนำ� ไปเลย้ี งในกรงหรือแยกเล้ียงตา่ งหาก
เล้ียงต่างหากในกรงเพื่อให้แข็งแรงปราดเปรียวและเม่ือมีอายุได้ 1-2 เดือน จึงปล่อยเลี้ยง
ผทู้ ี่เล้ยี งควรเอาใจใส่ดูแลอยา่ งใกลช้ ดิ ในเรื่องน้ำ� อาหาร และการปอ้ งกนั โรค

โครงการสง่ เสริมการเชอ่ื มโยงกจิ กรรมสหกรณน์ ักเรียนสผู่ ูป้ กครองและชมุ ชน

สมุดบนั ทกึ การทำ�กิจกรรม 34

การเลี้ยงไก่พื้นเมืองไว้กินไข่ ให้ผู้ท่ีเลี้ยงไก่พื้นเมืองสังเกตว่าถ้าแม่ไก่พ้ืนเมือง
ไข่ดก แม่ไก่พื้นเมืองจะชอบไข่ในตอนเช้า พอรุ่งเช้าขึ้นก็จะไข่อีก 1 ฟอง ให้ผู้ที่เล้ียงไก่
พื้นเมืองเก็บไข่ฟองเก่าออกและให้เก็บทุกๆ วัน ที่แม่ไก่พ้ืนเมืองไข่ โดยให้เหลืออยู่
ในรังเพียงฟองเดียว แม่ไก่พื้นเมืองกจ็ ะไข่ไปเรื่อยๆ
หลงั จากนนั้ หาอาหารท่ีมโี ปรตนี เชน่ รำ� ปลายขา้ ว และปลายปน่ หรอื ถา้ หาอาหาร
ไก่ไข่ให้กินได้จะดีมาก แล้วเอาไก่พื้นเมืองตัวผู้เข้าไปขังรวมไว้ ด้วยประมาณ 4-5 วัน
แมไ่ กพ่ ้ืนเมอื งจะเร่ิมให้ไข่อีก

โครงการส่งเสรมิ การเชือ่ มโยงกิจกรรมสหกรณน์ ักเรียนสู่ผู้ปกครองและชุมชน

สมุดบันทกึ การทำ�กิจกรรม
โครงการสง่ เสริมการเช่ือมโยงกจิ กรรมสหกรณน์ กั เรียนสู่ผู้ปกครองและชมุ ชน

กรมสง่ เสริมสหกรณ์

กองประสานงานโครงการพระราชด�ำ ริ

เลขท่ี 12 ถนนกรุงเกษม แขวงวัดสามพระยา
เขตพระนคร กรงุ เทพมหานคร 10200
โทรศัพท์ 0-2281-3095, 0-2281-1900

www.cpd.go.th


Click to View FlipBook Version